1 / 18

การชี้บ่งความรู้ การสร้างและแสวงหาความรู้ การจัดการความรู้ให้เป็นระบบ

การวัดวิเคราะห์และการจัดการความรู้ “การพัฒนาคุณภาพระบบบริการการดูแลผู้ติดเชื้อ HIV/AIDS แบบครบถ้วนและต่อเนื่อง” PCT อายุรก รรม โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์ อุบลราชธานี. การชี้บ่งความรู้ การสร้างและแสวงหาความรู้ การจัดการความรู้ให้เป็นระบบ การประมวลผลและกลั่นกรองความรู้ การเข้าถึงความรู้

tangia
Download Presentation

การชี้บ่งความรู้ การสร้างและแสวงหาความรู้ การจัดการความรู้ให้เป็นระบบ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การวัดวิเคราะห์และการจัดการความรู้“การพัฒนาคุณภาพระบบบริการการดูแลผู้ติดเชื้อ HIV/AIDS แบบครบถ้วนและต่อเนื่อง”PCTอายุรกรรม โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์ อุบลราชธานี • การชี้บ่งความรู้ • การสร้างและแสวงหาความรู้ • การจัดการความรู้ให้เป็นระบบ • การประมวลผลและกลั่นกรองความรู้ • การเข้าถึงความรู้ • การแบ่งบันแลกเปลี่ยนความรู้ • การเรียนรู้

  2. 1. การชี้บ่งความรู้: • กิจกรรม: ประชุมเชิงปฏิบัติการและทบทวนองค์ความรู้ 8 ประเด็น • ความรู้ที่มีแล้ว • มาตรฐานการดูแลผู้ป่วย HIV/AIDS • การจัดการแบบ Disease Management • การพัฒนารูปแบบการดูแลผู้ป่วยด้วย Chronic care model • การวัดและประเมินผลการพัฒนาระบบบริการการดูแลผู้ติดเชื้อHIV/AIDS ด้วย HIVQUAL-T • ความรู้ที่ยังไม่มี • การเพิ่มประสิทธิภาพการรักษาด้วยยาต้านไวรัสด้วย Lean health care • การเฝ้าระวังความปลอดภัยจากการใช้ยา โดยใช้ Trigger tool • การเฝ้าระวังและติดตามการเกิดเชื้อไวรัสเอชไอวีดื้อยาต้านไวรัสโดยใช้ Early warning signs • การสนับสนุนส่งเสริมการดูแลตนเองของผู้ติดเชื้อ ด้วยกระบวนการเรียนรู้เรื่องเอดส์โดยตรง • การเฝ้าระวังและติดตามการเกิดเชื้อไวรัสเอชไอวีดื้อยาต้านไวรัสเอดส์ด้วยEarly warning signs

  3. 2. การสร้างและแสวงหาความรู้ • ตรวจสอบความรู้ที่มีอยู่ จากบันทึกความรู้ บทเรียนในงานด้านเอดส์ • ความรู้ที่สามารถสร้างเองได้ - มอบทีม KM รพ. สรรพสิทธิประสงค์ รวบรวบ ตรวจสอบ กิจกรรมคุณภาพ ที่เป็น Best practice Innovation • ความรู้ที่ต้องการจากภายนอก - มอบทีมโรงพยาบาลชุมชน สืบค้น /หรือจัดหาความรู้จากภายนอก

  4. 3. การจัดการความรู้ให้เป็นระบบ • ทีม KM ร่วมกับผู้รับผิดชอบงานเอดส์ของ สปสช.เขต 10 สคร. เขต 7 สสจ.และโรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์ • รวบรวมความรู้ จัดเป็นหมวดหมู่ และทำฐานข้อมูล การพัฒนาระบบบริการการดูแลผู้ติดเชื้อ HIV/AIDS แบบครบถ้วนและต่อเนื่อง ในเรื่อง • การเพิ่มประสิทธิภาพในการรักษาด้วยยาต้านไวรัส • การเฝ้าระวังความปลอดภัยจากการใช้ยาต้านไวรัส • การเฝ้าระวังการเกิดเชื้อเอชไอวีดื้อยาต้านไวรัสเอดส์ • การสนับสนุนส่งเสริมการดูแลตนเองของผู้ติดเชื้อHIV/AIDS • การวัดและประเมินผลการดูแลรักษาการพัฒนาระบบบริการด้วยHIVQUAl-T • จัดทำทำเนียบผู้ทรงคุณวุฒิและผู้เชี่ยวชาญในการดูแลรักษาผู้ติดเชื้อHIV/AIDS

  5. 4. การประมวลผลและกลั่นกรองความรู้ • จัดหาผู้เชี่ยวชาญในงานคุณภาพ เพื่อ • ตรวจสอบความรู้ในการพัฒนาคุณภาพระบบบริการดูแลผู้ติดเชื้อHIV/AIDS • เทียบเคียงข้อมูลกับโรงพยาบาลขนาดเดียวกัน • มอบหมายทีมสหสาขาที่ดูแลผู้ติดเชื้อHIV/AIDS นำองค์ความรู้สู่การปฏิบัติในคลินิกยาต้านไวรัส และขยายผล • วัด ประเมินผล ปรับปรุงพัฒนาอย่างต่อเนื่อง • จัดทำแนวทางปฏิบัติ แล้วให้ผู้ทรงคุณวุฒิ/ แพทย์เฉพาะทางโรคติดเชื้อ ตรวจสอบ • ประกาศใช้ • วัดและประเมินผลการนำแนวทางปฏิบัติไปใช้ ทั้งด้านกระบวนการและผลลัพธ์ ทุกปี

  6. 5. การเข้าถึงความรู้ • นำความรู้มาพัฒนาเข้าสู่ระบบเทคโนโลยี • ทีม KM สำรวจและสอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกับช่องทางที่เข้าถึงได้สะดวก • เผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ฐานข้อมูลและองค์ความรู้ในรูปแบบเอกสารผลงานวิชาการ ลงในเว็บไซต์งานพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาลและสำนักงานควบคุมโรคที่ 7 ในเรื่อง • การเพิ่มประสิทธิภาพในการให้บริการรักษาด้วยยาต้านไวรัสเอดส์ • การเฝ้าระวังความปลอดภัยจากการใช้ยาต้านไวรัส • การเฝ้าระวังการเกิดเชื้อเอชไอวีดื้อยาต้านไวรัสเอดส์ • การสนับสนุนส่งเสริมการดูแลตนเองของผู้ติดเชื้อHIV/AIDS • การวัดและประเมินผลการพัฒนาระบบบริการการดูแลผู้ติดเชื้อHIV/AIDSด้วยHIVQUAL-T

  7. 6. การแบ่งบันแลกเปลี่ยนความรู้ • จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างทีมสหสาขาที่ดูแลผู้ติดเชื้อHIV/AIDS • ทีม KM ร่วมกับทีมผู้ปฏิบัติงาน กำหนดเป้าหมายการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อHIV/AIDSและเป้าหมายองค์ความรู้ที่ต้องการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ • สร้างเครือข่ายผู้มีความรู้จากการนำความรู้สู่การปฏิบัติในรูปแบบชุมชนนักปฏิบัติ • จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับการพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ติดเชื้อHIV/AIDS • จัดทำเอกสาร คู่มือองค์ความรู้ที่ได้จากการแลกเปลี่ยนเรียนรู้

  8. 7. การเรียนรู้ • จัดประชุมเชิงปฏิบัติการการพัฒนาคุณภาพการดูแลรักษาผู้ติดเชื้อHIV/AIDS • ประชาสัมพันธ์เชิญบุคลากรทางการแพทย์ เจ้าหน้าที่สาธารณสุข เครือข่ายผู้ติดเชื้อHIV องค์กรเอกชน ชุมชน เข้าร่วมประชุม • วัดผลความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมกิจกรรม • ทีม KM ร่วมกับผู้บริหารสร้างแรงจูงใจและกระตุ้นให้บุคลากรมีส่วนร่วมในการระบบจัดการความรู้

  9. ระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพชีวิตคนในจังหวัดระดับความสำเร็จของการพัฒนาคุณภาพชีวิตคนในจังหวัด

  10. ภาคผนวก • แนวทางปฏิบัติ/มาตรฐานการดูแลผู้ติดเชื้อ HIV/AIDS • สัญญาณเตือน(Trigger tool) ในการเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนจากยาต้านไวรัส • Warning Signs : การเฝ้าระวังเชื้อดื้อยา • ภาพกิจกรรม : การพัฒนาคุณภาพระบบบริการการดูแลผู้ติดเชื้อ HIV/AIDS แบบครบถ้วนและต่อเนื่อง • การนำChronic care model มาใช้ • รายชื่อ KM Team PCT อายุรกรรม

  11. แนวทางปฏิบัติ/มาตรฐานการดูแลผู้ติดเชื้อHIV/AIDSแนวทางปฏิบัติ/มาตรฐานการดูแลผู้ติดเชื้อHIV/AIDS

  12. แนวทางปฏิบัติ/มาตรฐานการดูแลผู้ติดเชื้อHIV/AIDSแนวทางปฏิบัติ/มาตรฐานการดูแลผู้ติดเชื้อHIV/AIDS

  13. Warning Signs : การเฝ้าระวังเชื้อดื้อยา • น้ำหนักตัวลดลง • การเจ็บป่วยที่ยังต้องมาพบแพทย์สม่ำเสมอเช่นเดียวกัน ก่อนรับยาต้านไวรัส • CD4ลดลงกว่าเดิม และหลังรับประทานยาต้านไวรัสไปแล้ว 6 เดือน CD4 ไม่เพิ่มขึ้น(CD4ลดลง30% : บ่งบอกถึงการรักษาที่ล้มเหลว) • ผลตรวจปริมาณเชื้อไวรัส(Virus load)หลังรับประทานยาต้านไวรัสไปแล้ว 6 เดือนมีค่า>50 ก๊อปปี้ • มีการป่วยเป็นโรคติดทางเพศสัมพันธ์ เช่น ซิฟฟิลิส หนองใน ขณะรับยา • มีเพศสัมพันธ์โดยไม่มีการสวมถุงยางอนามัย • Drug Adherence80% • ขาดนัดนานกว่า 2 เดือน หรือมาตามนัดไม่สม่ำเสมอ • มีการเปลี่ยนสูตรยาที่ไม่ใช่สูตรพื้นฐานในปีแรกที่รับยา

  14. สัญญาณเตือน(Trigger tool) ในการเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อนจากยาต้านไวรัส

  15. การนำChronic care model มาใช้ การให้บริการแบบOne Stop Service การให้ข้อมูลการรับบริการในคลินิกโรคติดเชื้อวันอังคาร การปะชุมทีมสหวิชาชีพในการวางแผนการดูแลรักษาผู้ติดเชื้อHIV/AIDS การจัดยาต้านไวรัสเอดส์มาไว้ การให้ความรู้ในคลินิกยาต้านไวรัสเอดส์

  16. การนำChronic care model มาใช้(ต่อ) การให้บริการแบบOne Stop Service โดยสถานที่ให้บริการเฉพาะกับผู้มารับบริการ เจาะเลือด ซักประวัติโดยพยาบาลประจำคลินิก รับยาต้านไวรัส กับเภสัชกร ให้สุขศึกษา ความรู้ในการดูแลตนเอง

  17. การส่งเสริมการดูแลตนเองของผู้ติดเชื้อHIV/AIDSและครอบครัวการส่งเสริมการดูแลตนเองของผู้ติดเชื้อHIV/AIDSและครอบครัว สื่อในการสอนและการเรียนรู้เรื่องโรคและการดูแลตนเอง

  18. KM Team PCT อายุรกรรม

More Related