1 / 5

การสร้างโอกาสทางอาชีพในจังหวัดนครสวรรค์ อุทัยธานี กำแพงเพชร พิจิตร จากการจัดอาชีวศึกษา

 อุตสาหกรรมสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม  อุตสาหกรรมเกษตร  อุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม  อุตสาหกรรมโลหะ อโลหะ และผลิตภัณฑ์. อุตสาหกรรม เป้าหมาย. การสร้างโอกาสทางอาชีพในจังหวัดนครสวรรค์ อุทัยธานี กำแพงเพชร พิจิตร จากการจัดอาชีวศึกษา. สถานประกอบการ. นักเรียน นักศึกษา อาชีวะ. ผู้ใช้.

Download Presentation

การสร้างโอกาสทางอาชีพในจังหวัดนครสวรรค์ อุทัยธานี กำแพงเพชร พิจิตร จากการจัดอาชีวศึกษา

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. อุตสาหกรรมสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม  อุตสาหกรรมเกษตร  อุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม  อุตสาหกรรมโลหะ อโลหะ และผลิตภัณฑ์ อุตสาหกรรม เป้าหมาย การสร้างโอกาสทางอาชีพในจังหวัดนครสวรรค์ อุทัยธานี กำแพงเพชร พิจิตร จากการจัดอาชีวศึกษา สถานประกอบการ นักเรียน นักศึกษา อาชีวะ ผู้ใช้ เพิ่มพูน ทักษะและ คุณวุฒิ สูงขึ้น การเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน ผู้ซ่อม การแก้ไขปัญหาความยากจน พัฒนาคน สังคม และชุมชนที่มีคุณภาพ ศูนย์บ่มเพาะผู้ประกอบการ  ศูนย์วิทยุชุมชน  อาชีวะแก้ปัญหาความยากจน  ต่อยอดองค์ความรู้ และเพิ่มมูลค่าสินค้าชุมชน  สิ่งประดิษฐ์ของคนรุ่นใหม่และนวัตกรรมตามความต้องการของชุมชนและท้องถิ่น Fix It Center อาชีวะร่วมด้วยช่วยประชาชน  ถนนอาชีพ และ ๑๐๘ อาชีพ ฯลฯ ผู้สร้าง อาชีพอิสระ สนองความต้องการ ชุมชนท้องถิ่น (ช่างชุมชน) •  ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา งานหาคน คนหางาน • เรียนเป็นเรื่อง เป็นชิ้นงาน เป็นโครงการ • เทียบโอนประสบการณ์ ต่อยอดความรู้ • เรียนไปด้วย ทำงานไปด้วย มีรายได้ระหว่างเรียน • คุณวุฒิวิชาชีพให้ความสำคัญกับประสบการณ์และทักษะ  การบริหารจัดการกำลังคน •  เครือข่ายชุมชน (อบจ. อบต.) และเครือข่ายสถานประกอบการ สร้างและพัฒนา ความเป็นผู้ประกอบการ ให้ความรู้ด้านการทำธุรกิจ แก่ผู้ผลิต พัฒนาผลิตภัณฑ์ ให้มีคุณภาพได้มาตรฐาน ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด ณ วันที่ 29 มิถุนายน 2550 ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา สำนักวิจัยและพัฒนาการอาชีวศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

  2. จังหวัดนครสวรรค์ สถานศึกษา สังกัดสพฐ. 605 แห่ง (สปช. 565แห่งและสศ. 40 แห่ง) สังกัดเอกชน 104 แห่ง สังกัดกศน. 15แห่ง สังกัดอุดมศึกษา 4 แห่ง สังกัดสอศ. 6 แห่ง 1. วท.นครสวรรค์ 2. วท.แม่วงก์3. วอศ.นครสวรรค์ 4. วษท.นครสวรรค์ 5. วก.นครสวรรค์6. วก.บรรพตพิสัย • ที่ตั้งที่เป็นโอกาส • เป็นประตูสู่ภาคเหนือ • เป็นจังหวัดที่มีแม่น้ำสำคัญ ได้แก่ แม่น้ำ ปิง วัง ยม • น่าน ไหลมาบรรจบกันเป็น แม่น้ำเจ้าพระยา • สภาพเศรษฐกิจ • รายได้เฉลี่ยต่อคน 58,577 บาท ต่อปี (อันดับ 4 • ของภาค อันดับ 39 ของประเทศ) • ผลผลิตที่สร้างรายได้ตามลำดับจากภาคเกษตร • มีมูลค่าการผลิต 23.81% รองลงมา การขายส่ง • การขายปลีก 19.41% และการผลิตอุตสาหกรรม • 17.25% • สินค้าที่มีชื่อเสียงของจังหวัด • ขนมโมจิปลาน้ำจืด เนื้อหมูแปรรูป เช่น หมูแผ่น • หมูหยอง หมูทุบ • ประชากร • จำนวนประชากร 1,077,808 คน (พ.ศ.2549) • สัดส่วน ชาย : หญิง ใกล้เคียงกัน • ข้อมูลพื้นฐาน • จำนวนประชากรวัยแรงงานกลุ่มอายุ15-19 มีจำนวน73,674คนหรือ10.26% • จำนวนผู้ว่างงาน 4,819 คน เป็นชาย 3,479 คน เป็นหญิง 1,341 คน อัตราการว่างงาน 0.5 % • ประชาชนประกอบอาชีพด้านเกษตรและประมงสูงที่สุดจำนวน198,616 คนหรือ 35.69%ลำดับรองลงมาคืออาชีพขั้นพื้นฐานต่าง ๆ ในด้านการขายและการให้บริการ 90,538 คน หรือ 16.27% และพนักงานบริการและพนักงานในร้านค้าและตลาด 77,184 คน หรือ 13.87% • ข้อมูลอาชีพที่มีความสำคัญและสอดคล้องกับศักยภาพของสถานศึกษาในจังหวัด ได้แก่ • ยังไม่ได้รับข้อมูลจาก อศจ. • ประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป เป็นลูกจ้างเอกชนสูงที่สุด 166,825 คน หรือ 29.98% ลำดับรองลงมาทำงานส่วนตัว 153,377 คน หรือ 27.56% และช่วยธุรกิจครัวเรือน 150,900 คน หรือ 27.12% • แรงงานที่ไม่มีการศึกษามีถึง 28,057 คน หรือ 5.04% โดยภาพรวมต่ำกว่ามัธยมศึกษาตอนต้น-ต่ำกว่าประถมศึกษา421,126 คน หรือ 75.68% • เป็นที่น่าสังเกตว่า แรงงานอาชีวะมีเพียง 8,831 คน หรือ 1.59% สาเหตุจากศึกษาต่อสูงขึ้น • อุตสาหกรรมที่ใช้แรงงานมากที่สุดได้แก่ อุตสาหกรรมสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม มีสถานประกอบการ 12 แห่ง มีการจ้างงาน 4,866 คนลำดับรองลงมาคือ อุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม มีสถานประกอบการ 89 แห่ง มีการจ้างงาน 3,761 คน และ อุตสาหกรรมเกษตร มีสถานประกอบการ 254 แห่ง มีการจ้างงาน 2,384 คน ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด ณ วันที่ 29 มิถุนายน 2550 ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา สำนักวิจัยและพัฒนาการอาชีวศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ที่มาสำนักงานสถิติแห่งชาติ

  3. จังหวัดอุทัยธานี สถานศึกษา สังกัดสพฐ. 272 แห่ง(สปช.250แห่งและสศ. 22 แห่ง) สังกัด เอกชน 14 แห่ง สังกัดกศน. 8 แห่ง สังกัด อุดมศึกษา - แห่ง สังกัดสอศ. 3 แห่ง 1. วท.อุทัยธานี 2. วษท.อุทัยธานี 3. วช.อุทัยธานี • ที่ตั้งที่เป็นโอกาส • ทิศเหนือ และทิศตะวันออก มีเขตติดต่อกับ • จังหวัดเศรษฐกิจหลักของประเทศ คือจังหวัด • นครสวรรค์ • สภาพเศรษฐกิจ • รายได้เฉลี่ยต่อคน 47,867 บาท ต่อปี (อันดับ • 10 ของภาค อันดับ 49 ของประเทศ) • ผลผลิตที่สร้างรายได้ตามลำดับจากภาคเกษตร • มีมูลค่าการผลิต 31.82% ลำดับรองลงมาการขายส่ง • การขายปลีก 20.21% • พืชเศรษฐกิจหลักของจังหวัด • ข้าว ข้าวโพด มันสำปะหลัง สับปะรด และอ้อย • ประชากร • จำนวนประชากร 326,731 คน (พ.ศ.2549) • สัดส่วน ชาย : หญิง ใกล้เคียงกัน • ข้อมูลพื้นฐาน • จำนวนประชากรวัยแรงงานกลุ่มอายุ 15-19 มีจำนวน 20,841 คน หรือ 10.56% • จำนวนผู้ว่างงาน 806คน เป็นชาย 453 คน เป็นหญิง 353 คน อัตราการว่างงาน 0.46% • ประชาชนประกอบอาชีพด้านเกษตรและประมงสูงที่สุด จำนวน 84,135 คนหรือ 48.60% ลำดับรองลงมาคือ อาชีพขั้นพื้นฐานต่าง ๆ ด้านการขายและการให้บริการ 25,742 คน หรือ 14.87% • ข้อมูลอาชีพที่มีความสำคัญและสอดคล้องกับศักยภาพของสถานศึกษาในจังหวัด ได้แก่ • 1) การเพาะเห็ดนางรม นางฟ้า 2) หมูเส้น 3) เครื่องจักสานจากไม้ไผ่ • 4) ขนมไทย 5) แปรรูปผลิตภัณฑ์การเกษตร 6) ปลายอ • 7) ขนมอบ 8) น้ำพริก 9) ข้าวปลอดสาร 10) เครื่องหอม (ที่มา อศจ.อุทัยธานี) • ประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป ทำงานส่วนตัวสูงที่สุด 55,611 คน หรือ 32.13 % ลำดับรองลงมาช่วยธุรกิจครัวเรือน 48,290 คน 27.90% และ เป็นลูกจ้างเอกชน 45,653 คน หรือ 26.37% • แรงงานที่ไม่มีการศึกษามีถึง 7,256 คน หรือ 4.19% โดยภาพรวมต่ำกว่ามัธยมศึกษาตอนต้น-ต่ำกว่าประถมศึกษา 136,471 คน หรือ 78.84% • เป็นที่น่าสังเกตว่า แรงงานอาชีวะมีเพียง 3,262 คน หรือ 1.88% สาเหตุจากศึกษาต่อสูงขึ้น • อุตสาหกรรมที่ใช้แรงงานมากที่สุดได้แก่ อุตสาหกรรมสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม มีสถานประกอบการ 7 แห่ง มีการจ้างงาน 1,472 คน ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด ณ วันที่ 29 มิถุนายน 2550 ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา สำนักวิจัยและพัฒนาการอาชีวศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ที่มาสำนักงานสถิติแห่งชาติ

  4. จังหวัดกำแพงเพชร สถานศึกษา สังกัด สพฐ 445 แห่ง (สปช. 412 แห่ง และ สศ.33 แห่ง) สังกัด เอกชน 41 แห่ง สังกัด กศน. 11 แห่ง สังกัด สกอ. 1 แห่ง สังกัด สอศ. 4 แห่ง 1. วท.กำแพงเพชร 2. วษท. กำแพงเพชร 3. วช.กำแพงเพชร 4. วก.ขาณุวรลักษบุรี • ที่ตั้งที่เป็นโอกาส • เป็นที่ตั้งของอุทยานประวัติศาสตร์กำแพงเพชร • ขึ้นทะเบียนเป็นมรดกโลก • มีป่าไม้เป็นทรัพยากรธรรมชาติที่สำคัญของ • จังหวัด ร้อยละ 63.54 ของเนื้อที่จังหวัด • สภาพเศรษฐกิจ • รายได้เฉลี่ยต่อคน 68,804 บาท ต่อปี (อันดับ 2 • ของภาค อันดับ 29 ของประเทศ) • ผลผลิตที่สร้างรายได้ตามลำดับจาก การผลิต • อุตสาหกรรม มีมูลค่าการผลิต 34.78% รองลงมา • การทำเหมืองแร่และเหมืองหิน 18.18% • อาชีพหลักของจังหวัด • การทำนา การเพาะปลูกพืชไร่ ได้แก่ อ้อย • มันสำปะหลัง ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ถั่วเขียว • ถั่วเหลือง กล้วยไข่ และการทำเหมืองแร่ • ประชากร • จำนวนประชากร 728,265 คน (พ.ศ.2549) • สัดส่วน ชาย : หญิง ใกล้เคียงกัน • ข้อมูลพื้นฐาน • จำนวนประชากรวัยแรงงานกลุ่มอายุ 15-19 มีจำนวน 53,348 คน หรือ 10.94 % • จำนวนผู้ว่างงาน 7,512คน เป็นชาย 5,465 คน เป็นหญิง 2,047 คน อัตราการว่างงาน 0.9% • ประชาชนประกอบอาชีพด้านเกษตรและประมงสูงที่สุดจำนวน 186,882 คนหรือ 41.41%ลำดับรองลงมา คือ อาชีพขั้นพื้นฐานต่าง ๆ ในด้านการขายและการให้บริการ 95,889 คน หรือ 21.25% และพนักงานบริการ พนักงานร้านค้าและตลาด 49,213 คน หรือ 10.90 % • ข้อมูลอาชีพที่มีความสำคัญและสอดคล้องกับศักยภาพของสถานศึกษาในจังหวัด ได้แก่ • 1) การผลิตมันสำปะหลัง 2) การผลิตอ้อย 3) การผลิตกล้วยไข่ • 4) แปรรูปผลิตภัณฑ์ผ้าพื้นเมือง 5) ซ่อมเครื่องยนต์การเกษตรขนาดเล็ก • 6) การแปรรูปผลิตภัณฑ์จากกล้วยไข่ 7) การผลิตข้าว 8) การทำกระยาสารท • 9) การทำเบเกอรี่ 10) ศิลปะประดิษฐ์ (ที่มา อศจ.กำแพงเพชร) • ประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป เป็นลูกจ้างเอกชนสูงที่สุด 135,802 คน หรือ 30.09 %ลำดับรองลงมาทำงานส่วนตัว 134,606 คน หรือ 29.83% และช่วยธุรกิจครัวเรือน 118,517 คน หรือ 26.26% • แรงงานที่ไม่มีการศึกษามีถึง 22,559 คน หรือ 5.0% โดยภาพรวมมัธยมศึกษาตอนต้น- • ต่ำกว่าประถมศึกษา 358,632 คน หรือ 79.47 % • เป็นที่น่าสังเกตว่า แรงงานอาชีวะมีเพียง 6,656 คน หรือ 1.47% สาเหตุจากศึกษาต่อสูงขึ้น • อุตสาหกรรมที่ใช้แรงงานมากที่สุดได้แก่ อุตสาหกรรมอาหารและและเครื่องดื่ม มีสถานประกอบการ 34 แห่ง มีการจ้างงาน 2,220 คน รองลงมาอุตสาหกรรมเกษตร มีสถานประกอบการ 185 แห่ง มีการจ้างแรงงาน 2,060 คน ปรับปรุงข้อมูลล่าสุด ณ วันที่ 29 มิถุนายน 2550 ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา สำนักวิจัยและพัฒนาการอาชีวศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ที่มาสำนักงานสถิติแห่งชาติ

  5. จังหวัดพิจิตร สถานศึกษา สังกัด สพฐ 390 แห่ง (สปช. 357 แห่ง และ สศ.33 แห่ง) สังกัด เอกชน 37 แห่ง สังกัด กศน. 11 แห่ง สังกัด สกอ. - แห่ง สังกัด สอศ. 3 แห่ง 1. วท.พิจิตร 2. วษท.พิจิตร 3. วช.พิจิตร • ที่ตั้งที่เป็นโอกาส • เป็นที่ตั้งของนิคมอุตสาหกรรมพิจิตร • มีแหล่งแร่ที่สำคัญ ได้แก่ ยิปซั่ม ทองคำ • สภาพเศรษฐกิจ • รายได้เฉลี่ยต่อคน 53,548 บาท ต่อปี (อันดับ 8 • ของภาค อันดับ 44 ของประเทศ) • ผลผลิตที่สร้างรายได้ตามลำดับจากภาคเกษตร • 29.86% รองลงมา สาขาการขายส่ง การขาย • ปลีก มีมูลค่าการผลิต 20.33% • อาชีพหลักของจังหวัด • เกษตรกรรม ได้แก่ ทำนาข้าว ทำไร่ต่าง ๆ • และทำสวนผลไม้ • ประชากร • จำนวนประชากร 558,794 คน (พ.ศ.2549) • สัดส่วน ชาย : หญิง ใกล้เคียงกัน • ข้อมูลพื้นฐาน • จำนวนประชากรวัยแรงงานกลุ่มอายุ 15-19 มีจำนวน 37,845 คน หรือ 10.18 % • จำนวนผู้ว่างงาน 4,794คน เป็นชาย 4,281 คน เป็นหญิง 513คน อัตราการว่างงาน 0.9 % • ประชาชนประกอบอาชีพด้านเกษตรและประมงสูงที่สุด จำนวน117,413 คนหรือ 42.41% ลำดับรองลงมา คือ พนักงานบริการ พนักงานในร้านค้าและตลาด 38,912 คน หรือ 14.06% และอาชีพขั้นพื้นฐานต่าง ๆ ในด้านการขายและการให้บริการ 35,556 คน หรือ 12.84% • ข้อมูลอาชีพที่มีความสำคัญและสอดคล้องกับศักยภาพของสถานศึกษาในจังหวัด ได้แก่ • 1) ส้มโอแก้วสี่รส 2) การเพาะเห็ด 3) ปุ๋ยอินทรีย์ • 4) ข้าวกล้อง ข้าวปลอดสารพิษ 5) เครื่องเบญจรงค์ 6) ผลิตภัณฑ์ผักตบชวา • 7) ผลิตภัณฑ์จักสาน 8) กล้วยอบแห้งพลังแสงอาทิตย์ 9) น้ำปลา • 10) บอนไซประดิษฐ์ (ที่มา อศจ.พิจิตร) • ประชากรอายุ15 ปีขึ้นไป ทำงานส่วนตัวสูงที่สุด 107,678 คน หรือ 38.90% ลำดับรองลงมาเป็นลูกจ้างเอกชน 67,099 คน หรือ 24.24% และช่วยธุรกิจครัวเรือน 66,918 คน หรือ 24.17% • แรงงานที่ไม่มีการศึกษามีถึง 7,348 คน หรือ 2.65% โดยภาพรวมมัธยมศึกษาตอนต้น- ต่ำกว่าประถมศึกษา 206,943 คน หรือ 74.75 % • เป็นที่น่าสังเกตว่า แรงงานอาชีวะมีเพียง 8,357 คน หรือ 3.02% สาเหตุจากศึกษาต่อสูงขึ้น • อุตสาหกรรมที่ใช้แรงงานมากที่สุดได้แก่ อุตสาหกรรมสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่มมีสถานประกอบการ 4 แห่ง มีการจ้างงาน 2,124 คน รองลงมาอุตสาหกรรมเกษตร มีสถานประกอบการ 297 แห่ง มีการจ้างแรงงาน 1,646 คน ที่มาสำนักงานสถิติแห่งชาติ ข้อมูลล่าสุดณ วันที่ 30 พฤษภาคม 2550 ศูนย์กำลังคนอาชีวศึกษา สำนักวิจัยและพัฒนาการอาชีวศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

More Related