590 likes | 1.1k Views
บทที่ 4. ทฤษฎีการกำหนดขึ้นเป็นรายได้ประชาชาติดุลยภาพ. การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพ ในระบบเศรษฐกิจ.
E N D
บทที่ 4 ทฤษฎีการกำหนดขึ้นเป็นรายได้ประชาชาติดุลยภาพ
การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพในระบบเศรษฐกิจการกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพในระบบเศรษฐกิจ • รายได้ประชาชาติดุลยภาพ(Equilibrium National Income: YE) คือ ระดับรายได้ประชาชาติที่เกิดจากผลผลิตมวลรวมเท่ากับความต้องการใช้จ่ายมวลรวม แสดงว่าสินค้าที่ผลิตออกมาขายได้หมดพอดี การเปลี่ยนแปลงของสินค้าคงคลังเท่ากับ 0 ดังนั้น รายได้ประชาชาติดุลยภาพจึงไม่มีการเปลี่ยนแปลงตราบเท่าที่ตัวแปรหรือองค์ประกอบของความต้องการใช้จ่ายมวลรวมไม่เปลี่ยนแปลง
ฟังก์ชันความต้องการใช้จ่ายมวลรวม (Desired Aggregate Expenditure) คือ ฟังก์ชันที่แสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์ระหว่างความต้องการใช้จ่ายมวลรวม (DAE) และรายได้ประชาชาติ (Y) ซึ่งบอกให้ทราบว่า ครัวเรือน ธุรกิจ รัฐบาล และต่างประเทศ มีความต้องการใช้จ่ายเงินเพื่อซื้อสินค้าและบริการขั้นสุดท้ายที่ผลิตขึ้นได้ภายในประเทศเท่าใด ณ ระดับรายได้ต่างๆ
DAE DAE b DAE a c Y 0 Y (real income) เรียกว่า แนวโน้มส่วนเปลี่ยนแปลงในการใช้จ่าย (Marginal propensity to spend)
วิธีการวิเคราะห์การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพวิธีการวิเคราะห์การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพ การวิเคราะห์รายได้ประชาชาติดุลยภาพในแบบจำลองเศรษฐกิจทุกแบบ แบ่งเป็น 2 วิธี คือ วิธีที่ 1 รายได้ประชาชาติดุลยภาพเกิดขึ้นเมื่อ รายได้ประชาชาติเท่ากับความต้องการใช้จ่ายมวลรวม (Income-Expenditure Approach) วิธีที่ 2 รายได้ประชาชาติดุลยภาพเกิดขึ้นเมื่อ การรั่วไหลเท่ากับการอัดฉีด (Withdrawal - Injection Approach)
การกำหนดรายได้ประชาชาติในระบบเศรษฐกิจแบบปิดและไม่มีภาครัฐบาลการกำหนดรายได้ประชาชาติในระบบเศรษฐกิจแบบปิดและไม่มีภาครัฐบาล • ระบบเศรษฐกิจมี 2 ภาค คือ ภาคธุรกิจและภาคครัวเรือน • ไม่มีภาคการค้าระหว่างประเทศ • ไม่มีภาครัฐบาล • ราคาสินค้า อัตราค่าจ้าง และอัตราดอกเบี้ยคงที่ ข้อสมมติ
DAE Y=DAE D unintended investment DAE = C+I Equilibrium point G C E A F B unintended disinvestment H C I = Ia 0 Y2 Y1 Y3 Income-Expenditure Approach Y (Real income)
S, I S C Equilibrium point unintended investment A E I=Ia unintended disinvestment D B Y (Real income) Y2 Y1 Y3 Equilibrium income Withdrawal-Injection Approach
การเปลี่ยนแปลงภาวะดุลยภาพการเปลี่ยนแปลงภาวะดุลยภาพ ระดับรายได้ดุลยภาพอาจจะเปลี่ยนแปลงได้ ถ้าเส้นความต้องการใช้จ่ายมวลรวม (DAE) เปลี่ยนแปลงไป การเปลี่ยนแปลงของเส้น DAE เกิดขึ้นได้ใน 2 กรณี คือ 1. กรณีที่ระดับราคาสินค้าโดยทั่วไปไม่เปลี่ยนแปลง เส้น DAE อาจเปลี่ยนแปลงได้เนื่องจากปัจจัยอื่นๆที่กำหนด C,I,G,X,M ซึ่งมิใช่รายได้เปลี่ยนแปลงไป ทำให้เส้น C,I,G,X,M มีการเคลื่อนที่ขึ้นหรือเคลื่อนที่ลง จึงทำให้เส้น DAE เคลื่อนที่ขึ้นหรือลงทั้งเส้น 2. กรณีที่ระดับราคาสินค้าเปลี่ยนแปลง กรณีนี้เส้น DAE จะเปลี่ยนแปลงเนื่องจากระดับราคาสินค้าโดยทั่วไปเปลี่ยนแปลง แต่ปัจจัยอื่นๆที่กำหนด C,I,G,X,M ที่มิใช่รายได้คงที่ ไม่เปลี่ยนแปลง
ตัวคูณ (Multiplier) ความหมายของตัวคูณ: คือ ตัวเลขที่คูณกับส่วนเปลี่ยนแปลงของความต้องการใช้จ่ายมวลรวม เพื่อหาค่าการเปลี่ยนแปลงของรายได้ประชาชาติดุลยภาพ นั่นคือ ตัวเลขที่จะบอกขนาดของการเปลี่ยนแปลงของรายได้ประชาชาติดุลยภาพเมื่อเส้นความต้องการใช้จ่ายมวลรวมเปลี่ยนแปลงไป หรืออีกนัยหนึ่งคือ อัตราส่วนของการเปลี่ยนแปลงในรายได้ประชาชาติดุลยภาพต่อการเปลี่ยนแปลงของ DAE ที่ทำให้รายได้ประชาชาติดุลยภาพเปลี่ยนแปลง
ถ้าให้ k = multiplier DAE = ส่วนเปลี่ยนแปลงของความต้องการใช้จ่ายมวลรวม Y = ส่วนเปลี่ยนแปลงของรายได้ • ดังนั้น จะได้ว่า • ถ้าตัว DAE ที่เปลี่ยนไปคือ Autonomous Investment Expenditure เรียกว่า ตัวคูณการลงทุน (investment multiplier) • ถ้าตัว DAE ที่เปลี่ยนไปคือ Autonomous Consumption Expenditure เรียกว่า ตัวคูณการบริโภค (consumption multiplier)
ที่มาของตัวคูณ: เมื่อบุคคลหนึ่งใช้จ่ายออกไป รายจ่ายนั้นจะเป็นรายได้ของอีกคนหนึ่ง และบุคคลนั้นจะใช้จ่ายออกไปอีก กลายเป็นรายได้ของคนต่อๆไป สมมติว่าผู้ที่มีรายได้ทุกคนในระบบเศรษฐกิจเมื่อได้รับรายได้เข้ามา จะแบ่งรายได้ส่วนหนึ่งเป็นเงินออม และอีกส่วนหนึ่งเอาไว้ใช้จ่ายเพื่อการบริโภค ดังนั้น รายจ่ายเพื่อการบริโภคซึ่งกลายเป็นรายได้ของคนต่อๆไปจะลดลงเรื่อยๆ จนกระทั่งเงินส่วนที่ตกไปอยู่ในมือของผู้รับคนสุดท้ายน้อยมากจนมีค่าเข้าใกล้ศูนย์ กระบวนการทำงานของตัวคูณจะสิ้นสุดลง เมื่อเงินออมรวมเท่ากับเงินที่จ่ายออกมารอบแรก
ความขัดแย้งของการประหยัด (Paradox of Thrift) • เป็นปรากฏการณ์ทางเศรษฐกิจที่แสดงให้เห็นถึงการขัดแย้งระหว่างส่วนย่อยกับส่วนใหญ่ (Fallacy of Composition) • เมื่อประชาชนทุกคนออมมากขึ้น น่าจะทำให้เงินออมของระบบเศรษฐกิจเพิ่มขึ้น แต่ความจริง พบว่า เงินออมของระบบเศรษฐกิจในระยะเวลาต่อมาไม่เพิ่มขึ้น และอาจลดลงอีกด้วย
พิจารณาใน 2 กรณี คือ • กรณีการลงทุนแบบอิสระ (Autonomous Investment) • กรณีการลงทุนแบบจูงใจ (Induced Investment)
S ,I S1 S0 A E1 I= Ia E0 Y (Real Income) Y0 Y1 1.กรณีการลงทุนแบบอิสระ(Autonomous Investment)
S ,I S1 S0 A I= Ia +iY E0 E1 Y (Real Income) Y1 Y0 2.กรณีการลงทุนแบบจูงใจ (Induced Investment)
สรุป • กรณีของการลงทุนแบบอิสระ (I = Ia) หากกำหนดให้สิ่งอื่นๆ คงที่ การประหยัดมากขึ้น จะทำให้รายได้ประชาชาติดุลยภาพลดลง และจำนวนเงินออมที่เกิดขึ้นจริงเท่าเดิม • กรณีของการลงทุนแบบจูงใจ (I = Ia+iY) หากกำหนดให้สิ่งอื่นๆ คงที่ การประหยัดมากขึ้น จะทำให้รายได้ประชาชาติดุลยภาพลดลง และจำนวนเงินออมที่เกิดขึ้นจริงลดลงด้วย
Paradox of Thrift จะเป็นจริงภายใต้ข้อสมมติฐานว่าความตั้งใจจะออม และความตั้งใจลงทุน ไม่มีความสัมพันธ์กัน กลุ่มผู้ลงทุน และกลุ่มผู้ออม เป็นคนละกลุ่มกัน รายได้ประชาชาติจะไม่เปลี่ยนแปลง
S ,I S2 S1 E3 I2 E2 I1 E1 Y (Real Income) Y1 Y2 1.กรณีการลงทุนแบบอิสระ (Autonomous Investment)
S ,I S2 I2 E3 S1 I1 E1 E2 Y (Real Income) Y2 Y1 2.กรณีการลงทุนแบบจูงใจ (Induced Investment)
S ,I S2 S1 E2 Ia E1 GNP GAP Y (Real Income) Y1 Y0 = Y F Implication of Paradox of Thrift กรณีที่เศรษฐกิจ มีการจ้างงานเต็มที่ (Full Employment) การประหยัดมากขึ้น ทำให้เกิด GNP GAP
S ,I S2 S1 E2 E1 I GNP GAP เดิม Y (Real Income) YF Y2 Y1 GNP GAP ใหม่ ในขณะที่ระบบเศรษฐกิจ อยู่ต่ำกว่าระดับการจ้างงานเต็มที่ (Full Employment) การประหยัดมากขึ้น ทำให้เกิด GNP GAP ที่มากขึ้น
การกำหนดรายได้ประชาชาติในระบบเศรษฐกิจแบบปิดและมีภาครัฐบาลการกำหนดรายได้ประชาชาติในระบบเศรษฐกิจแบบปิดและมีภาครัฐบาล เมื่อมีภาครัฐบาลเข้ามา รัฐบาลจะทำหน้าที่ 2 อย่างคือ ใช้จ่ายและเก็บภาษี • ค่าใช้จ่ายทั้งหมดของภาครัฐบาล ประกอบด้วย • ค่าใช้จ่ายในการซื้อสินค้าและบริการ (Government Expenditure: G) • รายจ่ายเงินโอนของรัฐบาล (Government transfer payment: R) • การเก็บภาษี ในที่นี้จะแบ่งภาษีออกเป็น 2 อย่าง คือ • ภาษีเหมาจ่าย (Lum-sum tax) เป็นภาษีที่จัดเก็บโดยไม่ได้ขึ้นอยู่กับรายได้หรือตัวแปรใดๆ เป็นภาษีที่รัฐบาลจัดเก็บเป็นก้อนเพียงครั้งเดียว • ภาษีเงินได้ (Income tax) เป็นภาษีที่จัดเก็บโดยมีความสัมพันธ์กับรายได้ T=T(Y)
Y =DAE DAE DAE2= C+I+G DAE1= C+I A E2 E1 C =f(Y) unintended disinvestment I =Ia G=Ga Y (Real income) 45 0 YE1 YE2 รายได้ดุลยภาพเมื่อมีรายจ่ายในการซื้อสินค้าและบริการ ของรัฐบาล สมมติยังไม่มีการเก็บภาษี
S S, I E2 I+G E1 I S=I+G S=I Y (Real income) 0 YE1 YE2 รายได้ดุลยภาพเมื่อมีรายจ่ายในการซื้อสินค้าและบริการ ของรัฐบาล สมมติยังไม่มีการเก็บภาษี
รายได้ดุลยภาพเมื่อมีรายจ่ายในการซื้อสินค้าและบริการ ของรัฐบาลและมีการเก็บภาษี DAE Y =DAE C+I+G C = 15 C’+I+G E0 สมมติ MPC = 0.75 และมีการเก็บภาษี 20 ลบ E1 Y (Real income) 0 Y1 Y0
รายได้ดุลยภาพเมื่อมีรายจ่ายในการซื้อสินค้าและบริการ ของรัฐบาลและมีการเก็บภาษี Sa+Tn S, I Sb Tn = 20 Sa A -5 E1 E0 I+G Sa+Tn=I+G Sb=I+G 0 Y1 Y0 ส่วนรั่วไหล = ส่วนอัดฉีด S + T = I+G
การเปลี่ยนแปลงภาวะดุลยภาพการเปลี่ยนแปลงภาวะดุลยภาพ Y=DAE DAE C+I+G C/+I+G E1 C (a) E2 ผู้บริโภคคาดการณ์ว่าราคาสินค้าในอนาคตจะลดลง Y (real income) 0 Y2 Y1 DAE Y=DAE C+I /+G E2 I C+I+G (b) E1 อัตราดอกเบี้ยลดลง Y (real income) 0 Y1 Y2
รายได้ประชาชาติดุลยภาพ (equilibrium income)และรายได้ ณ ระดับที่มีการจ้างงานเต็มที่ (full employment income) Y=DAE DAE DAEF F DAE Deflationary gap A E GNP Gap แสดงจำนวนผลผลิตที่สูญเสียไปเนื่องจากการจ้างงานไม่เต็มที่ 0 Y (real income) YE YF GNP Gap บอกการว่างงาน
Y=DAE DAE DAE E DAEF A Inflationary gap F 0 Y (real income) YF YE GNP Gap เป็นลบบอกถึง price effect
(1) การหารายได้ดุลยภาพ : Income-Expenditure Approach การกำหนดรายได้ประชาชาติในระบบเศรษฐกิจแบบเปิด รายได้ประชาชาติดุลยภาพในกรณีที่ระบบเศรษฐกิจแบบเปิด จะอยู่ ณ ระดับที่รายได้ประชาชาติเท่ากับความต้องการใช้จ่ายมวลรวม นั่นคือ YE: Y = C+I+G+(X-M) = C+I+G+Xn
การกำหนดรายได้ประชาชาติในระบบเศรษฐกิจแบบเปิดการกำหนดรายได้ประชาชาติในระบบเศรษฐกิจแบบเปิด รายได้ประชาชาติดุลยภาพจะอยู่สูงกว่าหรือต่ำกว่าหรือเท่ากับรายได้ประชาชาติดุลยภาพของระบบเศรษฐกิจแบบปิด ขึ้นอยู่กับว่า DAE จะตัดกับเส้น 45 องศาในช่วงที่ Xn มีค่าเป็นเท่าใด
กรณีที่ 1: เส้น DAE ของระบบเศรษฐกิจแบบเปิดตัดกับเส้น 45 องศาในช่วงที่ค่า X-M เป็นบวก Y=DAE DAE DAEปิด= C+I+G DAEเปิด= C+I+G+X-M Eเปิด Xn= 0 Eปิด ระดับรายได้ดุลยภาพระบบเศรษฐกิจแบบเปิดจะอยู่สูงกว่ารายได้ดุลยภาพระบบเศรษฐกิจแบบปิด Xn 0 Y(real income) 0 Yเปิด Yปิด
กรณีที่ 2: เส้น DAE ของระบบเศรษฐกิจแบบเปิดตัดกับเส้น 45 องศาในช่วงที่ค่า X-M เป็นลบ DAEปิด= C+I+G Y=DAE DAE Eปิด DAEเปิด= C+I+G+X-M Xn= 0 ระดับรายได้ดุลยภาพระบบเศรษฐกิจแบบเปิดจะอยู่ต่ำกว่ารายได้ดุลยภาพระบบเศรษฐกิจแบบปิด Eเปิด Xn < 0 Y(real income) 0 Yเปิด Yปิด
กรณีที่ 2: เส้น DAE ของระบบเศรษฐกิจแบบเปิดตัดกับเส้น 45 องศาในช่วงที่ค่า X-M เท่ากับ 0 DAEปิด= C+I+G Y=DAE DAE Xn= 0 DAEเปิด= C+I+G+X-M ระดับรายได้ดุลยภาพระบบเศรษฐกิจแบบเปิดจะเท่ากับรายได้ดุลยภาพระบบเศรษฐกิจแบบปิด Y(real income) 0 Yปิด = Yเปิด
(2)การหารายได้ดุลยภาพ:Withdrawal-Injection Approach ในระบบเศรษฐกิจแบบเปิด Y = C+S+Tn DAE = C+I+G+X-M YE: Y = DAE C+S+Tn = C+I+G+X-M • S+Tn+M = I+G+X
กรณีที่ 1: รายได้ดุลยภาพ กรณี X-M เป็นบวก DAE Sa+Tn+M X>M Sa+Tn Sb E2 Sa I+G+X M X ผลของรายได้ที่เพิ่มขึ้นเนื่องจากการส่งออกมีมากกว่าผลของรายได้ที่ลดลงเนื่องจากการนำเข้า รายได้ดุลยภาพจึงเพิ่มสูงขึ้น E1 I+G E0 I=Ia Y(real income) Yปิด Y0 Yเปิด
กรณีที่ 2 : รายได้ดุลยภาพ กรณี X-M เป็นลบ DAE Sa+Tn+M Sa+Tn X<M Sb Sa E2 I+G+X X E1 M I+G ผลของรายได้ที่เพิ่มขึ้นเนื่องจากการส่งออกมีน้อยกว่าผลของรายได้ที่ลดลงเนื่องจากการนำเข้า รายได้ดุลยภาพจึงลดลง E0 I=Ia Y(real income) Y0 Yเปิด Yปิด
กรณีที่ 3 : รายได้ดุลยภาพ กรณี X-M เป็นศูนย์ DAE Sa+Tn+M Sa+Tn X=M Sb Sa E2 I+G+X X M E1 I+G ผลของรายได้ที่เพิ่มขึ้นเนื่องจากการส่งออกมีเท่ากับผลของรายได้ที่ลดลงเนื่องจากการนำเข้า รายได้ดุลยภาพจึงคงที่ E0 I=Ia Y(real income) Y0 Yปิด =Yเปิด
ตัวคูณการค้าระหว่างประเทศ (Foreign Trade Multiplier) สมมติว่า มีการใช้จ่ายการลงทุนเพิ่มขึ้นในระบบเศรษฐกิจ รายได้ที่เพิ่มขึ้นในรอบแรกจะเท่ากับมูลค่าค่าใช้จ่ายในการลงทุนที่เพิ่มขึ้นพอดี รายได้ที่เพิ่มขึ้นนี้ก็จะถูกใช้จ่ายเพื่อบริโภคเพิ่มขึ้น(ตามค่าของMPC) และบางส่วนของรายได้ที่เพิ่มขึ้นนี้ก็จะถูกใช้จ่ายซื้อสินค้าเข้าเพิ่มขึ้น(ตามค่าของ MPM) ดังนั้น รายได้ที่เพิ่มขึ้นในรอบสองนี้จะเพิ่มขึ้นเท่ากับมูลค่าการใช้จ่ายในการบริโภคที่เพิ่มขึ้นทั้งหมด ลบด้วยค่าใช้จ่ายในการซื้อสินค้าเข้า รายได้ที่เพิ่มขึ้นน้อยลงในรอบที่ 2 นี้จะทำให้รายได้ในรอบต่อๆไปเพิ่มขึ้นน้อยลงกว่าอีก เหตุการณ์จะเป็นเช่นนี้ไปเรื่อยๆ ในที่สุด ผลรวมของการขยายตัวของรายได้ทั้งหมดจะน้อยกว่าการขยายตัวของรายได้ในระบบเศรษฐกิจแบบปิด เนื่องจากค่าของตัวคูณกรณีระบบเศรษฐกิจแบบปิดจะมีค่ามากกว่าตัวคูณกรณีระบบเศรษฐกิจแบบเปิด
ที่มาหรือรากฐานของตัวคูณการค้าระหว่างประเทศที่มาหรือรากฐานของตัวคูณการค้าระหว่างประเทศ การบริโภคที่เพิ่มขึ้นตามค่า MPC การนำเข้าที่เพิ่มขึ้นตามค่า MPM ตัวคูณของระบบเปิด มีค่าน้อยกว่าตัวคูณของระบบปิด รายได้ในรอบนี้เท่ากับมูลค่าค่าใช้จ่ายในการบริโภค ลบค่าใช้จ่ายในการซื้อสินค้าเข้า
รายได้ประชาชาติและระดับราคารายได้ประชาชาติและระดับราคา ที่ผ่านมาเป็นการพิจารณารายได้ดุลยภาพและการเปลี่ยนแปลงรายได้ดุลยภาพ เมื่อราคาคงที่ ต่อจากนี้จะเป็นการพิจารณาผลกระทบต่อรายได้ดุลยภาพและการเปลี่ยนแปลงรายได้ดุลยภาพ เมื่อราคาสินค้าและบริการมีการเปลี่ยนแปลง
ส่วนที่ 1 ส่วนที่ 2
กรณีที่ราคาเปลี่ยนแปลงทำให้ค่าใช้จ่ายในการบริโภคเปลี่ยนแปลงกรณีที่ราคาเปลี่ยนแปลงทำให้ค่าใช้จ่ายในการบริโภคเปลี่ยนแปลง • . • . • . • .
กรณีที่ราคาเปลี่ยนแปลงทำให้การลงทุนเปลี่ยนแปลงกรณีที่ราคาเปลี่ยนแปลงทำให้การลงทุนเปลี่ยนแปลง ราคาสินค้าเพิ่ม จำนวนสินค้าเท่าเดิม Demand ของปริมาณเงินเพิ่มขึ้น ต้นทุนของเงินเพิ่มขึ้น กู้ยืม
กรณีที่ราคาเปลี่ยนแปลงทำให้การลงทุนเปลี่ยนแปลงกรณีที่ราคาเปลี่ยนแปลงทำให้การลงทุนเปลี่ยนแปลง ราคาสินค้าลด จำนวนสินค้าเท่าเดิม Demand ของปริมาณเงินลดลง ต้นทุนของเงินลดลง
ก. ราคาสินค้าที่เพิ่มขึ้น ทำให้ราคาสินค้าในประเทศแพงเมื่อเทียบกับราคาสินค้านำเข้า จึงมีการนำเข้ามาก ขณะที่สามารถส่งออกได้น้อยลง การส่งออกสุทธิจึงลดลง ส่งผลให้ DEA ลดลงด้วย P M E Xn DAE ก P M E Xn DAE ข กรณีที่ราคาเปลี่ยนแปลงทำให้การส่งออกสุทธิเปลี่ยนแปลง ข. ราคาสินค้าลดลง ทำให้ราคาสินค้าในประเทศถูกกว่าราคาสินค้านำเข้า จึงมีการนำเข้าลดลง ขณะที่สามารถส่งออกได้มากขึ้น การส่งออกสุทธิจึงเพิ่มขึ้น ส่งผลให้ DEA เพิ่มขึ้นด้วย