1 / 16

การบรรยาย เรื่อง สร้างมูลค่าเพิ่มสู่ความมั่นคงทางธุรกิจ

การบรรยาย เรื่อง สร้างมูลค่าเพิ่มสู่ความมั่นคงทางธุรกิจ. โดย นายเกียรติพงศ์ น้อยใจบุญ รองประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ประธานคณะกรรมการเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท เอกรัฐวิศวกรรม จำกัด (มหาชน). ความสำคัญของภาคอุตสาหกรรม. สัดส่วนและการขยายตัว GDP ในภาคอุตสาหกรรม.

tara-nelson
Download Presentation

การบรรยาย เรื่อง สร้างมูลค่าเพิ่มสู่ความมั่นคงทางธุรกิจ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การบรรยายเรื่อง สร้างมูลค่าเพิ่มสู่ความมั่นคงทางธุรกิจ โดย นายเกียรติพงศ์ น้อยใจบุญ รองประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ประธานคณะกรรมการเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท เอกรัฐวิศวกรรม จำกัด (มหาชน) value-creation-business-nov48

  2. ความสำคัญของภาคอุตสาหกรรมความสำคัญของภาคอุตสาหกรรม สัดส่วนและการขยายตัว GDP ในภาคอุตสาหกรรม value-creation-business-nov48

  3. โครงสร้างการส่งออกสินค้าอุตสาหกรรม ปี 2547 value-creation-business-nov48

  4. ภาวะเศรษฐกิจไทย แนวโน้มภาวะเศรษฐกิจไทยปี 2548 รายการ 2546 2547-F 2548-F อัตราการขยายตัวของเศรษฐกิจโลก(ร้อยละ) 3.9 5.0 4.3 อัตราการขยายตัวของการค้าโลก(ร้อยละ) 5.1 8.8 7.2 อัตราการขยายตัวของเศรษฐกิจไทย(ร้อยละ) 6.8 6.3 4.5 อัตราการขยายตัวของภาคอุตสาหกรรม(ร้อยละ) 10.3 8.0 8.5 อัตราการขยายตัวของการส่งออกของไทย(ร้อยละ) 18.2 22.9 15.0 อัตราการขยายตัวของการนำเข้าของไทย(ร้อยละ) 17.4 27.3 30.0 สัดส่วนดุลการค้าต่อ GDP(ร้อยละ) 5.6 3.9 1.7 อัตราเงินเฟ้อ(ร้อยละ) 1.8 2.8 4.0 อัตราแลกเปลี่ยน(บาท/US$) 41.5 39.0 41.0 value-creation-business-nov48

  5. อิตาลี เกาหลีใต้ ญี่ปุ่น ไทย จีน เวียดนาม ภาคอุตสาหกรรมเผชิญปัญหาแรงกดดัน 2 ทาง ผู้นำ เทคโนโลยีและการออกแบบ ผู้ตาม การมีต้นทุนต่ำ การสร้างความแตกต่าง value-creation-business-nov48

  6. ภาวะการณ์ แข่งขันของไทยในระดับโลก ตารางเปรียบเทียบขีดความสามารถในการแข่งขัน ประเทศ2546(อันดับในเอเชีย) ปี 2547(อันดับในประเทศเอเชีย) ไต้หวัน 5(1) 4(1) สิงคโปร์ 6(2) 7(2) ญี่ปุ่น 11(3) 9(3) ฮ่องกง 24(5) 21(4) เกาหลีใต้ 18(4) 29(5) มาเลเซีย 29(6) 31(6) ไทย 32(7) 34(7) จอร์แดน 34(8) 37(8) value-creation-business-nov48

  7. (ต่อ) ตารางเปรียบเทียบขีดความสามารถในการแข่งขัน ประเทศปี 2546(อันดับในเอเชีย) ปี 2547(อันดับในประเทศเอเชีย) จีน 44(9) 46(9) อินเดีย 56(10) 55(10) อินโดนีเซีย 72(14) 69(11) ศรีลังกา 68(13) 74(12) ฟิลิปปินส์ 66(12) 76(13) เวียตนาม 60(11) 77(14) ปากีสถาน 73(15) 91(15) บังคลาเทศ 98(16) 102(16) value-creation-business-nov48

  8. การสร้างสังคมผู้ประกอบการการสร้างสังคมผู้ประกอบการ การปรับโครงสร้างอุตสาหกรรม ยุทธศาสตร์อุตสาหกรรมของประเทศ ระยะ 4 ปี(2548-2551) เพื่อให้อุตสาหกรรมเติบโตตามเป้าหมาย อก. จึงมุ่งผลักดันยุทธศาสตร์ใน 4 ปัจจัยคือ โครงสร้างอุตสาหกรรม ผู้ประกอบการ ปัจจัยสนับสนุน รวมทั้งการรักษาสิ่งแวดล้อม ยุทธศาสตร์อุตสาหกรรม ต่างประเทศ ในประเทศ • แข่งขันได้ • Value creation • พร้อม • ตอบสนอง ต่อตลาดโลก การบริหารจัดการ ทรัพยากร และ สวล.อุตสาหกรรม • GDP • เทคโนโลยี • ความสมดุล • FTA การสร้างปัจจัย แวดล้อมที่เอื้อต่อธุรกิจ 3.3 ล้านล้านบาท ภายในปี 2551 (ขยายตัว 6% ต่อปี) value-creation-business-nov48

  9. การสร้างความเข้มแข็งให้อุตสาหกรรมไทย การสร้างความเข้มแข็งให้อุตสาหกรรมไทย การพัฒนาอุตสาหกรรมในมุมมองภาคเอกชน 1. เพิ่มศักยภาพการแข่งขันของอุตสาหกรรม 2. สนับสนุนอุตสาหกรรมส่วนภูมิภาคและ SME 3. ไทยเป็นผู้นำด้านเศรษฐกิจระดับภูมิภาคและขยายตัว สู่ระดับโลก 4. บูรณาการอุตสาหกรมของประเทศในแนวทาง CLUSTER AND VALUE CHAIN 5. การสนับสนุนจากภาครัฐสู่ภาคอุตสาหกรรม value-creation-business-nov48

  10. แรงกดดันทั้งจากภายนอกและภายในประเทศแรงกดดันทั้งจากภายนอกและภายในประเทศ กลยุทธ์ของผลิตภัณฑ์ การแข่งขันทางด้าน การค้าที่รุนแรงมากขึ้น มุ่งเน้นตอบสนองผู้บริโภค (Mass Customization) วัฎจักรอายุของ ผลิตภัณฑ์สั้นลง ผู้บริโภคให้ความสนใจด้านคุณภาพและอนามัยมากขึ้น • Global Differentiate • มุ่งตอบสนองความ • ต้องการของตลาด การดำเนินการด้านการบริหารและธุรกิจแบบใหม่ ความตกลงระหว่างประเทศทั้งกรอบทวิภาคีและพหุภาคี บทบาทที่เพิ่มขึ้น ของจีนในเวทีโลก value-creation-business-nov48

  11. บริษัทส่วนใหญ่ยังขาดศักยภาพในการต่อยอดหรือสร้างเทคโนโลยีของตนเองบริษัทส่วนใหญ่ยังขาดศักยภาพในการต่อยอดหรือสร้างเทคโนโลยีของตนเอง value-creation-business-nov48 Source: สศช.

  12. ความรุ่งเรืองทางเศรษฐกิจ…ความรุ่งเรืองทางเศรษฐกิจ… ความมั่งคั่งของธุรกิจ ผลผลิตของประเทศขึ้นอยู่กับการสร้างมูลค่าและการเพิ่มพูนประสิทธิภาพให้กับผลผลิตและบริการ มิใช่แต่การกำหนดอุตสาหกรรมที่จะแข่งขัน เท่านั้น แต่ต้องกำหนดวิธีการที่จะแข่งขันให้ได้รับชัยชนะ ปัจจุบันมูลค่าผลผิตของไทยอยู่ในระดับต่ำและขาดการพัฒนาพื้นฐานเศรษฐกิจให้แข็งแกร่งพอที่จะแข่งขันได้ ผลผลิตต้องมี “ความสามารถในการแข่งขัน” ด้วยการเพิ่มความสามารถของนวัตกรรม value-creation-business-nov48

  13. ขั้นตอนการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของกิจการขั้นตอนการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของกิจการ การลงทุนที่มี คุณภาพ การพัฒนา ปัจจัยการผลิตต่างๆ ให้มีคุณภาพ การนำ นวัตกรรมใหม่ มาใช้ในการผลิต “ต้นทุนการผลิตต่ำ” “เพิ่มประสิทธิภาพ” “การเพิ่มมูลค่าให้สูงขึ้น” value-creation-business-nov48

  14. การสร้างมูลค่าเพิ่มสู่ความมั่นคงทางธุรกิจการสร้างมูลค่าเพิ่มสู่ความมั่นคงทางธุรกิจ ความพร้อมและยอมรับการเปลี่ยนแปลงด้านบริหารจัดการแบบมืออาชีพ ด้วยปัจจัยสำคัญ 5 ประการ คือ เทคโนโลยี มาตรฐานสินค้านวัตกรรม การเงินๆ การบริหารการเงินตลาดทุน การตลาด เครื่องหมายการค้าลิขสิทธิ์ การจัดการ เพิ่มประสิทธิภาพการแข่งขัน มาตรฐานการจัดการระบบ บุคลากร ฝึกอบรม สร้างความรักองค์กร ขวัญกำลังใจ value-creation-business-nov48

  15. เกณฑ์เพื่อการดำเนินการที่เป็นเลิศเพื่อ TQA 1. การนำองค์กร 2. การวางแผนกลยุทธ์ 3. การมุ่งเน้นลูกค้า และตลาด 4. การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ 5. การมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล 6. การจัดการกระบวนการ 7. ผลลัพธ์ทางธุรกิจ value-creation-business-nov48

  16. จบการนำเสนอ value-creation-business-nov48

More Related