1 / 26

การจดสิทธิบัตรผลิตภัณฑ์และกระบวนการค้นคว้าที่ต่อยอดจากองค์ความรู้แผนไทย

การจดสิทธิบัตรผลิตภัณฑ์และกระบวนการค้นคว้าที่ต่อยอดจากองค์ความรู้แผนไทย. พร้อมจิต ศรลัมพ์. สิทธิบัตร (Patent).

tariq
Download Presentation

การจดสิทธิบัตรผลิตภัณฑ์และกระบวนการค้นคว้าที่ต่อยอดจากองค์ความรู้แผนไทย

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การจดสิทธิบัตรผลิตภัณฑ์และกระบวนการค้นคว้าที่ต่อยอดจากองค์ความรู้แผนไทยการจดสิทธิบัตรผลิตภัณฑ์และกระบวนการค้นคว้าที่ต่อยอดจากองค์ความรู้แผนไทย พร้อมจิต ศรลัมพ์

  2. สิทธิบัตร (Patent) สิทธิบัตร หมายถึง หนังสือสำคัญที่รัฐออกให้เพื่อคุ้มครองการประดิษฐ์ (Invention) การออกแบบผลิตภัณฑ์ (Product Design) หรือผลิตภัณฑ์อรรถประโยชน์ (Utility Model) ที่มีลักษณะตามที่กฎหมายกำหนด การประดิษฐ์ (Invention) หมายถึง ความคิดสร้างสรรค์เกี่ยวกับ ลักษณะองค์ประกอบ โครงสร้างหรือกลไกของผลิตภัณฑ์ รวมทั้งกรรมวิธีในการผลิตการรักษา หรือปรับปรุงคุณภาพของผลิตภัณฑ์ให้ดีขึ้น หรือทำให้เกิดผลิตภัณฑ์ขึ้นใหม่ ที่แตกต่างไปจากเดิม การออกแบบผลิตภัณฑ์ (Product Design) หมายถึง ความคิดสร้างสรรค์เกี่ยวกับรูปร่างลักษณะภายนอกของผลิตภัณฑ์ ที่แตกต่างไปจากเดิม

  3. อนุสิทธิบัตร (Petty Patent) อนุสิทธิบัตร คือ หนังสือสำคัญที่ออกให้เพื่อคุ้มครองการประดิษฐ์ • เป็นผลิตภัณฑ์อรรถประโยชน์ จะมีลักษณะคล้ายกันกับการประดิษฐ์ แต่เป็นความคิดสร้างสรรค์ที่มีระดับการพัฒนาเทคโนโลยีไม่สูงมากนัก หรือเป็นการประดิษฐ์คิดค้นเพียงเล็กน้อย

  4. การจดสิทธิบัตรผลิตภัณฑ์และกระบวนการค้นคว้าที่ต่อยอดจากองค์ความรู้แผนไทยการจดสิทธิบัตรผลิตภัณฑ์และกระบวนการค้นคว้าที่ต่อยอดจากองค์ความรู้แผนไทย • การแพทย์แผนไทยมีหลักการส่วนหนึ่งจากการแพทย์อายุรเวทของอินเดีย ผสมผสานกับวัฒนธรรม และ ความเชื่อของคนไทย รวมทั้งอิทธิพลการแพทย์จากประเทศเพื่อนบ้านอื่น ๆ เช่น ประเทศจีน เป็นต้น • พรรณพืชที่มีความหลากหลายสูงในประเทศไทย • ในอดีตกว่า 200 ปี ที่ผ่านมา การแพทย์แผนไทยขาดการใช้ประโยชน์อย่างต่อเนื่องด้วยเหตุผลทางการเมืองระหว่างประเทศ ทำให้พัฒนาการการวิจัยของประเทศไทยล้าหลังกว่าสองประเทศที่กล่าวถึงข้างต้นมาก • ในการวิเคราะห์ศักยภาพของการจดสิทธิบัตรผลิตภัณฑ์และกระบวนการค้นคว้าที่ต่อยอดจากองค์ความรู้แผนไทย จึงขอใช้กรณีศึกษาจากการจดสิทธิบัตรที่ต่อยอดจากองค์ความรู้การแพทย์อายุรเวท เพื่อให้เห็นแนวทางที่จะพัฒนาการจดสิทธิบัตรของประเทศไทยต่อไป

  5. การจดสิทธิบัตรผลิตภัณฑ์ที่เป็นตำรับในต่างประเทศ (Multi-component drugs) • การจดสิทธิบัตรองค์ความรู้ใหม่โดยอิงและต่อยอดจากการแพทย์อายุรเวทของอินเดีย และจีน • ผู้ทรงสิทธิ์ (Assignee) คือแหล่งทุนวิจัย • ผู้ประดิษฐ์ (Inventor) คือนักวิจัย • ส่วนใหญ่ผู้ทรงสิทธิ์ (Assignee) เป็นบริษัทใหญ่ในอเมริกาและยุโรป • ผู้ประดิษฐ์ (Inventor) มีทั้งชาวตะวันตก และชาวตะวันออก ซึ่งมีทั้งเจ้าของภูมิปัญญาคือชาวอินเดีย และ นักวิจัยจากจีนและญี่ปุ่น • ขณะนี้เริ่มมีผู้ทรงสิทธิ์และผู้ประดิษฐ์ชาวอินเดีย และจีน

  6. ตัวอย่างสิทธิบัตร USPatentเลขที่ 6,455,077 • ชื่อเรื่องHerbal composition and method of manufacturing such composition for the management of gynecological disorders • วันที่ 28 มีนาคม 2001 • ผู้ทรงสิทธิ์เป็นสถาบันวิจัยในประเทศอินเดียชื่อDabur Research Foundation • ผู้ประดิษฐ์ คือ Katiyar; Chandra Kant (Delhi, India); Duggal; Ramesh Kumar (Delhi, India) และ Rao; Bodapati Venkata Jagannadha (Delhi, India) • ข้อถือสิทธิ์ (claims) คือ วิธีการผลิตระดับอุตสาหกรรมของผลิตภัณฑ์ที่เป็น multi-component drug เพื่อใช้รักษาโรคของสตรี และป้องกัน หรือรักษาอาการโลหิตจางจากการตกเลือดและประจำเดือนไม่ปกติ

  7. สูตรสมุนไพรแบ่งเป็น 3 ส่วน • ส่วนแรก เป็นส่วนประกอบสมุนไพรที่ระบุในหลักการของการแพทย์อายุรเวทว่าใช้ปรับสมดุลธาตุในร่างกาย • สมอไทย สมอภิเพก มะขามป้อม (ตรีผลา) ขิง ดีปลี แห้วหมู ยี่หร่า บัวหลวง เสนียด โสก รัตจันทน์ และ Berberis aristata • ระบุวิธีทำสารสกัดแห้งว่า ใช้ตัวทำละลายที่มีขั้วสูง(high polar solvent) และทำสารสกัดให้แห้งเป็นผง • ส่วนที่สอง เป็นการแยกสกัดสมุนไพรอีก 3 ชนิด • เหมือดหอม มะม่วง และ Woodfordia fruticosa • ระบุวิธีทำสารสกัดว่าใช้ตัวทำละลายที่เป็นส่วนผสมของแอลกอฮอล์และน้ำ ในสัดส่วนตั้งแต่ 1:9 จนถึง 9:1 • ส่วนที่สาม เป็นวิธีสกัด Plant coagulateซึ่งเป็นโปรตีนจากส่วนใบของผัก 4 ชนิด Spinachหรือป๋วยเล้ง , Amaranthหรือผักขม Berseem และ Cowpeaในสัดส่วนต่าง ๆ ชนิดใดชนิดหนึ่ง หรือหลายชนิดด้วยวิธีที่เหมาะสม และวิธีการแยกโปรตีนใช้ความร้อนที่อุณหภูมิ 40-100 องศาเซลเซียส นำสารสกัดทั้งสามส่วน มาผสมกันจนได้ Herbal compositionที่ต้องการ • มีการพิสูจน์ฤทธิ์ uterotonic ในหนูทดลอง 2 วิธี เน้นการพัฒนารูปแบบที่จะใช้ (routes of administration) ให้เหมาะสมและมีประสิทธิผลดีที่สุด • ทดลองเบื้องต้นในผู้ป่วยที่มีอาการที่ระบุ จำนวน 10 คน

  8. สิทธิบัตร US Patent เลขที่ 6,649,185 • ชื่อเรื่อง Herbal formulation • วันที่ 18 พฤศจิกายน 2003 • ผู้ทรงสิทธิ์เป็นบริษัทในประเทศอินเดียชื่อ Sahajanand Biotech Private Limited • ผู้ประดิษฐ์ คือ Solanki และ Ranjitsinh จากจังหวัด Gujarat ประเทศอินเดีย • ประกอบด้วยสมุนไพร 7 ชนิด ได้แก่บอระเพ็ด ว่านหางจระเข้ ขมิ้นชัน หญ้าพันงู กระเพรา โกฐก้านพร้าว และ Withania somnifera • ระบุและการใช้การวิจัยเพื่อให้ได้ประเด็นในการจดสิทธิบัตรทำนองเดียวกันกับสิทธิบัตรแรก ต่างกันตรงที่ผู้ทรงสิทธิ์เป็นบริษัทเอกชน

  9. การจดสิทธิบัตรสมุนไพรเดี่ยวในต่างประเทศ (Single-component drug): กรณีสิทธิบัตรผลยอ

  10. ยอ (Morinda) จำนวนสิทธิบัตร จำนวนสิทธิบัตรที่จดในสหรัฐอเมริกา จำนวนสิทธิบัตร ปีที่จด จำนวน / หัวข้อของ สิทธิบัตรที่ศึกษา ปีที่จด ที่มา: www.uspto.gov; www.epo.org; www.jpo.go.jp

  11. ยอ (Morinda) • การวิเคราะห์พัฒนาการของ • การจดสิทธิบัตรสมุนไพร Morinda • ผลิตภัณฑ์อาหารเสริมสุขภาพ (health food) • - Antioxidant • - Free Radical Scavenger • - Antiaging • - Improve Digestive System • - Support Immune System • ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร (food supplement, nutrient supplement) • ผลิตภัณฑ์เครื่องสำอาง • Control Procedure • Fresh Raw Material • Post-Harvest • Extracting Procedure • - เนื้อยอเปียก (wet pulp) • ประกอบด้วยเส้นใย 10-40% • - เนื้อยอแห้งมีความชื้นอยู่ในช่วง • 5-10% โดยน้ำหนัก และมีปริมาณ • เส้นใย 0.1-30%

  12. ยอ (Morinda) • สิทธิบัตรและผลิตภัณฑ์ของบริษัท Morinda Inc • US 6,254,913 – จดสิทธิบัตรขบวนการสกัด • การล้างและแยกจากน้ำยอ • การเตรียมน้ำยอ (morinda juice) • เนื้อยอที่ได้ไปผ่านการ pasteurize นำไปทำให้แห้ง การทำให้เส้นใยอาหารบริสุทธิ์ • ปรุงแต่งสูตรเป็นผลิตภัณฑ์ที่มีเส้นใยสูง • ผสมที่มีเส้นใยเสริมอาหารอื่นๆ, น้ำ, สารให้ความหวาน, สารแต่งรส, สารแต่งสี, และส่วนประกอบของอาหาร TAHITIAN NONI® Hoa™ Complete Tahiti Trim™ Complete Shakes TAHITIAN NONI® Fiber Complex Tahiti Trim™ Complete Protein Drink

  13. ยอ (Morinda) • สิทธิบัตรและผลิตภัณฑ์ของบริษัท Morinda Inc • US 6,214,351 และ US 6,417,157 – จดสิทธิบัตรน้ำมันที่มีกลิ่นเฉพาะที่ได้จากเมล็ดยอ Morinda citrifolia oil • ขบวนการในการสกัดและทำให้น้ำมันบริสุทธิ์ ฟอกสี แห้งขึ้น • กำจัดกรดไขมันอิสระและสารประกอบที่ไม่พึงประสงค์ • เติม antioxidant เพื่อเพิ่มความคงตัวสำหรับการนำไปใช้หรือการเก็บรักษา TAHITIAN NONI® Facial Care System (Dry) TAHITIAN NONI® Facial Care System (Normal to Combination) TAHITIAN NONI® Bath & Shower Gel TAHITIAN NONI® Essential Oil TAHITIAN NONI® Hair Science TAHITIAN NONI® Skin Supplement SPF 15

  14. กระเทียม (Garlic) • ประเด็นในการจดสิทธิบัตร • ผลิตภัณฑ์ที่มีฤทธิ์ในการช่วยลด LDL และเพิ่ม HDL ในรูปแบบ ทอฟฟี่ เครื่องดื่ม garlic-egg-yolkfood • เป็นส่วนประกอบในผลิตภัณฑ์ต้านโรคมะเร็ง ยาป้องกันต่อมลูกหมากโต • การผลิตที่สามารถทำให้สาร สำคัญจากกระเทียมมีความคงตัว • การเตรียมผลิตภัณฑ์กระเทียมไร้กลิ่น • การสร้างเครื่องมือปอกเปลือกกระเทียม • เครื่องมือบีบน้ำกระเทียมที่สามารถรักษาคุณสมบัติของสารสำคัญไว้ได้

  15. ผักเชียงดา (Gymnema) • ประเด็นในการจดสิทธิบัตร • ผลิตภัณฑ์จาก Gymnema เป็นชาสุขภาพ สำหรับผู้ป่วยโรคเบาหวาน • กรรมวิธีการเตรียมผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร เป็นยาเม็ด แคปซูล รูปน้ำเชื่อมหรือเป็นแผ่น • การปรับปรุงการสกัด gymnemic acid ที่ไม่ทำให้รสชาติของอาหารและเครื่องดื่มเสีย • การทดลองทางเภสัชวิทยา • การจดสิทธิบัตรของผักเชียงดามีน้อยกว่าเพราะเป็นสมุนไพรใหม่

  16. ขมิ้นชัน (Turmeric) จำนวนสิทธิบัตร จำนวนสิทธิบัตรที่จดในสหรัฐอเมริกา จำนวนสิทธิบัตร ปีที่จด จำนวน / หัวข้อของ สิทธิบัตรที่ศึกษา ปีที่จด ที่มา: www.uspto.gov; www.epo.org; www.jpo.go.jp

  17. ขมิ้นชัน (Turmeric) • ประเด็นในการจดสิทธิบัตร • ส่วนผสมในยารักษาโรคต่างๆ เช่น ลดการอักเสบของโรคผิวหนัง โรคกระดูกและข้อต่อ • ส่วนผสมอาหารอาหารเสริม อาหารเพื่อสุขภาพ อาหารสมุนไพร • กระบวนการสกัดและสังเคราะห์สาร curcumin/curcumenoid หรือสารคล้ายคลึงกัน • สารให้สีผสมอาหาร เครื่องสำอาง เสื้อผ้า และอื่นๆ • - แต่งสีข้าวโพดคั่ว มันฝรั่งแช่แข็ง เส้นก๋วยเตี๋ยว • - สีเคลือบผิวอาหาร • - ส่วนผสมของสีย้อมผม • - ผลิตสารธรรมชาติที่สามารถดูดกลืน/ตัดแสงรังสี UV • - ใช้เป็นสีย้อมแผ่น laser

  18. แปะก๊วย (Gingko) จำนวนสิทธิบัตร จำนวนสิทธิบัตรที่จดในสหรัฐอเมริกา จำนวนสิทธิบัตร ปีที่จด จำนวน / หัวข้อของ สิทธิบัตรที่ศึกษา ปีที่จด ที่มา: www.uspto.gov; www.epo.org; www.jpo.go.jp

  19. แปะก๊วย (Gingko) • การวิเคราะห์พัฒนาการของ • การจดสิทธิบัตรสมุนไพร Ginkgo • ผลิตภัณฑ์อาหารเสริมสุขภาพ (health food) • - Antioxidant • - Free Radical Scavenger • - Antiaging • - Anti-Depressant • - Inhibit Platelet-Activating Factor • ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร (food supplement, nutrient supplement) • ผลิตภัณฑ์เครื่องสำอาง • Ginkgo biloba extract (GBE) • over-the-counter drug • Standardization of the extract • - flavone glycoside 22-27% • - terpene 5-7% • - gingolides A, B และ C 2.8-3.4% • - bilobalide 2.6-3.2% • - ginkgolic acid ไม่เกิน 5 ppm

  20. แปะก๊วย (Gingko) ผลิตภัณฑ์ Ginkgo ของบริษัท Indena • GINKGO BILOBA [GINKGOSELECT®] • Standardized Dry Extracts Botanical Origin: Ginkgo biloba L. • Leaf Assay: • - more than or equal to 24.0% of ginkgoflavon glucosides by HPLC, • - more than or equal to 6.0% as a sum of ginkgolides and bilobalide, 2.6% -3.2% of bilobalide by GLC, • - less than 5 ppm of ginkgoic acids by HPLC • Biological Activity: Brain circulation improver • Main Application: PHARMACEUTICALS / COSMETICS / HEALTH-FOODS • GINKGO BILOBA BIFLAVONES • Standardized Dry Extracts Botanical Origin: Ginkgo biloba L. • Leaf Assay: 32.7% - 44.0% of total biflavones expressed as ginkgetin by HPLC • Biological Activity: Antioxidant, Lipolytic • Main Application: COSMETICS / HEALTH-FOODS • GINKGOSELECT® PHYTOSOME® • Botanical Origin: Ginkgo biloba L. - Leaf • Leaf Assay: • - more than or equal to 7.0% of ginkgoflavonglucosides, • - more than or equal to 2.0% of ginkgoterpenes, • - more than or equal to 0.8% of bilobalide, • - more than or equal to 0.8% of ginkgolides by HPLC • Biological Activity: Brain PAF-antagonist, Antioxidant • Main Application: PHARMACEUTICALS / COSMETICS / HEALTH-FOODS

  21. United States Patent 6,364,842 • Diagnostic apparatus for analyzing arterial pulse waves • Inventors: Amano; Kazuhiko (Suwa, JP); Kasahara; Hiroshi (Kashiwa, JP); Ishiyama; Hitoshi (Toride, JP); Kodama; Kazuo (Yokohama, JP) • Assignee: Seiko Epson Corporation (Tokyo, JP) • April 2, 2002

  22. Diagnostic apparatus for analyzing arterial pulse waves • A pulse wave analyzing apparatus • pulse wave =radial arterial pulse wave of a living body • database 26 เก็บข้อมูลแสดงความสัมพันธ์ระหว่างคลื่นชีพจรคน กับ สภาพความเจ็บป่วยของร่างกายคน • micro-computer 21 • becomes possible to perform diagnoses equivalent to a skilled doctor. • an analysis section for generating waveform parameters from the information, obtained from an examinee, representing the conditions of the examinee; • a diagnostic section for performing diagnosis of the conditions of the examinee based on the waveform parameters.

  23. การจดสิทธิบัตรสมุนไพรในประเทศไทย: กรณีศึกษา กวาวเครือ • Patent No. Int.cl. A61K 35/78 • ผู้ประดิษฐ์คือ นางมัณฑณา เอื้อวิทยา • ชื่อสิ่งที่แสดงถึงการประดิษฐ์: องค์ประกอบสมุนไพรจากกวาวเครือ • 10 พฤษภาคม 2542

  24. การจดสิทธิบัตรสมุนไพรในประเทศไทย: กรณีศึกษา กวาวเครือ • ในข้อถือสิทธิ์จะระบุองค์ประกอบของสมุนไพรกวาวเครือชนิดต่าง ๆ ไว้ โดยไม่ระบุชื่อวิทยาศาสตร์ตามหลักสากล • ระบุสัดส่วนไว้กว้างมาก ตั้งแต่ 10-100 ของน้ำหนักองค์ประกอบสมุนไพรที่ผลิตขึ้น • ในกระบวนการผลิต มิได้มีส่วนใดที่เป็นการวิจัยที่เป็นองค์ความรู้ใหม่ • มิได้มีกระบวนการพัฒนารูปแบบในเชิงวิทยาศาสตร์ • มิได้มีการพิสูจน์การออกฤทธิ์ในการรักษาโรคไม่ว่าจะเป็นในสัตว์ทดลองหรือในคน

  25. การจดสิทธิบัตรสมุนไพรในประเทศไทย: กรณีศึกษา กวาวเครือ • ใช้การสันนิษฐานโดยใช้ข้อความดังนี้ • “ทั้งนี้ แม้ว่าจะไม่มีผลวิจัยทางการแพทย์ยืนยัน หรืออธิบายฤทธิ์ขององค์ประกอบสมุนไพรกวาวเครือที่ผลิตได้ แต่ก็อาจสมมุติฐานได้ว่าขององค์ประกอบสมุนไพรกวาวเครือที่ผลิตขึ้นนี้ สามารถออกฤทธิ์ในด้านที่กล่าวมา โดยไม่พบผลข้างเคียงที่ส่งผลเสียต่อสุขภาพและร่างกายโดยรวมของผู้ที่บริโภคไม่มากกว่าวันละ 50-200 มิลลิกรัม”

More Related