150 likes | 333 Views
หลักสูตรสังคมสงเคราะห์ศาสตรมหาบัณฑิต (บูรณาการนโยบายและการบริหารสวัสดิการสังคม). วัตถุประสงค์ของหลักสูตร.
E N D
หลักสูตรสังคมสงเคราะห์ศาสตรมหาบัณฑิตหลักสูตรสังคมสงเคราะห์ศาสตรมหาบัณฑิต (บูรณาการนโยบายและการบริหารสวัสดิการสังคม)
วัตถุประสงค์ของหลักสูตรวัตถุประสงค์ของหลักสูตร 1. เพื่อผลิตมหาบัณฑิตที่มีวิสัยทัศน์ มีความรู้ความสามารถในการวิเคราะห์ และบูรณาการแนวคิดเพื่อการสร้างสรรค์ พัฒนานโยบาย และการบริหารสวัสดิการสังคม รวมทั้งเป็นผู้ที่มีความสามารถในการบริหารจัดการเชิงบูรณาการในองค์กรในระดับต่างๆ 2. เพื่อสร้างมหาบัณฑิตให้มีคุณธรรม จริยธรรมและสามารถใช้หลักธรรมาภิบาลในการบริหารองค์กรให้มีความรับผิดชอบต่อสังคม 3. เพื่อพัฒนามหาบัณฑิตให้เป็นผู้ที่มีความคิดริเริ่ม สามารถจัดการความรู้เพื่อสร้างสรรค์ และต่อยอดนวัตกรรมให้กับองค์กร ชุมชนและสังคม
ลักษณะเด่นของหลักสูตรลักษณะเด่นของหลักสูตร เป็นหลักสูตรเพื่อการเรียนรู้แบบบูรณาการ(Integrated Holistic Learning Curriculum - IHLC) เป็นหลักสูตรที่บูรณาการนโยบายและการบริหารงานสวัสดิการสังคมเข้าด้วยกัน เป็นหลักสูตรที่คำนึงถึงความรู้ ประสบการณ์ ความถนัด ความสนใจของผู้เรียนที่จะพัฒนาไปสู่ความเชี่ยวชาญเฉพาะด้านในบทบาทหน้าที่ที่รับผิดชอบ หรือที่ต้องการทำในอนาคต
โครงสร้างหลักสูตร วิชา เลือก และการบริหาร แกนความรู้ เครื่องมือใน การจัดการความรู้ การสังเคราะห์และ บูรณาการความรู้ ด้านนโยบาย คุณธรรม จริยธรรม การคิดและวิเคราะห์ ที่เป็นระบบ(IP 8023) สวัสดิการสังคมและ สังคมสงเคราะห์(IP 8010) วิจัยทางสังคมศาสตร์ ภาษาอังกฤษ (IP 8000) วิชาพื้นฐาน
ประโยชน์ของการเรียนจบหลักสูตรประโยชน์ของการเรียนจบหลักสูตร มีความรู้ความสามารถในการวิเคราะห์ และสังเคราะห์นโยบายสวัสดิการสังคมแบบบูรณาการ มีความสามารถในการบริหารทีมงาน หน่วยงานหรือองค์กร สามารถทำงานในหน่วยราชการต่างๆภายใต้กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ กระทรวงยุติธรรม กระทรวงสาธารณสุข กรุงเทพมหานคร สามารถทำงานในองค์กรสาธารณะประโยชน์ ได้แก่ มูลนิธิ หรือสมาคมต่างๆ ที่ทำงานด้านสวัสดิการสังคมและสังคมสงเคราะห์สำหรับกลุ่มผู้ด้อยโอกาสในสังคม
กำหนดการ รับสมัคร :1 กุมภาพันธ์ - 20 เมษายน 2550 หลักฐานประกอบการสมัคร : (1) ใบปริญญาบัตร หรือใบรับรองการศึกษา (2) หลักฐานการเปลี่ยนชื่อ-สกุล (ถ้ามี) (3) รูปถ่ายหน้าตรง ขนาด 1 นิ้ว จำนวน 3 รูป การสอบข้อเขียน (1) ความรู้พื้นฐานทางสังคมศาสตร์ (2) ภาษาอังกฤษ
กำหนดการ การสอบสัมภาษณ์ : เกณฑ์การพิจารณา (1) บุคลิกภาพ (2) ทัศนคติต่อมนุษย์ สังคมและวิชาชีพ (3) เป้าหมายการเข้าศึกษา การรับสมัครและการคัดเลือกกรณีพิเศษ : ผู้มีความรู้ความสามารถและประสบการณ์ในการทำงานด้านนโยบายและระบบสวัสดิการสังคม 5 ปีขึ้นไปให้สมัครเข้าศึกษาต่อได้โดยไม่ต้องสอบข้อเขียน แต่ใช้วิธีการสอบสัมภาษณ์เพียงอย่างเดียว
กำหนดการ กำหนดการสอบคัดเลือก : สอบข้อเขียนและสอบสัมภาษณ์ วันที่ 21 เมษายน 2550 การประกาศผลสอบ วันที่ 30 เมษายน 2550 กำหนดการเปิดสอน (รุ่นที่ 15) เรียนปรับพื้นฐาน 2 วิชา ระหว่างวันเสาร์ที่ 5 พฤษภาคม – วันอาทิตย์ที่ 3 มิถุนายน 2550 (5 สัปดาห์ / 30 ชั่วโมง) ภาค 1/2550 วันเสาร์ที่ 16 มิถุนายน 2550 – วันจันทร์ที่ 22 ตุลาคม 2550 ภาค 2/2550 วันเสาร์ที่ 3 พฤศจิกายน 2550 – วันจันทร์ที่ 3 มีนาคม 2551 ภาคฤดูร้อน/2550 วันเสาร์ที่ 22 มีนาคม 2550 – วันจันทร์ที่ 2 มิถุนายน 2551
ความคาดหวังต่อผู้จบการศึกษาความคาดหวังต่อผู้จบการศึกษา มีวิสัยทัศน์ มีความคิดริเริ่ม ด้านนโยบาย และการบริหาร สวัสดิการสังคม มีคุณธรรม
อาจารย์ประจำหลักสูตร รองศาสตราจารย์ ดร.ขัตติยา กรรณสูต อาจารย์ ดร. จตุรงค์ บุณยรัตนสุนทร อาจารย์ ดร.ทิพาภรณ์ โพธิ์ถวิล อาจารย์ ดร.เสาวนิจ นิจอนันต์ชัย อาจารย์ ดร. ภุชงค์ เสนานุช อาจารย์ ดร. อารีนา เลิศแสนพร
อาจารย์พิเศษ ศาสตราจารย์ยุพา วงศ์ไชย รองศาสตราจารย์ ดร. กิติพัฒน์ นนทปัทมะดุลย์ รองศาสตราจารย์ ดร. เนาวรัตน์ พลายน้อย รองศาสตราจารย์อภิญญา เวชยชัย รองศาสตราจารย์ระพีพรรณ คำหอม รองศาสตราจารย์วิทยากร เชียงกูล ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. บัญชร แก้วส่อง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ประภาส ปิ่นตบแต่ง ผู้ช่วยศาสตราจารย์ณัฏฐ์ษา สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ผู้ช่วยศาสตราจารย์จรัล ดิษฐาอภิชัย อาจารย์ ดร. ปรีชา เปี่ยมพงศ์สานต์
อาจารย์พิเศษ อาจารย์ ดร.โชคชัย สุทธาเวศ อาจารย์ ดร. นภาพร อติวานิชยพงษ์ อาจารย์ชินชัย ชี้เจริญ อาจารย์สรรพสิทธิ์ คุมภ์ประพันธ์ อาจารย์สุภรธรรม มงคลสวัสดิ์ พระอาจารย์วีระพันธ์ รักขิตสีโล Dr. Danthong Breen Dr. John Hart