1 / 13

การขึ้นทะเบียน

การขึ้นทะเบียน. เกษตรกร และผู้ประกอบการด้านการประมง. วัตถุประสงค์. เพื่อดำเนินการขึ้นทะเบียนเกษตรกร และผู้ประกอบการอันเกี่ยวเนื่อง เพื่อจัดทำฐานข้อมูลสารสนเทศรองรับการพัฒนามาตรฐานสินค้าประมง เพื่อการบริหารจัดการและแก้ไขปัญหาปัญหาต่างๆ รวมถึงการนำเข้า-ส่งออก

Download Presentation

การขึ้นทะเบียน

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การขึ้นทะเบียน เกษตรกร และผู้ประกอบการด้านการประมง

  2. วัตถุประสงค์ • เพื่อดำเนินการขึ้นทะเบียนเกษตรกร และผู้ประกอบการอันเกี่ยวเนื่อง • เพื่อจัดทำฐานข้อมูลสารสนเทศรองรับการพัฒนามาตรฐานสินค้าประมง • เพื่อการบริหารจัดการและแก้ไขปัญหาปัญหาต่างๆ รวมถึงการนำเข้า-ส่งออก • เพื่อการตรวจสอบข้อมูลย้อนกลับในกรณีสินค้ามีปัญหา • เพื่อการกระจายข้อมูลข่าวสารอย่างมีระบบและประสิทธิภาพทั่วถึง

  3. กลุ่มเป้าหมาย • ฟาร์มเกษตรกรผู้เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำเชิงพาณิชย์ • โรงงานผลิตอาหารสัตว์น้ำ • ผู้ค้าปัจจัยการผลิต • แพ-พ่อค้าคนกลาง-ผู้รวบรวม • สถานประกอบการแปรรูปสัตว์น้ำบื้องต้น • สถานประกอบการแปรรูปห้องเย็นเก็บผลผลิตสัตว์น้ำ • สถานประกอบการแปรรูปพื้นเมือง • ผู้นำเข้า-ส่งออกสินค้าสัตว์น้ำและผลิตภัณฑ์ประมง • ผู้ประกอบการเกี่ยวกับสัตว์นำอื่นๆ

  4. หน่วยงานที่รับขึ้นทะเบียนหน่วยงานที่รับขึ้นทะเบียน • ภาครัฐ • สำนักงานประมงจังหวัด • ศูนย์วิจัยและพัฒนาประมง • สถานีประมง • หน่วยปฎิบัติการเกษตรเคลื่อนที่ (MU) • ภาคเอกชน • กลุ่ม ชมรม สมาคมและสหกรณ์ที่เกี่ยวข้อง องค์การสะพานปลา

  5. ประโยชน์ที่เกษตรกรและผู้ประกอบการจะได้รับประโยชน์ที่เกษตรกรและผู้ประกอบการจะได้รับ • ความช่วยเหลือทางวิชาการต่างๆ • ข้อมูลข่าวสารด้านการฝึกอบรม • สิทธิในการรับการฝึกอบรม • สิทธิพิเศษในการลดขั้นตอนการตรวจวิเคราะห์ • การรับรองมาตรฐานการผลิตและการส่งออก • การสนับสนุนอื่นๆที่ภาครัฐอาจสามารถให้ได้ในอนาคต

  6. ผลเสียหากผู้ประกอบการไม่ร่วมขึ้นทะเบียนผลเสียหากผู้ประกอบการไม่ร่วมขึ้นทะเบียน • 1 พ.ย. 2546ผู้ประกอบการแพและโรงงานแปรรูปจะเลือกซื้อผลผลิตและวัตถุดิบเฉพาะผู้ประกอบการที่ได้ขึ้นทะเบียนแล้วเท่านั้น • 1 ม.ค. 2547 ผู้ประกอบการแพและโรงงานแปรรูปจะเลือกซื้อผลผลิตและวัตถุดิบเฉพาะผู้ประกอบการที่ผ่านมาตรฐานขั้นต้นแล้วเท่านั้น • 1 ม.ค. 2548 ผู้ประกอบการแพและโรงงานแปรรูปจะเลือกซื้อผลผลิตและวัตถุดิบเฉพาะผู้ประกอบการที่ผ่านมาตรฐาน GAP เท่านั้น

  7. ระดับมาตรฐานสถานประกอบการระดับมาตรฐานสถานประกอบการ • ระดับที่ 1 ผ่านการขึ้นทะเบียนแล้ว • ระดับที่ 2 ผ่านมาตรฐานความปลอดภัยขั้นต่ำ • ระดับที่ 3 ผ่านมาตรฐานความปลอดภัยขั้น GAP; GMP • ระดับที่ 4 ผ่านมาตรฐานความปลอดภัยขั้น CoC; HACCP

  8. แบบสอบถามและโครงสร้างแบบสอบถามแบบสอบถามและโครงสร้างแบบสอบถาม ประกอบด้วย 2 ชุด • กปม ทบ1 - ผู้ประกอบการเกี่ยวกับโรงเพาะ และฟาร์มเลี้ยง • กปม ทบ2 - ผู้ประกอบการในด้านอื่นๆ เช่น โรงงานแปรรูป โรงงานผลิตอาหาร ห้องเย็น แพและผู้รวบรวม ฯลฯ

  9. ขั้นตอนการขึ้นทะเบียนขั้นตอนการขึ้นทะเบียน 1.การเตรียมการขึ้นทะเบียน แบบฟอร์ม เอกสารประกอบต่างๆ 2.ขึ้นทะเบียน หน่วยงานที่รับขึ้นทะเบียนทั้งราชการและเอกชน รายงานสรุป บัตรขึ้นทะเบียนผู้ประกอบการ แบบฟอร์ม ส่วนเศรษฐกิจ (สทป.) ผู้ประกอบการ 3. รายงานผล ศูนย์สารสนเทศ กรมประมง บริหาร จัดการ

  10. การสืบค้นย้อนกลับ(Trace ability) ผู้บริโภค Table ผลิตภัณฑ์ประมง ห้องเย็น โรงงานผลิตอาหารสัตว์น้ำ แพ ผู้รวบรวมวัตถุดิบ ฟาร์มเลี้ยง ผู้ค้าปัจจัยการผลิต ผู้ผลิต โรงเพาะฟัก Farm

  11. ท่านต้องดำเนินการอะไรบ้าง?ท่านต้องดำเนินการอะไรบ้าง? • ทำความเข้าใจแบบฟอร์ม (กปม/ทบ 1และกปม/ทบ 2) • ประชุมชี้แจงหน่วยงานต่างๆภายในจังหวัด (ศูนย์ สถานี MU) • ประสานชมรม สมาคม สหกรณ์ องค์กรณ์ที่เกี่ยวข้อง (ผู้เพาะเลี้ยง) • ประชาสัมพันธ์โดยใช้ทุกช่องทาง (ประชาสัมพันธ์จังหวัด) • ติดตาม ประเมินผลความก้าวหน้า(รายงาน) • ดำเนินการให้แล้วเส็จตามที่กำหนด (กุ้ง: สิ้นกันยา; ปลาสิ้นธันวา)

  12. กรมประมงดำเนินการอะไรบ้างแล้ว?กรมประมงดำเนินการอะไรบ้างแล้ว? • ประชุมกับตัวแทนเอกชน จัดทำแบบฟอร์ม • จัดประชุมชี้แจงประมงจังหวัด ผู้อำนวยการศูนย์ หัวหน้าสถานี • จัดทำประชาสัมพันธ์ สปอร์ท คัดเอ้าท์ แผ่นผ้า ให้สัมภาษณ์ • โรงงานผลิตอาหารสัตว์น้ำจัดใส่แผ่นพับลงในถุงอาหาร (2หมื่น + 4 แสน) • จัดทำเอกสารขึ้นเวปไซด์ (WWW.fisheries.go.th) จะดำเนินการอะไรต่อไป? • ศูนย์สารสนเทศจะได้นำลงคอมพิวเตอร์ • ส่วนเศรษฐกิจ (สทป.) จะสรุปประเมินและแจ้งกรม

  13. หากมีข้อสงสัย สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมที่ • ศูนย์ความปลอดภัยด้านอาหารประมง ตึกปรีดา กรรณสูต ชั้น1 โทร. 02-579-3079; 02-579-5803; โทรสาร 02-579-0940 • นายทวี วิพุทธานุมาศ 02-940-5622 • นายวิเชียร วรสายัณห์ 02-579-4496 • นายสมโภชน์ กริบกระโทก 02-940-6556 • นางธนิฏฐา จงพีร์เพียร 02-561-4683 • นางสาวรุ่งนภา ว่องไวไพโรจน์ 02-558-0142

More Related