380 likes | 785 Views
การส่งเสริมสิทธิ สวัสดิการของคนพิการ. นางนภา เศรษฐ กร ผู้อำนวยการสำนักงานส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการแห่งชาติ. ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2556. ความพิการ 7 ประเภท. ทาง ร่างกายหรือการ เคลื่อนไหว ทางการ ได้ยินหรือสื่อความหมาย ทางการ เห็น ทาง จิตใจหรือพฤติกรรม ทาง สติปัญญา
E N D
การส่งเสริมสิทธิ สวัสดิการของคนพิการ นางนภา เศรษฐกร ผู้อำนวยการสำนักงานส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการแห่งชาติ
ข้อมูล ณ วันที่ 30 กันยายน 2556
ความพิการ 7 ประเภท • ทางร่างกายหรือการเคลื่อนไหว • ทางการได้ยินหรือสื่อความหมาย • ทางการเห็น • ทางจิตใจหรือพฤติกรรม • ทางสติปัญญา • ทางออทิสติก • ทางการเรียนรู้
สาเหตุความพิการ • ภาวะความเจ็บป่วยและโรคต่างๆ อาทิ • ความดัน/โลหิตสูง/หลอดเลือดหัวใจตีบ /ข้อสันหลัง • อักเสบ /โรคติดเชื้อ /เบาหวาน /ลมชัก • อุบัติเหตุ • ความพิการแต่กำเนิด • พันธุกรรม • สาเหตุอื่นๆ เช่น • แพทย์ไม่ระบุสาเหตุความพิการ ถูกทำร้าย เป็นต้น
กลไกการดำเนินงาน • องค์กรคนพิการ
สิทธิของคนพิการ พระราชบัญญัติส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ พ.ศ. 2550 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2556 แผนพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการแห่งชาติ ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2555-2559
สิทธิของคนพิการ (ต่อ) แผนพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการแห่งชาติ ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2555-2559 ยุทธศาสตร์ที่ 1 ส่งเสริมการเข้าถึงสิทธิอย่างเสมอภาคและเท่าเทียม โดยไม่เลือกปฏิบัติต่อคนพิการ ยุทธศาสตร์ที่ 2 สร้างสภาพแวดล้อม พัฒนาเทคโนโลยีและข้อมูลข่าวสาร ที่คนพิการ สามารถเข้าถึงและใช้ประโยชน์ ยุทธศาสตร์ที่ 3 สร้างเสริมพลังอำนาจให้แก่คนพิการและผู้ดูแลคนพิการ ยุทธศาสตร์ที่ 4 ส่งเสริมศักยภาพและความเข้มแข็งขององค์กรด้านคนพิการ และเครือข่าย ยุทธศาสตร์ที่ 5 สร้างเสริมเจตคติเชิงสร้างสรรค์ต่อความพิการและคนพิการ
สาระสำคัญที่แก้ไขปรับปรุงสาระสำคัญที่แก้ไขปรับปรุง
มาตรา 4 คนพิการ หมายถึง บุคคลซีงมีข้อจำกัดในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน หรือเข้าไปมีส่วนร่วมทางสังคมเนื่องจากมีความบกพร่องทางการเห็น การได้ยิน การเคลื่อนไหว การสื่อสาร จิตใจ อารมณ์ พฤติกรรม สติปัญญา การเรียนรู้ หรือความบกพร่องอื่นใด ประกอบกับมีอุปสรรคในด้านต่าง ๆ และมีความจำเป็นเป็นพิเศษที่จะต้องได้รับความช่วยเหลือด้านหนึ่งด้านใด เพื่อให้สามารถปฏิบัติกิจกรรมในชีวิตประจำวัน หรือเข้าไปมีส่วนร่วมทางสังคมได้อย่างบุคคลทั่วไป มาตรา 4 แก้ไขเพิ่มเติม มาตรา 3 คำว่า “เลขาธิการ” เป็น “ผู้อำนวยการ” ทุกแห่ง
อำนาจหน้าที่ของ พก. 9 ประเด็น
อำนาจหน้าที่ของ พก. (ต่อ)
อำนาจหน้าที่ของ พก. (ต่อ)
โครงการส่งเสริมการจัดสิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับโครงการส่งเสริมการจัดสิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับ คนพิการและทุกคนในสังคม
โครงการส่งเสริมการดำเนินงานศูนย์บริการคนพิการโครงการส่งเสริมการดำเนินงานศูนย์บริการคนพิการ
ด้านกองทุนส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการด้านกองทุนส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ
โครงการกองทุนส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตโครงการกองทุนส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิต คนพิการ