240 likes | 431 Views
Effect of Blended Learning via Social Network by Using Case-based Learning on Video Sharing for Developing Critical Thinking Skills. ผลของการจัดการเรียนแบบผสมผสานผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์ โดยใช้กรณีศึกษาด้วยวีดีโอแชร์ ริง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ. ผู้วิจัย.
E N D
Effect of Blended Learning via Social Network by Using Case-based Learning on Video Sharing for Developing Critical Thinking Skills ผลของการจัดการเรียนแบบผสมผสานผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์โดยใช้กรณีศึกษาด้วยวีดีโอแชร์ริง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ
ผู้วิจัย ผู้ช่วยศาสตราจารย์.ดร.ปณิตา วรรณพิรุณ ภาควิชาครุศาสตร์เทคโนโลยี คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ว่าที่เรือตรีกุลธวัช สมารักษ์ สาขาวิชาเทคโนโลยีเทคนิคศึกษา คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ ผู้ช่วยศาสตราจารย์.ดร.พัลลภ พิระยะสุรวงศ์ ภาควิชาครุศาสตร์เทคโนโลยี คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
วัตถุประสงค์การวิจัย • เพื่อพัฒนารูปแบบการเรียนแบบผสมผสานผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์โดยใช้กรณีศึกษาด้วยวิดีโอแชร์ริงเพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ • เพื่อเปรียบเทียบคะแนนทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณก่อนและหลังเรียนโดยใช้รูปแบบการเรียนแบบผสมผสานผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์โดยใช้กรณีศึกษาด้วยวิดีโอแชร์ริง • เพื่อเปรียบเทียบคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนและหลังเรียนโดยใช้รูปแบบการเรียนแบบผสมผสานผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์โดยใช้กรณีศึกษาด้วยวิดีโอแชร์ริง
กรอบแนวคิดการวิจัย การออกแบบการเรียนการสอน กระบวนการเรียนการสอนแบบผสมผสานผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์โดยใช้กรณีศึกษาด้วยวิดีโอแชร์ริง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ การเรียนโดยใช้กรณีศึกษา การเรียนแบบผสมผสาน การเรียนโดยการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ • ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน • การคิดอย่างมีวิจารณญาณ • (Norris and Ennis, 1989) • 1. การสรุปแบบปรนัย • 2. การให้ความหมาย • 3. การพิจรณาความน่าเชื่อถือของแหล่งข้อมูลและการสังเกตุ • 4. การสรุปแบบอุปนัย • 5. การสรุปโดยการทดสอบแบบสมมติฐานและการทำนาย • 6. การนิยามและการระบุข้อสันนิษฐาน รูปแบบการเรียนแบบผสมผสานผ่านเครือข่ายสังคม ออนไลน์โดยใช้กรณีศึกษาด้วยวิดีโอแชร์ริงเพื่อ พัฒนาทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ
ขอบเขตการวิจัย • นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ของมหาวิทยาลัยรามคำแหง จำนวน 2,075 คน ประชากร • นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยรามคำแหง ที่ลงทะเบียนเรียนวิชา TMC 6503 เทคโนโลยีการผลิตภาพยนตร์และการนำเสนอสื่อโทรทัศน์ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2555 จำนวน 20 คน กลุ่มตัวอย่าง
ตัวแปรในการวิจัย • รูปแบบการเรียนแบบผสมผสานผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์โดยใช้กรณีศึกษาด้วยวิดีโอแชร์ริง ตัวแปรอิสระ • ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ • ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ตัวแปรตาม
วิธีดำเนินการวิจัย ระยะที่ 1 การพัฒนารูปแบบการเรียนแบบผสมผสานผ่าน เครือข่ายสังคมออนไลน์โดยใช้กรณีศึกษาด้วยวิดีโอแชร์ริง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ ระยะที่ 2 การศึกษาผลของการใช้รูปแบบการเรียนแบบผสมผสานผ่าน เครือข่ายสังคมออนไลน์โดยใช้กรณีศึกษาด้วยวิดีโอแชร์ริง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ
ระยะที่ 1 การพัฒนารูปแบบการเรียนแบบผสมผสานผ่าน เครือข่ายสังคมออนไลน์โดยใช้กรณีศึกษาด้วยวิดีโอแชร์ริง เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ 1) พัฒนากรอบแนวคิดของรูปแบบ การศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง การวิเคราะห์และสังเคราะห์รูปแบบการเรียนการสอน กรอบแนวคิดของรูปแบบการเรียนการสอนฯ
2) พัฒนารูปแบบการเรียน การนำไปใช้ การวิเคราะห์ การพัฒนา การออกแบบ การประเมินผล รูปแบบการเรียนแบบผสมผสาน ผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์โดยใช้กรณีศึกษาด้วยวิดีโอแชร์ริง
การนำไปใช้ การวิเคราะห์ การพัฒนา การออกแบบ • วิเคราะห์ผู้เรียน(Learner analysis) • วิเคราะห์จุดมุ่งหมายของรูปแบบการสอน • วิเคราะห์เนื้อหา (Content analysis) • วิเคราะห์บริบทที่เกี่ยวข้องกับการเรียนแบบผสมผสาน (Context analysis)
การนำไปใช้ การวิเคราะห์ การพัฒนา การออกแบบ • องค์ประกอบของรูปแบบการเรียนการสอน • หลักการของรูปแบบการเรียนการสอน • วัตถุประสงค์ • กระบวนการเรียนการสอน • การวัดและประเมินผล
การนำไปใช้ การวิเคราะห์ การพัฒนา การออกแบบ • รูปแบบการเรียนแบบผสมผสานโดยใช้กรณีศึกษา • ระบบบริหารจัดการเรียนการสอน • แผนการสอนและพัฒนาระบบบริหารจัดการเรียนการสอน • คู่มือแนวทางการปฏิบัติ ตามรูปแบบการเรียน • เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล
การนำไปใช้ การวิเคราะห์ การพัฒนา การออกแบบ • การทดสอบนำร่อง
ระยะที่ 2 การศึกษาผลการใช้รูปแบบการเรียนแบบผสมผสาน ผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์โดยใช้กรณีศึกษาด้วยวิดีโอแชร์ริง • One Group Pretest – Posttest Design (William & Stephen, 2009) O1 X O2
ระยะที่ 2 การศึกษาผลการใช้รูปแบบการเรียนแบบผสมผสาน ผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์โดยใช้กรณีศึกษาด้วยวิดีโอแชร์ริง 1) ขั้นเตรียมการก่อนการทดลอง • 1.1) การเตรียมความพร้อมของสถานที่ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ ได้แก่ เครื่องคอมพิวเตอร์ การเชื่อมต่อระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต และโปรแกรมที่เกี่ยวข้อง • 1.2) เตรียมความพร้อมของแผนการจัดการเรียนการสอน ระบบบริหารจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสานโดยใช้กรณีศึกษา คู่มือปฏิบัติสำหรับผู้เรียนและผู้สอนตามรูปแบบฯ ที่พัฒนาขึ้น และเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล 2) ขั้นดำเนินการทดลอง
ระยะที่ 2 การศึกษาผลการใช้รูปแบบการเรียนแบบผสมผสาน ผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์โดยใช้กรณีศึกษาด้วยวิดีโอแชร์ริง • 2.1) วัดผลสัมฤทธิ์ก่อนเรียน • 2.2) วัดการคิดอย่างมีวิจารณญาณของผู้เรียนก่อนการเรียนโดยใช้รูปแบบฯ ที่พัฒนาขึ้น โดยใช้แบบวัดการคิดอย่างมีวิจารณญาณมาตรฐานแบบทั่วไป Cornell Critical Thinking test, Level Z • 2.3) ดำเนินการวิจัย โดยให้ผู้เรียนดำเนินกิจกรรมการเรียนตามรูปแบบฯ ที่พัฒนาขึ้น โดยใช้เวลาในการทดลอง 7 สัปดาห์ • 2.4) เมื่อสิ้นสุดการดำเนินกิจกรรม วัดผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียน • 2.5) เมื่อสิ้นสุดการดำเนินกิจกรรม วัดความคิดอย่ามีวิจารณญาณของผู้เรียนโดยให้ผู้เรียนทำแบบวัดการคิดอย่างมีวิจารณญาณโดยใช้แบบวัดการคิดอย่างมีวิจารณญาณมาตรฐานแบบทั่วไป Cornell Critical Thinking test, Level Z 1) ขั้นเตรียมการก่อนการทดลอง 2) ขั้นดำเนินการทดลอง
สรุปผลการวิจัย ตอนที่ 1 รูปแบบการจัดการเรียนแบบผสมผสานผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์โดยใช้กรณีศึกษาด้วยวิดีโอแชร์ริงเพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ ประกอบด้วย 4 องค์ประกอบ 1) หลักการ 2) วัตถุประสงค์ 4) การวัดและประเมินผล 3) กระบวนการเรียนการสอน • 2.1) เพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณโดยกระบวนการเรียนการสอนแบบผสมผสานผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์โดยใช้กรณีศึกษาด้วยวิดีโอแชร์ริงของนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา • 2.2) เพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยกระบวนการเรียนการสอนแบบผสมผสานผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์โดยใช้กรณีศึกษาด้วยวิดีโอแชร์ริงของนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา • 3.1) ขั้นการเตรียมการก่อนการเรียนการสอน • 3.2) ขั้นการจัดกระบวนการเรียนการสอนประกอบด้วย 6 ขั้นตอนคือ • 1) ขั้นทำความเข้าใจประเด็นปัญหา • 2)ขั้นวิเคราะห์ สะท้อน อภิปราย • 3)ขั้นเสนอวิธีการแก้ปัญหา • 4)ขั้นการประเมินและตัดสินใจ • 5)ขั้นการแบ่งปันประสบการณ์ • 6)ขั้นสืบสานสร้างความรู้ใหม่ • 4.1) ประเมินการคิดอย่างมี วิจารณญาณ 6 ด้าน • 1) การสรุปแบบนิรนัย • 2) การให้ความหมาย • 3) การพิจารณาความน่าเชื่อถือของ • แหล่งข้อมูลและการสังเกต • 4) การสรุปแบบอุปนัย • 5)การสรุปโดยการทดสอบสมมติฐาน และการทำนาย • 6) การนิยามและระบุข้อสันนิษฐาน • 4.2)ผลสัมฤทธิ์ทางการรียน • 1.1) การเรียนการสอนบนแบบผสมผสาน • 1.2) กระบวนการเรียนการสอนโดยใช้กรณีศึกษา • 1.3) เครือข่ายสังคมออนไลน์ • 1.4) วิดีโอแชร์ริง • 1.5) บทบาทผู้เรียน • 1.6) บทบาทผู้สอน
สรุปผลการวิจัย ตอนที่ 2 ผลการใช้รูปแบบการเรียนแบบผสมผสานผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์ โดยใช้กรณีศึกษาด้วยวิดีโอแชร์ริงเพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ • ผลการเปรียบเทียบคะแนนทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณก่อนและหลังการทดลอง
ตอนที่ 2 ผลการใช้รูปแบบการเรียนแบบผสมผสานผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์ โดยใช้กรณีศึกษาด้วยวิดีโอแชร์ริงเพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ • ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนและหลังการทดลอง
อภิปรายผลการวิจัย • ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน • ผลการศึกษาทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ ของนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาก่อนเรียนและหลังเรียนโดยรูปแบบการเรียนแบบผสมผสานผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์โดยใช้กรณีศึกษาด้วยวิดีโอแชร์ริง พบว่านักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาที่เรียนโดยรูปแบบการเรียนแบบผสมผสานผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์โดยใช้กรณีศึกษาด้วยวิดีโอแชร์ริง มีทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณสูงกว่าหลังเรียน สอดคล้องกับ (ปรณัฐ กิจรุ่งเรือง, 2554) • ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงกว่าก่อนเรียน • ผลการศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ของนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาก่อนเรียนและหลังเรียนโดยรูปแบบการเรียนแบบผสมผสานผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์โดยใช้กรณีศึกษาด้วยวิดีโอแชร์ริง พบว่านักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาที่เรียนโดยรูปแบบการเรียนแบบผสมผสานผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์โดยใช้กรณีศึกษาด้วยวิดีโอแชร์ริง มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ .01 สอดคล้องกับ (วีระ สุภะ, 2554)
ข้อเสนอแนะการวิจัย ข้อเสนอแนะสำหรับการนำผลการวิจัยไปใช้ประโยชน์ • สถาบันการศึกษาที่นำรูปแบบการเรียนแบบผสมผสานผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์โดยใช้กรณีศึกษาด้วยวิดีโอแชร์ริงเพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณไปใช้ ควรจะกระบวนการอบรมปฐมนิแทศ เพื่อให้ผุ้เรียนมีความเข้าใจกับวิธีการสอนตามรูปแบบการเรียนแบบผสมผสานผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์โดยใช้กรณีศึกษาด้วยวิดีโอแชร์ริงเพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ ข้อเสนอแนะสำหรับการวิจัยในครั้งต่อไป • ควรมีการศึกษาพัฒนาการการคิดอย่างมีวิจารญาณของผู้เรียนที่เรียนตามรูปแบบการเรียน แบบผสมผสานผ่านเครือข่ายสังคมออนไลน์โดยใช้กรณีศึกษาด้วยวิดีโอแชร์ริงเพื่อพัฒนาทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ ที่พัฒนาขึ้น โดยทำการวัดคะแนนการคิดอย่างมีวิจารญาณของผู้เรียน ก่อนเรียน จากนั้นทำการวัดครั้งที่ 2 ในสัปดาห์ที่ 4 ของการเรียนตามรูปแบบซึ่งเป็นระยะเวลาที่ผู้เรียนเกิดพัฒนาการของการคิดอย่างมีวิจารณญาณ และทำการวัดครั้งที่ 3 ในสัปดาห์ที่ 7