1 / 40

กรมบัญชีกลางกับการเปิดเสรี ทางการค้าระหว่างประเทศ

กรมบัญชีกลางกับการเปิดเสรี ทางการค้าระหว่างประเทศ. กลุ่มนโยบายจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐระหว่างประเทศ สิงหาคม 2550. ความเป็นมา. ปัจจุบันกระแสโลกาภิวัตน์มีแนวโน้มชัดเจนในการยอมรับความร่วมมือ ระหว่างประเทศในลักษณะที่เป็นพันธกรณีระหว่างประเทศด้าน

tarmon
Download Presentation

กรมบัญชีกลางกับการเปิดเสรี ทางการค้าระหว่างประเทศ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. กรมบัญชีกลางกับการเปิดเสรีทางการค้าระหว่างประเทศกรมบัญชีกลางกับการเปิดเสรีทางการค้าระหว่างประเทศ กลุ่มนโยบายจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐระหว่างประเทศ สิงหาคม 2550

  2. ความเป็นมา • ปัจจุบันกระแสโลกาภิวัตน์มีแนวโน้มชัดเจนในการยอมรับความร่วมมือ ระหว่างประเทศในลักษณะที่เป็นพันธกรณีระหว่างประเทศด้าน การจัดซื้อโดยรัฐทั้งในระดับพหุภาคี (Multilateral Agreement)และระดับ • ทวิภาคี (Bilateral Agreement) • ทิศทางความร่วมมือระหว่างประเทศมีแนวโน้มที่ชัดเจนในการกดดัน ให้ประเทศไทยยอมรับในลักษณะที่เป็นพันธกรณีระหว่างประเทศ ด้านการจัดซื้อโดยรัฐ กลุ่มนโยบายจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐระหว่างประเทศ สิงหาคม 2550

  3. ความเป็นมา (ต่อ) • วัตถุประสงค์ที่สอดคล้องกันภายใต้กรอบความร่วมมือ และกรอบความตกลงการค้าระหว่างประเทศด้านการจัดซื้อโดยรัฐ คือ การกำหนดมาตรฐานของกระบวนการจัดซื้อจัดจ้างของหน่วยงานภาครัฐเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ โปร่งใส และสามารถตรวจสอบ ได้ภายใต้การแข่งขันอย่างเปิดกว้าง • ในปัจจุบันประเทศไทยได้มีการจัดทำความตกลงเขตการค้าเสรีกับประเทศต่างๆ ที่มีสาระสำคัญเกี่ยวกับการจัดซื้อโดยรัฐได้แก่ ออสเตรเลียนิวซีแลนด์ และญี่ปุ่น กลุ่มนโยบายจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐระหว่างประเทศ สิงหาคม 2550

  4. มูลค่าการจัดซื้อภาครัฐของประเทศไทยมูลค่าการจัดซื้อภาครัฐของประเทศไทย (หน่วย: ล้านบาท) กลุ่มนโยบายจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐระหว่างประเทศ สิงหาคม 2550

  5. มูลค่าการจัดซื้อภาครัฐของประเทศไทยมูลค่าการจัดซื้อภาครัฐของประเทศไทย (หน่วย: ล้านบาท) กลุ่มนโยบายจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐระหว่างประเทศ สิงหาคม 2550

  6. ข้อตกลงเขตการค้าเสรีระหว่างประเทศ ด้านการจัดซื้อโดยรัฐ (Government Procurement) กลุ่มนโยบายจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐระหว่างประเทศ สิงหาคม 2550

  7. กรอบความร่วมมือและพันธกรณีการจัดซื้อโดยรัฐระหว่างประเทศระดับพหุภาคีกรอบความร่วมมือและพันธกรณีการจัดซื้อโดยรัฐระหว่างประเทศระดับพหุภาคี • องค์การการค้าโลก (World Trade Organization: WTO) • คณะกรรมาธิการกฎหมายการค้าระหว่างประเทศแห่งสหประชาชาติ (UNCITRAL) • ความร่วมมือทางเศรษฐกิจเอเชีย-แปซิฟิก (Asia-Pacific Economic Cooperation: APEC) กลุ่มนโยบายจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐระหว่างประเทศ สิงหาคม 2550

  8. องค์การการค้าโลก (World Trade Organization: WTO) • ความตกลงหลายฝ่าย (Plurilateral Agreement) ว่าด้วยการ จัดซื้อโดยรัฐ (Agreement on Government Procurement: GPA) • ประเทศที่เข้าร่วมเป็นสมาชิกความตกลงฯ GPAแล้ว จำนวน 37 ประเทศ ได้แก่ แคนาดาสิงคโปร์สหรัฐฯ อังกฤษญี่ปุ่นเกาหลีใต้และสหภาพยุโรป25ประเทศ กลุ่มนโยบายจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐระหว่างประเทศ สิงหาคม 2550

  9. องค์การการค้าโลก (World Trade Organization: WTO) (ต่อ) • เพิ่มการเปิดเสรีทางการค้าในการจัดซื้อจัดจ้างของภาครัฐ ให้มากขึ้น • ขอบเขตของความตกลง (Scope of Coverage) ครอบคลุมถึง หน่วยงานของรัฐบาลกลาง หน่วยงานท้องถิ่น รัฐวิสาหกิจ และ องค์การมหาชน • การกำหนดกรอบกระบวนการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐให้เป็น มาตรฐานเดียวกัน กลุ่มนโยบายจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐระหว่างประเทศ สิงหาคม 2550

  10. องค์การการค้าโลก (World Trade Organization: WTO) (ต่อ) • ใช้หลักประติบัติเยี่ยงคนชาติ (National Treatment)และไม่เลือกปฏิบัติ • (Non - Discrimination) • ความตกลงฯ GPA มีบทบัญญัติว่าด้วยการประติบัติที่พิเศษและ แตกต่าง (Special and Differential Treatment) สำหรับประเทศกำลัง พัฒนาและประเทศพัฒนาน้อยที่สุด กลุ่มนโยบายจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐระหว่างประเทศ สิงหาคม 2550

  11. คณะกรรมาธิการกฎหมายการค้าระหว่างประเทศแห่งสหประชาชาติ (United Nations Commission on International Trade Law: UNCITRAL) • คณะกรรมาธิการฯ ได้จัดตั้งคณะทำงานที่หนึ่งว่าด้วยการจัดซื้อ จัดจ้าง (Working Group 1: Procurement) ซึ่งประกอบด้วยประเทศ สมาชิกองค์การสหประชาชาติ • ร่วมร่างกฎหมายต้นแบบว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างสินค้า การก่อสร้างและบริการ (Model Law on Procurement of Goods Construction and Services) กลุ่มนโยบายจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐระหว่างประเทศ สิงหาคม 2550

  12. คณะกรรมาธิการกฎหมายการค้าระหว่างประเทศแห่งสหประชาชาติ (United Nations Commission on International Trade Law: UNCITRAL) (ต่อ) • วัตถุประสงค์ • เพื่อให้กระบวนการจัดซื้อจัดจ้างของรัฐ มีการแข่งขันอย่าง เปิดกว้าง เป็นธรรม และโปร่งใส • เพื่อเป็นการป้องกันการทุจริต • เพื่อก่อให้เกิดประสิทธิภาพและประสิทธิผลในกระบวนการจัดซื้อ จัดจ้างให้กับประเทศกำลังพัฒนาและประเทศพัฒนาน้อยที่สุด กลุ่มนโยบายจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐระหว่างประเทศ สิงหาคม 2550

  13. คณะกรรมาธิการกฎหมายการค้าระหว่างประเทศแห่งสหประชาชาติ (United Nations Commission on International Trade Law: UNCITRAL) • การจัดซื้อจัดจ้าง แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ • การจัดซื้อสินค้าและการจ้างเหมาก่อสร้าง (Procurement of Good and Construction) • การจัดหาบริการ (Procurement of Service) กลุ่มนโยบายจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐระหว่างประเทศ สิงหาคม 2550

  14. ความร่วมมือทางเศรษฐกิจเอเชีย - แปซิฟิก (Asia – Pacific Economic Cooperation: APEC) • กลุ่มความร่วมมือของผู้เชี่ยวชาญทางด้านการจัดซื้อจัดจ้าง ภาครัฐ (Government Procurement Experts’ Group: GPEG) จัดตั้งขึ้นเมื่อการประชุมผู้นำเศรษฐกิจเอเปค ครั้งที่ 3 ที่นครโอซากา ประเทศญี่ปุ่น พ.ศ. 2538 กลุ่มนโยบายจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐระหว่างประเทศ สิงหาคม 2550

  15. ความร่วมมือทางเศรษฐกิจเอเชีย - แปซิฟิก (Asia – Pacific Economic Cooperation: APEC) • ประกอบด้วยสมาชิกเอเปค 21 เขตเศรษฐกิจ คือ สหรัฐฯ แคนาดา ญี่ปุ่น เกาหลีใต้ สิงคโปร์ อินโดนีเซีย มาเลเซีย บรูไน ฟิลิปปินส์ ไทย ชิลี เปรูออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ จีน จีนไทเป ฮ่องกง ปาปัวนิวกินี เม็กซิโก เวียดนาม และรัสเซีย กลุ่มนโยบายจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐระหว่างประเทศ สิงหาคม 2550

  16. ความร่วมมือทางเศรษฐกิจเอเชีย – แปซิฟิก (Asia – Pacific Economic Cooperation: APEC) (ต่อ) • หลักการ Non-binding Principle (NBPs) on Government Procurement • ความคุ้มค่าของเงิน (Value of Money) • การแข่งขันอย่างเปิดกว้างและมีประสิทธิผล (Open and Effective Competition) • ความโปร่งใส (Transparency) • การปฏิบัติอย่างเป็นธรรม (Fair Dealing) • ความรับผิดชอบและกระบวนการที่เป็นธรรม (Accountability and Due Process) • การไม่เลือกปฏิบัติ (Non-Discrimination) กลุ่มนโยบายจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐระหว่างประเทศ สิงหาคม 2550

  17. ความร่วมมือทางเศรษฐกิจเอเชีย - แปซิฟิก (Asia – Pacific Economic Cooperation: APEC) (ต่อ) • มาตรฐานด้านความโปร่งใส(APEC Transparency Standard) • General Transparency Standards • Area-Specific Transparency Standards (Government Procurement) • APEC Model Measure for RTAs/FTAs เรื่อง การจัดซื้อโดยรัฐ • แม่แบบในการจัดทำความตกลงทางการค้าและการค้าเสรีกับ ประเทศต่างๆ ของสมาชิกเขตเศรษฐกิจเอเปค กลุ่มนโยบายจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐระหว่างประเทศ สิงหาคม 2550

  18. สรุปกรอบความร่วมมือและพันธกรณีด้านการจัดซื้อโดยรัฐระหว่างประเทศในระดับพหุภาคีสรุปกรอบความร่วมมือและพันธกรณีด้านการจัดซื้อโดยรัฐระหว่างประเทศในระดับพหุภาคี • WTO (GPA) และ APEC เน้นให้มีการเปิดเสรีตลาดจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ ทำให้เกิดการแข่งขันอย่างเปิดกว้าง • UNCITRAL เน้นการร่างกฎหมายต้นแบบเพื่อช่วยเหลือประเทศต่างๆ ในการพัฒนากฎหมายให้มีรูปแบบมาตรฐานและหลักการเดียวกัน • แต่ทั้ง 3 กรอบมีแนวทางที่เหมือนกันโดยมุ่งเน้นทำให้เกิดการแข่งขัน อย่างเปิดกว้าง โปร่งใส เป็นธรรม และมีประสิทธิภาพในกระบวนการ จัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ กลุ่มนโยบายจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐระหว่างประเทศ สิงหาคม 2550

  19. กรอบความร่วมมือและพันธกรณีการจัดซื้อโดยรัฐระหว่างประเทศระดับทวิภาคีกรอบความร่วมมือและพันธกรณีการจัดซื้อโดยรัฐระหว่างประเทศระดับทวิภาคี • ความตกลงฯ ระดับทวิภาคีที่ลงนามแล้ว • ความตกลงเขตการค้าเสรีไทย-ออสเตรเลีย (TAFTA) • ความตกลงหุ้นส่วนทางเศรษฐกิจที่ใกล้ชิดกันยิ่งขึ้น ไทย-นิวซีแลนด์ (TNZCEP) • ความตกลงหุ้นส่วนเศรษฐกิจไทย-ญี่ปุ่น (JTEPA) กลุ่มนโยบายจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐระหว่างประเทศ สิงหาคม 2550

  20. กรอบความร่วมมือและพันธกรณีการจัดซื้อโดยรัฐระหว่างประเทศระดับทวิภาคีกรอบความร่วมมือและพันธกรณีการจัดซื้อโดยรัฐระหว่างประเทศระดับทวิภาคี • ความตกลงฯ ระดับทวิภาคีที่อยู่ระหว่างการเจรจาฯ • ความตกลงเขตกาค้าเสรีไทย-สหรัฐฯ (TUSFTA) • ความตกลงเขตการค้าเสรีไทย-สมาคมการค้าเสรีแห่งยุโรป (TEFTA) กลุ่มนโยบายจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐระหว่างประเทศ สิงหาคม 2550

  21. เปรียบเทียบงบประมาณการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐเปรียบเทียบงบประมาณการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ มูลค่า ล้านล้านบาท 16.87 US 0.5 Japan 0.3 AUS 0.2 0.2 Thai NZ 0.1 EFTA ประเทศ ที่มา: APEC Government Procurement / WTO/(2006) กลุ่มนโยบายจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐระหว่างประเทศ สิงหาคม 2550

  22. สาระสำคัญของความตกลงฯ ที่ลงนามแล้ว • จัดตั้งคณะทำงาน • แลกเปลี่ยนข้อมูล เรื่อง การจัดซื้อโดยรัฐ • ขยายความร่วมมือระหว่างกัน กลุ่มนโยบายจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐระหว่างประเทศ สิงหาคม 2550

  23. ขอบเขตการเปิดเสรีการจัดซื้อโดยรัฐขอบเขตการเปิดเสรีการจัดซื้อโดยรัฐ • ความครอบคลุมของสินค้าและบริการที่ประเทศไทย จะยอมเปิดเสรี • ความครอบคลุมของหน่วยงานจัดซื้อจัดจ้าง • มูลค่าขั้นต่ำ (Threshold) ของการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ • ความโปร่งใสในการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ • กระบวนการและวิธีการประมูล • คำจำกัดความที่เกี่ยวข้องในความตกลงฯ กลุ่มนโยบายจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐระหว่างประเทศ สิงหาคม 2550

  24. ผลกระทบตามกรอบความร่วมมือและพันธกรณีฯ ต่อผู้ประกอบการไทย • ข้อดี • ขยายตลาดการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ • ส่งเสริมและพัฒนาอุตสาหกรรมให้มีศักยภาพในการแข่งขัน • การสร้างเครือข่ายและพันธมิตรทางการค้าระหว่างประเทศ • การถ่ายทอดเทคโนโลยี กลุ่มนโยบายจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐระหว่างประเทศ สิงหาคม 2550

  25. ผลกระทบตามกรอบความร่วมมือและพันธกรณีฯ ต่อผู้ประกอบการไทย • ข้อเสีย • เปิดโอกาสให้ผู้ประกอบการต่างประเทศเข้ามาแข่งขันกับ ผู้ประกอบการไทยในตลาดการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ • ส่งผลกระทบต่อผู้ประกอบการที่ไม่สามารถปรับตัวหรือ ไม่มีศักยภาพเพียงพอ • รัฐบาลขาดความคล่องตัวในการกำหนดนโยบายสนับสนุน อุตสาหกรรมบางประเภท กลุ่มนโยบายจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐระหว่างประเทศ สิงหาคม 2550

  26. ผลกระทบตามกรอบความร่วมมือและพันธกรณีฯ ต่อหน่วยงานราชการ • ข้อดี • ขยายช่องทางในการเลือกซื้อสินค้าและบริการ • เพิ่มอำนาจในการเจรจาต่อรองเลือกซื้อสินค้าและบริการ • พัฒนาปรับปรุงระเบียบ กฎหมาย และระบบต่างๆ เกี่ยวกับ การจัดซื้อจัดจ้างให้เป็นมาตรฐานสากล • พัฒนาทรัพยากรบุคคล กลุ่มนโยบายจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐระหว่างประเทศ สิงหาคม 2550

  27. ผลกระทบตามกรอบความร่วมมือและพันธกรณีฯ ต่อหน่วยงานราชการ • ข้อเสีย • การเตรียมความพร้อมตามพันธกรณีก่อให้เกิดต้นทุนในการ ดำเนินการ เช่น การปรับปรุงกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้อง การพัฒนาระบบการจัดซื้อจัดจ้าง และการพัฒนาทรัพยากร บุคคล เป็นต้น กลุ่มนโยบายจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐระหว่างประเทศ สิงหาคม 2550

  28. กระบวนการปฏิบัติงาน FTA คณะเจรจาจัดทำ ความตกลงระหว่างประเทศ ก.พาณิชย์ ก.ต่างประเทศ ภาคเอกชนในประเทศ หน่วยงานภาครัฐ ที่เกี่ยวข้อง ก.พาณิชย์ ก.ต่างประเทศ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง กลุ่มนโยบายจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐระหว่างประเทศ สิงหาคม 2550

  29. โครงสร้างการปฏิบัติงานโครงสร้างการปฏิบัติงาน คณะรัฐมนตรี คณะกรรมการนโยบาย เศรษฐกิจระหว่างประเทศ คณะเจรจาจัดทำ FTA (รายประเทศ) คณะกรรมการกำหนดนโยบายในการเจรจาการค้า ระหว่างประเทศ เรื่อง การจัดซื้อโดยรัฐ ภาคเอกชน กรมบัญชีกลาง หน่วยงานต่างๆ คณะทำงานตามความตกลงฯ ต่างๆ ส่วนงานต่างๆ ภายในกรมฯ กลุ่มนโยบายจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ ระหว่างประเทศ กลุ่มนโยบายจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐระหว่างประเทศ สิงหาคม 2550

  30. ขอบเขตของ “การจัดซื้อโดยรัฐ” คู่ภาคี • - โครงสร้างการบริหารจัดการภาครัฐ • - กฎระเบียบเกี่ยวกับการค้าต่างตอบแทน • - กฎระเบียบเกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ • กฎระเบียบเกี่ยวกับการลงทุน/สัมปทานของรัฐ • กฎระเบียบด้านการร้องเรียน/อุทธรณ์/แก้ไข ข้อพิพาท FTA โครงสร้างการบริหารจัดการภาครัฐ ระเบียบสำนักนายกฯ ว่าการค้าต่างตอบแทนระเบียบพัสดุ ฯ (ส่วนราชการ) ระเบียบพัสดุฯ (องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น) กฎระเบียบเกี่ยวกับการลงทุนของรัฐวิสาหกิจ พ.ร.บ.ร่วมลงทุนฯ กลุ่มนโยบายจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐระหว่างประเทศ สิงหาคม 2550

  31. ภาระหน้าที่ของกรมบัญชีกลางภาระหน้าที่ของกรมบัญชีกลาง • นำเสนอกลยุทธ์ และกำหนดท่าทีในการเจรจาจัดทำ ความร่วมมือ และ ความตกลงการค้าระหว่างประเทศ ในส่วนที่เกี่ยวข้อง • กำกับ ดูแลการปฏิบัติงานตามพันธกรณีภายใต้หัวข้อ • “การจัดซื้อโดยรัฐ”(Government Procurement) กลุ่มนโยบายจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐระหว่างประเทศ สิงหาคม 2550

  32. กระบวนการปฏิบัติงานภายในกระบวนการปฏิบัติงานภายใน • สำนักพัฒนามาตรฐานระบบพัสดุภาครัฐ • แก้ไขกฎระเบียบ • กำหนดหลักเกณฑ์/วิธีปฏิบัติ • ศูนย์สารสนเทศ • ข้อมูลเชิงสถิติ • ปรับปรุงเว็บไซต์ งานด้านนโยบาย การจัดซื้อโดยรัฐ คลังเขต/คลังจังหวัด - ประสานงานเอกชน - ศูนย์ข้อมูลในพื้นที่ สำนักการเงินการคลัง - ข้อมูลเบิกจ่าย กลุ่มนโยบายจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐระหว่างประเทศ สิงหาคม 2550

  33. วัตถุประสงค์ • เพื่อให้สามารถดำเนินการตามพันธกรณีระหว่างประเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ • เพื่อพัฒนาการจัดซื้อโดยรัฐของประเทศไทย ให้มีความเป็นมาตรฐานสากล และสอดคล้องกับพันธกรณีระหว่างประเทศ • เพื่อเป็นกลไกหนึ่งในการสนับสนุนการเสริมสร้างขีดความสามารถการแข่งขันของธุรกิจภายในประเทศ พร้อมทั้งป้องกันการครองตลาดโดยผู้ประกอบการต่างประเทศ กลุ่มนโยบายจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐระหว่างประเทศ สิงหาคม 2550

  34. วัตถุประสงค์ (ต่อ) • เพื่อเป็นแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนากฎระเบียบด้านการจัดซื้อโดยรัฐภายในประเทศ • เพื่อเป็นศูนย์กลางการเผยแพร่ข้อมูลให้แก่ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง กลุ่มนโยบายจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐระหว่างประเทศ สิงหาคม 2550

  35. แนวทางการดำเนินงาน • การเข้าร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในฐานะผู้เชี่ยวชาญ เป็นคณะผู้แทนไทย เข้าร่วมในการประชุมหรือเจรจาด้าน การจัดซื้อโดยรัฐระหว่างประเทศ • ส่งเสริมองค์ความรู้ทางด้านการจัดซื้อโดยรัฐให้แก่หน่วยงาน ที่เกี่ยวข้องสำหรับพัฒนาระบบจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐให้ เอื้ออำนวยต่อผู้ประกอบการภายในประเทศ ขณะเดียวกันก็สามารถป้องกันการครอบครองตลาดภาครัฐจากประเทศคู่ค้า โดยไม่ขัดต่อข้อตกลงทางการค้าหรือกฎหมายระหว่างประเทศ กลุ่มนโยบายจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐระหว่างประเทศ สิงหาคม 2550

  36. ขอบเขตการดำเนินงาน • วิเคราะห์ รวบรวม และศึกษารายละเอียดเกี่ยวกับความตกลง ทางการค้าระหว่างประเทศที่เกี่ยวข้องกับการจัดซื้อโดยรัฐ • วิเคราะห์ รวบรวม และศึกษารูปแบบ ข้อดี-ข้อเสีย ตลอดจน วิธีการเจรจาจัดทำความตกลงทางการค้าระหว่างประเทศ เรื่อง การจัดซื้อโดยรัฐ • วิเคราะห์ รวบรวม และศึกษาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ ในภาพรวมตั้งแต่โครงสร้าง การจัดทำและบริหารงบประมาณ การเบิกจ่ายเงินงบประมาณ การจัดซื้อจัดจ้าง การบริหารสัญญา การอุทธรณ์และร้องเรียน การป้องกันทุจริต การระงับข้อพิพาท และการลงโทษ กลุ่มนโยบายจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐระหว่างประเทศ สิงหาคม 2550

  37. ขอบเขตการดำเนินงาน (ต่อ) • ศึกษา และวิเคราะห์ พร้อมทั้ง นำเสนอกลยุทธ์ และท่าทีการเจรจา ความตกลงทางการค้าระหว่างประเทศ เรื่อง การจัดซื้อโดยรัฐ • สนับสนุนข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการจัดซื้อโดยรัฐของประเทศต่างๆ ประกอบการกำหนดกรอบแนวทางการพัฒนาการจัดซื้อโดยรัฐ ภายในประเทศ • เป็นศูนย์กลางการประสานงานและติดตามด้านการจัดซื้อโดยรัฐ ระหว่างประเทศ กลุ่มนโยบายจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐระหว่างประเทศ สิงหาคม 2550

  38. ประเทศชาติ ขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศสูงขึ้น ใช้จ่ายเงินงบประมาณแผ่นดินได้มีประสิทธิภาพมากขึ้น ภาครัฐ ระบบการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐมีความโปร่งใส กฎระเบียบด้านการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐมีมาตรฐานสากล ประโยชน์ของการกำหนดโครงสร้างของกลุ่มนโยบายฯ กลุ่มนโยบายจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐระหว่างประเทศ สิงหาคม 2550

  39. ภาคเอกชน เปิดช่องทางตลาดการค้าต่างประเทศ มีแนวทางพัฒนาธุรกิจที่ชัดเจน มีที่ปรึกษาในการเข้าสู่ตลาดภาครัฐของประเทศภาคีที่เป็นรูปธรรม สาธารณชนทั่วไป มีความรู้ความเข้าใจที่ดีในระบบจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐของประเทศ มีส่วนร่วมในการพัฒนากระบวนการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐของ ประเทศมากยิ่งขึ้น ประโยชน์ของการกำหนดโครงสร้างของกลุ่มนโยบายฯ (ต่อ) กลุ่มนโยบายจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐระหว่างประเทศ สิงหาคม 2550

  40. กลุ่มนโยบายจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐระหว่างประเทศกลุ่มนโยบายจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐระหว่างประเทศ โทรศัพท์ 02 618 4821 , 02 298 6376 โทรสาร 02 271 1473 E-mail :pppd@cgd.go.th

More Related