310 likes | 806 Views
การบูรณาการงานสุขภาพจิต กับระบบสุขภาพระดับอำเภอ( DHS ). สุดา วงศ์สวัสดิ์. ระดับประเทศ. National Health Authority. Regulator. Provider. Purchaser. สป. / กรมส่วนกลาง. -สปสช. -สปช. -กรมบัญชีกลาง. ระดับเขต. Regional level. Regulator. Provider. Purchaser. คปสข. อปสข.
E N D
การบูรณาการงานสุขภาพจิตการบูรณาการงานสุขภาพจิต กับระบบสุขภาพระดับอำเภอ(DHS) สุดา วงศ์สวัสดิ์
ระดับประเทศ National Health Authority Regulator Provider Purchaser สป. / กรมส่วนกลาง -สปสช.-สปช.-กรมบัญชีกลาง
ระดับเขต Regional level Regulator Provider Purchaser คปสข. อปสข.
ความเชื่อมโยงและกลไกการทำงานในเขตบริการสุขภาพความเชื่อมโยงและกลไกการทำงานในเขตบริการสุขภาพ การเปลี่ยนแปลงในระดับเขต 1 การกระจายอำนาจไปสู่ระดับเขต 2 บริหารทรัพยากรร่วม 3 บริการร่วมแบบไร้รอยต่อ 4 การมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน กระทรวงสาธารณสุข สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข สนง.ประสานงานเขต คณะกรรมการเขตบริการสุขภาพ (Area Health Board) เขตสุขภาพ หน่วยงานวิชาการ รพศ./รพท./รพช./รพสต. หน่วยงานวิชาการ หน่วยงานวิชาการ หน่วยงานวิชาการ สนง.เขตบริการสุขภาพ 1-12 กรมต่าง ๆ กรมต่าง ๆ กรมต่าง ๆ กรมต่าง ๆ รพ. สังกัดอื่น /มหาวิทยาลัย รพ. มหาวิทยาลัย รพ. เอกชน อปท.
ระดับจังหวัด Provincial level สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด Regulator Provider Purchaser DHS (รพ.+สสอ.)
Regional Health Board Regulator ตรวจสอบติดตามประเมินผล Provider Health Board (คปสจ.) ทีมคณะนิเทศจาก กสธ. สธน.เป็นประธาน RO กรมวิชาการ ร่วมทีม อำเภอ DHS คปสอ. อำเภอ DHS คปสอ. อำเภอ DHS คปสอ.
จัดระบบบริการในระดับเครือข่ายบริการสุขภาพจัดระบบบริการในระดับเครือข่ายบริการสุขภาพ “เขตบริการสุขภาพ” : จัดบริการสำหรับประชาชน4-5 ล้านคนจัดเป็น 12 กลุ่มบริการ (4-3-3-2) พัฒนาปฐมภูมิสมบูรณ์แบบ ครอบคลุมพัฒนาทุติยภูมิที่สำคัญจำเป็นให้เบ็ดเสร็จในเขตบริการสุขภาพทุกระดับด้วยคุณภาพ มาตรฐาน จัดปัจจัยสนับสนุนคนเงินของ ที่เพียงพอพัฒนา ระบบบริหารจัดการ ภายใต้คกก. พื้นที่ Seamless Service Management EC Self Contained UC Management 3 Referral System RS Referral System 2 Secondary Care RS Secondary Care 1 Primary Care Primary Care Self Care www.themegallery.com
ระบบสุขภาพอำเภอ District health system: DHS กระบวนการในการทำงานร่วมกันของเครือข่ายอย่างเป็นเอกภาพในแต่ละอำเภอ โดยส่งเสริมสนับสนุนให้เกิดการปรับปรุง การบริหารจัดการระบบบริการปฐมภูมิอย่างมีคุณภาพ และมีความสอดคล้องกับปัญหาสุขภาพในพื้นที่ รวมทั้งลดการส่งต่อและลดความแออัดในสถานบริการระดับทุติยภูมิและตติยภูมิ ซึ่งจะส่งผลให้ประชาชน และชุมชนพึ่งพาตนเอง สามารถร่วมกันจัดการปัญหาโรคประจำถิ่นและภัยสุขภาพให้ลดลง
การทำงานร่วมกันของรพช.+สสอ.+รพ.สต.+อปท.+ประชาสังคม โดยมีเป้าหมายเดียวกัน คือ ทำให้ประชาชนและชุมชนสามารถพึ่งตนเองได้ และไม่ทอดทิ้งกัน โดยมีเครือข่ายบริการปฐมภูมิที่มีคุณภาพ และได้รับความไว้วางใจจากประชาชน แนวคิดการทำงาน DHS
วิธีการดำเนินงาน DHS งบประมาณ, ทรัพยากรต่างๆ และโครงสร้างองค์กร ผลลัพธ์ทางสุขภาพที่ดีขึ้น, ทีมสุขภาพเป็นสุขและชุมชนไม่ทอดทิ้งกัน การประเมินผลและเรียนรู้ตามบริบท www.themegallery.com
โครงสร้างระบบสุขภาพอำเภอโครงสร้างระบบสุขภาพอำเภอ ประธาน CEO : ผอ.รพช. หรือ สสอ. คปสอ. รพช.+ สสอ.+รพ.สต.+อปท.+ เครือข่ายภาคประชาสังคม www.themegallery.com
Conceptual Framework of DHS Development Specialist Provincial Hospital 1.P&P 2.MCH 3.EMS 4.Acute Minor Diseases 5.Dental Health 6.Chronic Diseases 7.Psychiatric Diseases & Mental Health 8.Disabillities 9.End of life care 10.High risk groups ( Pre – school , Adolescent,Elderly ) • Concept & Policy • Structure & Organization • Resources Allocation & Sharing • Manpower Development • Information System • Supportive Mechanism • New Management • (Partnership & Networking) Unity District Health Teams (รพช.+สสอ.+รพ.สต.+อปท.+ชุมชน) CBL Common Goal Common Action Common Learning Essential care Self Care SRM Action Research / R2R Other Sectors Service Plan Psychosocial Outcome -Value -Satisfaction -Happiness Clinical Outcomes -Morbidity -Mortality -Quality of Life
เป้าหมายของ กระทรวง10 สาขา 4. ระบบการสนับสนุนทรัพยากร 3. การพัฒนาบริหารจัดการประสิทธิภาพ 2. มะเร็ง 5. จิตเวช 4.ทารกแรกเกิด 3. อุบัติเหตุ 1. การพัฒนาตามเกณฑ์ขีดความสามารถ 6. ตาและไต 10. NCD 9. บริการปฐมภูมิทุติยภูมิและสุขภาพองค์รวม 2. การพัฒนาเพื่อแก้ปัญหาโรค/ภาวะ ที่เป็นปัญหาสุขภาพ 7. 5 สาขา 8. ทันตกรรม 1. หัวใจและหลอดเลือด 10 สาขา Back Bone สนับ สนุน ระบบบริการ คุณภาพ นอก สธ. นโยบาย กรมต่างๆ การ เมือง บรรลุ KPI สบรส.
NCD หัวใจ DHS เครือข่ายระดับอำเภอ ศสม. รพสต. ไต มะเร็ง • เป้าหมายระบบสุขภาพอำเภอ • สถานะสุขภาพ • Self Care • ทีมสุขภาพอำเภอเข้มแข็ง อุบัติเหตุ ทันตกรรม จิตเวช ฯลฯ
ประเด็นสุขภาพในแต่ละระดับประเด็นสุขภาพในแต่ละระดับ • อายุรกรรม • กุมารเวชกรรม • ออร์โธโปดิกส์ • ทันตกรรม • ตา • ไต • หมอครอบครัว • โรคหัวใจ • โรคมะเร็ง • ทารกแรกเกิด • อุบัติเหตุ • จิตเวช • สูติกรรม • ศัลยกรรม Service plan • Chronic Diseases • Psychiatric Diseases & Mental Health • Disabillities • End of life care • High risk groups • ( Pre – school , • Adolescent,Elderly) • P&P • MCH • EMS • Acute Minor • Diseases • Dental Health Essential care • สตรี • เด็ก เยาวชน • วัยแรงงาน • สูงอายุ • ผู้พิการ • NCD • อาหาร • สิ่งแวดล้อม, สุขาภิบาลอาหาร • Emerging disease ยุทธศาสตร์กระทรวง
เราจะบูรณาการงานสุขภาพจิตเราจะบูรณาการงานสุขภาพจิต เข้าไปในงานสุขภาพระดับอำเภอ อย่างไร
บูรณาการงานสุขภาพจิตชุมชนบูรณาการงานสุขภาพจิตชุมชน ตามกลุ่มวัยภายใต้ แผนการดำเนินงานตามบริบทของพื้นที่
จิตวิญญาญ กาย จิต สังคม Well being
งานสุขภาพจิต ส่งเสริมสุขภาพจิต ป้องกันปัญหาสุขภาพจิต บูรณาการ(Integrate) DHS ประเด็นตาม Flagship & Service plan
ส่งเสริมสุขภาพจิต • เพิ่มศักยภาพของบุคคลในการปรับตัวต่อการดำเนินชีวิต • เพิ่มความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพจิต • เพิ่มคุณภาพชีวิตที่ดี
ป้องกันปัญหาสุขภาพจิตป้องกันปัญหาสุขภาพจิต • ค้นหากลุ่มเสี่ยงที่จะเกิดปัญหาสุขภาพจิต • ให้ความช่วยเหลือในกลุ่มเสี่ยงเพื่อลดโอกาส ในการเจ็บป่วย • ดูแล รักษา ผู้ที่มีปัญหาสุขภาพจิตระยะเริ่มแรก • ส่งต่อผู้ที่มีปัญหาสุขภาพจิตที่มีความรุนแรง ยุ่งยาก ซับซ้อนให้กับสถานบริการระดับตติยภูมิ
บทบาทของกรมสุขภาพจิตใน DHS • กำหนดนโยบาย/มาตรการสำคัญของงานสุขภาพจิต • กำหนดมาตรฐานการดำเนินงานสุขภาพจิต • สร้างและพัฒนาองค์ความรู้ เทคโนโลยี เครื่องมือสุขภาพจิต • สนับสนุนให้เกิดการวิเคราะห์เชื่อมโยงระหว่างประเด็นสุขภาพทางกายกับมาตรการทางสุขภาพจิต • สนับสนุนทางวิชาการให้กับเครือข่ายในพื้นที่ • กำกับ ติดตามการดำเนินงานสุขภาพจิต
Conceptual Framework of Mental Health to DHS Unity District Health Teams (รพช.+สสอ.+รพ.สต.+อปท.+ชุมชน) 1.P&P 2.MCH 3.EMS 4.Acute Minor Diseases 5.Dental Health 6.Chronic Diseases 7.Psychiatric Diseases & Mental Health 8.Disabillities 9.End of life care 10.High risk groups ( Pre – school , Adolescent,Elderly ) ส่งเสริมสุขภาพจิต ป้องกันปัญหาสุขภาพจิต Clinical Outcomes -Morbidity -Mortality -Quality of Life ParticipationAnalyses & Intervention Psychosocial Outcome -Value -Satisfaction -Happiness CBL Common Goal Common Action Common Learning
กระบวนการทำงาน เลือกประเด็นสุขภาพ ตามพื้นฐานของแต่อำเภอ คณะกรรมการขับเคลื่อนการดำเนินงาน DHS ของอำเภอ/ผู้รับผิดชอบงานสุขภาพจิตในพื้นที่/ศูนย์สุขภาพจิตร่วมวิเคราะห์ประชาชนกลุ่มปกติ กลุ่มเสี่ยง กลุ่มป่วยตามประเด็นสุขภาพ สร้างการมีส่วนร่วมในการออกแบบกิจกรรม มาตรการในการให้การดูแล ช่วยเหลือ สนับสนุนในประชาชนกลุ่มต่างๆ ประชาชนได้รับบริการครอบคลุมสุขภาพกายและจิตตามบริบทของพื้นที่จริง
อำเภอ A เลือกประเด็น โรคเรื้อรัง เป็นประเด็นสำคัญ • ทุกภาคส่วนวิเคราะห์ • หาผู้ที่จะได้รับผลกระทบทางสุขภาพจิตทั้งหมดจากโรคเรื้อรัง เช่น ผู้ป่วย ญาติผู้ดูแล ชุมชน • แนวโน้มสุขภาพจิตของคนกลุ่มต่างๆ • ออกแบบกิจกรรม/มาตรการในการดูแลสุขภาพจิต ผู้ป่วยเรื้อรัง/ญาติ/ชุมชน • ควบคู่กับการดูแลทางกายเดิม ประชาชนในอำเภอ Aได้รับบริการครอบคลุมสุขภาพกายและจิตในประเด็นโรคเรื้อรัง
กรมสุขภาพจิต บูรณาการตามกลุ่มวัย ตัวอย่าง: Pre-school -Capacity building -Intervention พม. อปท. แกนนำ พัฒนาความฉลาดทางอารมณ์ (EQ) ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก รพ.สต. โรงเรียน สสอ. รพช. ประเมินEQ/IQ หลัง ประเมินEQ ก่อน Intervention