210 likes | 339 Views
การสร้าง ตัวชี้วัด แผนปฏิบัติงาน และการติดตามประเมินผล. เรื่องของตัวชี้วัด.
E N D
การสร้างตัวชี้วัด แผนปฏิบัติงาน และการติดตามประเมินผล
เรื่องของตัวชี้วัด • ตัวชี้วัดผลลัพธ์ (Key Result Indicator -KRI )แสดงผลลัพธ์ที่สำคัญของการเปลี่ยนแปลง (เราได้ทำอะไรไปแล้วบ้าง) ใช้สำหรับการประเมินผล หรือการรายงานให้ผู้คุมนโยบายหรือผู้บริหารระดับสูง รวมทั้งสังคมทั่วไปทราบ แต่ไม่เหมาะสำหรับผู้มีหน้าที่บริหารจัดการเพราะไม่สามารถใช้ปรับทิศทางของงานได้เนื่องจากงานเสร็จสิ้นไปแล้ว • ตัวชี้วัดผลงาน (Performance Indicator-PI)แสดงปฏิบัติการที่นำไปสู่ผลลัพธ์ (เราต้องทำอะไรบ้าง) ใช้โดยองค์กรระดับกลางและระดับปฏิบัติการเพื่อควบคุมการปฏิบัติงานในส่วนที่รับผิดชอบหรือในการวางแผนการเงินและงบประมาณ รวมทั้งการประเมินหน่วยงาน • ตัวชี้วัดผลสำเร็จ (Key Performance Indicator- KPI)มีลักษณะเป็นปัจจุบันหรืออนาคตเท่านั้น ใช้สำหรับติดตามงาน และปรับทิศทางที่ต้องทำทันทีที่เกิดปัญหาต่องานที่เป็น “หัวใจของความสำเร็จ” (Critical Success Factor-CSF) นอกจากนี้ ยังใช้สำหรับกำหนดและติดตามงานว่าจะทำอะไรบ้างในอาทิตย์หน้า หรือ เดือนหน้า และต้องมีการติดตามดูความเคลื่อนไหวของตัวชี้วัดอย่างใกล้ชิดโดยผู้ปฏิบัติและผู้จัดการ ตามงานว่าจะทำอะไรบ้างในอาทิตย์หน้า หรือ เดือนหน้า
กระบวนการเปลี่ยนผ่านระบบจัดการสุขภาพจากภาครัฐสู่ภาคประชาชน ความพร้อมของทรัพยากร เพื่อประสิทธิภาพ เพื่อผลกระทบ(Impact) สร้างตัวชี้วัด Issue-based Activity-based ภาครัฐ ภาคประชาชน Innovate & Create Command & Control
การบูรณาการประเด็นปัญหา Spider-web Diagram บทบาทที่ต้องพัฒนาใหม่เพื่อผลกระทบที่ดีกว่า
การกำหนดค่ากลางสำหรับโครงการพัฒนาสุขภาพผู้สูงอายุ ค่ากลางของ 4 กิจกรรม 1.เฝ้าระวัง/คัดกรอง 2. มาตรการสังคม 3.สื่อสารเพื่อปรับพฤติกรรม 4.ปรับแผนงาน/โครงการ ค่ากลางของ 4 กิจกรรม มาตรฐานวิชาการ ค่ากลางของ 4 กิจกรรม นวัตกรรม ยังไม่มีค่ากลาง
ตารางบูรณาการ : การจัดการกลุ่มวัย กิจกรรม โรคไม่ติดต่อ โภชนาการ กลุ่มงาน โรคติดต่อ 1. การเฝ้าระวัง/ คัดกรอง โดยประชาชน บูรณาการ 2. การดำเนินมาตรการ ทางสังคม • บรรจุงานจากค่ากลางลงในช่องต่างๆ ให้ตรงกับหัวเรื่องจนครบทุกช่อง • บูรณาการงานตามหัวข้อกิจกรรม • เว้นบางงานที่แยกปฏิบัติตามเงื่อนไขพิเศษ (แยกไปทำโครงการเฉพาะ) 3. การสื่อสารเพื่อ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 4. การปรับแผนงาน/ โครงการของ ท้องถิ่น/ตำบล 5. การจัดการ กลุ่มเป้าหมาย รวมงานทั้งหมดเป็น 1 กลุ่มงาน
ตารางบูรณาการ : การจัดการสภาวะแวดล้อม สภาพแวดล้อมทาง กายภาพ สังคม/เศรษฐกิจฯ กิจกรรม กลุ่มงาน อาหารปลอดภัย คุ้มครองผู้บริโภค 1. การเฝ้าระวัง/ คัดกรอง โดยประชาชน บูรณาการ 2. การดำเนินมาตรการ ทางสังคม • บรรจุงานจากค่ากลางลงในช่องต่างๆ ให้ตรงกับหัวเรื่องจนครบทุกช่อง • บูรณาการงานตามหัวข้อกิจกรรม • เว้นบางงานที่แยกปฏิบัติตามเงื่อนไขพิเศษ (แยกไปทำโครงการเฉพาะ) 3. การสื่อสารเพื่อ ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม 4. การปรับแผนงาน/ โครงการของ ท้องถิ่น/ตำบล
การสร้างโครงการแบบบูรณาการการสร้างโครงการแบบบูรณาการ บูรณาการงานใน 5 กิจกรรม สำคัญของ SRM กลุ่มงานใช้สร้างโครงการ บูรณาการงานใน 4 กิจกรรม สำคัญของ SRM
ทางเดินของข้อมูลและตัวชี้วัดในระบบสุขภาพอำเภอ ทางเดินของข้อมูลและตัวชี้วัดในระบบสุขภาพอำเภอ ผู้ปฏิบัติใช้ ปรับปรุงงานตลอดเวลา ทุกเดือน ทุก 3 เดือน
กระบวนการจัดการตัวชี้วัดและการรายงานภายในจังหวัดกระบวนการจัดการตัวชี้วัดและการรายงานภายในจังหวัด
การวิเคราะห์ความก้าวหน้าของแผนงาน/โครงการในระดับอำเภอ / ตำบล ระดับ ผู้ปฏิบัติ (ท้องถิ่น/ตำบล) ระดับ ผู้จัดการ (อำเภอ/จังหวัด) PI/KPI ไปเขต/ส่วนกลาง PI/KPI จัดระดับโครงการที่ 1 และ 2 (Grading) ส่วนโครงการที่ 3 เพียงรายงานความก้าวหน้า
การวิเคราะห์ความก้าวหน้าของแผนงาน/โครงการ การวิเคราะห์ความก้าวหน้าของแผนงาน/โครงการ ในระดับจังหวัดกับส่วนกลาง ผู้บริหารระดับนโยบาย KRI ผู้บริหารระดับจังหวัด วิเคราะห์ทุก 3 เดือน ปรับกลยุทธ์ ฯลฯ ป้อนกลับและ ส่งต่อข้อมูล ทุก 3 เดือน สมรรถนะ แกนนำ
คำแนะนำ • ปฏิรูปข้อมูลเพื่อการบริหารจัดการ (Management Information) ระดับอำเภอ • เนื่องจากจะมีการบูรณาการงานระดับท้องถิ่น/ตำบล • จึงควรปฏิรูประบบการเก็บและรายงานข้อมูลใน • ระดับต่างๆให้สอดคล้อง • พื้นที่ใดที่เข้าโครงการปฏิรูประบบสุขภาพระดับอำเภอ(DHS) ใหม่นี้ ให้ยกเว้นการทำและใช้รายงานข้อมูลที่กระทรวงฯกำหนดไว้เดิม แล้วใช้ระบบรายงาน ใหม่ตลอดทางจนถึงส่วนกลาง ส่วนพื้นที่ที่ยังไม่เข้าโครงการ ให้ใช้ระบบข้อมูลเดิม
ตารางนิยามงานเพื่อวางแผนปฏิบัติการ (7 ช่อง) กลุ่มงานที่ 1 • งาน • งาน *ตัวชี้วัดผลสำเร็จย่อยสำหรับผู้ปฏิบัติ • งาน กลุ่มงานที่ 2 • งาน • งาน • งาน *ใช้งานในตารางนี้สร้าง PERT / GANTT chart เพื่อคุมลำดับการปฏิบัติต่อไป กลุ่มงานที่ 3 • งาน • งาน • งาน • กลุ่มงานที่ ฯลฯ
การจัดลำดับงาน 1.นำงานย่อยมาทำบัญชีงาน เรียงลำดับก่อนหลังบนกระดาษร่าง 2. ร่างผังความเชื่อมโยง (PERT Chart) ของงานย่อยต่างๆลงบนกระดาษแผ่นใหญ่ ร่างครั้งแรกไม่จำเป็นต้องถูกต้องเสมอ แต่จะเห็นภาพอย่างสังเขปว่าอะไรทำพร้อมกันได้ อะไรต้องทำก่อนหลัง 3. เขียนเวลาที่ประมาณสำหรับทำงานไว้ท้ายชื่องานในบัญชีงาน (ข้อ 1) 4. ปรับปรุงแก้ไขลำดับความเชื่อมโยงใน PERT Chart (ข้อ 2) จนพอใจ 5. กำหนดตัวผู้รับผิดชอบแต่ละงาน
8. เขียนช่วงเวลาเป็นชื่อเดือนและวันที่ (เป็นรายอาทิตย์ เริ่มวันจันทร์) ไว้บนแถบขวางด้านบนของผัง Gantt chart 9. เขียนชื่องานที่ช่องแรก งานบางตัวอาจยุบรวมกันได้ ดูตามเหตุผลสมควร 10. วางแถบงานตามช่วงเวลาที่จะทำ แสดงงานเริ่มจนงานสิ้นสุด (จากข้อ 3) การสร้างแผนปฏิบัติการ • กำหนดเวลาที่ต้องใช้ตั้งแต่ต้นจนจบของแต่ละงาน (จาก ช่อง 6ของตาราง 7ช่อง) • ร่าง GANTT Chart จากข้อมูลลำดับงานใน PERT Chart และเวลา (จากบัญชีงาน ข้อ 1)
การติดตามและประเมินผลการติดตามและประเมินผล ประเมินผล Evaluate ติดตาม Monitor ติดตามและประเมินผล Monitor & Evaluate
ตัวอย่าง : ใช้การเปลี่ยนแปลงของระดับคุณภาพของโครงการ พร้อมจำนวนการ ครอบคลุม เป็นตัวชี้วัดผลลัพธ์ –KRI( ก่อนการลดลงของปัญหา ) จำนวน ยกระดับมาตรฐานวิชาการและสังคม สร้างนวัตกรรมต่อเนื่อง รร.นวัตกรรมฯทำงาน พัฒนาโครงการที่ต่ำกว่าค่ากลางขึ้นเท่ากับค่ากลาง สร้าง รร.นวัตกรรมฯ 5 1 2 4 ระดับ 3 การกระจายของระดับการพัฒนาเมื่อเทียบกับค่ากลาง
ติดตามความก้าวหน้าและค้นหารายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ติดตามความก้าวหน้าและค้นหารายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ www.amornsrm.net ขอขอบคุณ