1 / 38

การรู้สารสนเทศ

การรู้สารสนเทศ. Information Literacy (IL). chuenvinya1@gmail.com. ความหมาย. ความรู้ ความสามารถของบุคคลในการเข้าถึงสารสนเทศที่ต้องการ สามารถประเมินสารสนเทศที่ค้นได้ และสามารถนำสารสนเทศไปใช้ได้อย่างถูกต้องเหมาะสมและสร้างสรรค์. จากความหมาย.

Download Presentation

การรู้สารสนเทศ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การรู้สารสนเทศ Information Literacy (IL) chuenvinya1@gmail.com

  2. ความหมาย ความรู้ ความสามารถของบุคคลในการเข้าถึงสารสนเทศที่ต้องการ สามารถประเมินสารสนเทศที่ค้นได้ และสามารถนำสารสนเทศไปใช้ได้อย่างถูกต้องเหมาะสมและสร้างสรรค์

  3. จากความหมาย ความรู้ ความสามารถของบุคคลในการเข้าถึงสารสนเทศที่ต้องการ สามารถประเมินสารสนเทศที่ค้นได้ และสามารถนำสารสนเทศไปใช้ได้อย่างถูกต้องเหมาะสมและสร้างสรรค์

  4. ภาระงาน (ให้ทำเป็น Mind map) 1. ให้นักเรียนเลือกสิ่งที่ต้องการจะศึกษา 1 เรื่อง 2. จากสิ่งที่นักเรียนต้องการศึกษาให้ระบุสารสนเทศที่ต้องการ 3. ให้นักเรียนบอกวิธีการเข้าถึงสารสนเทศนั้น จาก แหล่ง สารสนเทศที่หลากหลาย 4. ให้นักเรียนบอกวิธีการเข้าถึงแหล่งสารสนเทศ

  5. การเข้าถึงสารสนเทศที่ต้องการการเข้าถึงสารสนเทศที่ต้องการ หมายถึง รู้และเข้าใจว่าต้องการสารสนเทศเรื่องใด สามารถระบุแหล่งสารสนเทศได้อย่างหลากหลาย และสามารถพัฒนากลยุทธ์ในการเข้าถึงแหล่งสารสนเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ

  6. การเข้าถึงสารสนเทศที่ต้องการประกอบด้วยการเข้าถึงสารสนเทศที่ต้องการประกอบด้วย 3 องค์ประกอบ 1. รู้และเข้าใจว่าต้องการสารสนเทศเรื่องใด 2. ระบุแหล่งสารสนเทศได้อย่างหลากหลาย 3. พัฒนากลยุทธ์ในการเข้าถึงแหล่งสารสนเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ

  7. ตัวอย่าง เรื่อง การเข้าถึงสารสนเทศ 1.ใช้โปรแกรมการค้น.................................. 2.ระบุคำสำคัญ ............................................... 3. ระบุคำใกล้เคียง..................................... 1.อินเทอร์เน็ต 2. บริษัททัวร์ • สถานที่ท่องเที่ยว 1.ใช้สมุดหน้าเหลือง 2.ใช้เทคนิคการเปิด 3.โทรศัพท์ 4.เดินทางไปบริษัททัวร์ 3. สถานฑูต 4. อาหารประจำชาติ ประเทศฟิลิปปิน 3. ประวัติศาสตร์ 2. ลักษณะภูมิประเทศ

  8. การเลือกประเด็นที่ต้องการศึกษาการเลือกประเด็นที่ต้องการศึกษา ประเด็น หมายถึง ข้อความสำคัญของเรื่องที่หยิบยกขึ้น พิจารณา หรือ ศึกษา เช่น วิกฤตน้ำท่วม สมาชิกอาเซียน เป็นต้น

  9. ขอบเขตของประเด็น ต้องไม่กว้างหรือแคบจนเกินไป

  10. สาเหตุเพราะ ถ้ากว้างเกินไปความรู้ที่ได้จะมีลักษณะผิวเผิน ขาดจุดสำคัญที่เจาะลึกในรายละเอียด ซึ่งเรา สามารถจำกัดให้แคบลงได้ เช่น ใช้แง่มุมเป็นตัวกำหนด หรือใช้ช่วงเวลาเป็น ตัวกำหนด หรือใช้กลุ่มบุคคลเป็นตัวกำหนด หรือใช้ภูมิศาสตร์เป็นตัวกำหนด เป็นต้น

  11. สาเหตุเพราะ (ต่อ) ถ้าแคบจนเกินไป รายละเอียดและข้อมูล อาจไม่เพียงพอต่อรายงาน และอาจไม่น่าสนใจ หรือข้อมูลไปใช้ในการตัดสินใจไม่ได้ เป็นต้น

  12. หลักการพิจารณา กำหนดประเด็นหรือ หัวข้อเรื่อง 1. ควรเป็นเรื่องที่ผู้เรียนสนใจ และ มีความรู้ในเรื่องนั้น และมั่นใจว่า ทำได้ดีที่สุดในระยะเวลาที่กำหนด 2. ควรเป็นเรื่องที่ควรค่าแก่ การศึกษาค้นคว้า

  13. หลักการพิจารณา กำหนดประเด็นหรือ หัวข้อเรื่อง (ต่อ) 3. ควรเป็นเรื่องที่สามารถหาเอกสาร ข้อมูลมาอ้างอิงและใช้ประกอบ การศึกษาได้จำนวนมากพอ 4. เป็นเรื่องที่เข้าถึงข้อมูลได้สะดวก

  14. วิธีการเข้าถึงแหล่งสารสนเทศ(Information access) หมายถึง วิธีการที่ผู้ใช้สามารถค้นและได้รับสารสนเทศ ที่ต้องการ โดยใช้เครื่องมือช่วยค้นต่างๆ จำแนกเป็นการเข้าถึงสารสนเทศจากทรัพยากรสารสนเทศจากสื่อสิ่งพิมพ์ กับทรัพยากรสารสนเทศที่ไม่ใช่ สื่อสิ่งพิมพ์

  15. ตัวอย่างเช่น ทรัพยากรสารสนเทศจากอินเทอร์เน็ต ทรัพยากรสารสนเทศที่ไม่ใช่สื่อสิ่งพิมพ์

  16. การเข้าถึงสารสนเทศบนอินเทอร์เน็ตการเข้าถึงสารสนเทศบนอินเทอร์เน็ต ผู้ใช้สามารถเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์กับระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตโดยอาศัยอุปกรณ์เชื่อมต่อระบบเครือข่ายและโปรแกรมคอมพิวเตอร์

  17. ข้อมูลที่ได้จากการค้นหาอยู่ในรูปแบบของ เว็ปไซต์ ไฟล์เอกสาร ไฟล์รูปภาพ สื่อมัลติมีเดีย รูปแบบอื่นๆ

  18. เครื่องมือที่ใช้ในการสืบค้นสารสนเทศบนอินเทอร์เน็ตเครื่องมือที่ใช้ในการสืบค้นสารสนเทศบนอินเทอร์เน็ต Search engines

  19. การค้นหาข้อมูลบน Search engine คือ โปรแกรมที่ออกแบบมาเป็นเครื่องมือสำหรับค้นหาข้อมูลบนเว็ปไซต์ต่างๆ โดยใช้คำสั้นๆ ที่เรียกว่า คำสำคัญ (Key word)

  20. คำสำคัญ (Key Word) คือ การค้นหาด้วยคำหรือวลีที่กำหนดขึ้นมา เพื่อใช้แทนเรื่องที่ต้องการค้นหา โดยทั่วไปจะมีลักษณะสั้น กะทัดรัด ได้ใจความ มีความหมาย เป็นคำนาม หรือเป็นศัพท์เฉพาะในแต่ละสาขา

  21. Search engine ที่สนับสนุนการค้นหามี 2 ลักษณะ ดังนี้ Basic search Advance search

  22. การสืบค้นขั้นพื้นฐาน ใช้คำสำคัญ แล้วคลิ๊ก Enter Basic Search

  23. จะมีวิธีคล้ายคลึงกับการสืบค้นแบบ Basic เพียงแต่ผู้ใช้สามารถป้อนคำค้นและเลือกระบุขอบเขตหรือเงื่อนไขของการสืบค้นได้มากกว่า Advance search

  24. การสืบค้นขั้นสูงโดยใช้ตรรกะบูลีนการสืบค้นขั้นสูงโดยใช้ตรรกะบูลีน คือการค้นหาโดยใช้คำเชื่อม ได้แก่ AND OR NOT

  25. วิธีการค้นหา 1. ชื่อผู้แต่ง (Author) 2. ชื่อเรื่อง (Title) 3. ชื่อวารสาร (Title Journal) 4. หัวเรื่อง (Subject)

  26. วิธีการค้นหา (ต่อ) 5. คำสำคัญ(Keyword) 6. ระบบเลขหมู่(LC or NLM)

  27. วิกฤตน้ำท่วมปี2554 1.สาเหตุของน้ำท่วม 2.ผลกระทบของน้ำท่วม 3.วีธีการป้องกันน้ำท่วม

  28. ตัวอย่างเว็ปไซต์ http://www.lib.nu.ac.th มหาวิทยาลัยนเรศวร www.lib.ku.ac.thมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ www.lib.swu.ac.thมหาวิทยาลัยศรีนคริทรวิโรฒ ประสานมิตร

  29. การประเมินสารสนเทศ

  30. ความหมาย การตรวจสอบ การวิเคราะห์ และสังเคราะห์สารสนเทศ ที่ค้นได้

  31. การตรวจสอบสารสนเทศ 1. ความเกี่ยวข้อง 2. ครอบคลุม 3. ความน่าเชื่อถือ 4. ความทันสมัย

  32. การวิเคราะห์สารสนเทศ 1. พิจารณา 2. แยกแยะ http://rirs3.royin.go.th/dictionary.asp

  33. การสังเคราะห์สารสนเทศการสังเคราะห์สารสนเทศ หมายถึง การนำสารสนเทศที่เรามีอยู่เดิม มาผนวกกับสารสนเทศที่ค้นได้ใหม่

  34. การประเมินสารสนเทศจากการประเมินสารสนเทศจาก 1. สื่อสิ่งพิมพ์ 2.ไม่ใช่สื่อสิ่งพิมพ์ ***สารสนเทศที่น่าเชื่อถือมากที่สุด มาจากสารสนเทศระดับปฐมภูมิ***

  35. การนำสารสนเทศไปใช้ หมายถึง สามารถบูรณาการสารสนเทศที่ค้นได้ใหม่ กับสารสนเทศที่มีอยู่เดิมเพื่อนำไปใช้ ในการแก้ปัญหาด้านต่างๆ และสามารถ สื่อสารสนเทศด้วยรูปแบบที่เหมาะสม

More Related