1 / 23

บทบาท สคร.

บทบาท สคร. สนับสนุนการทำงาน สสจ. ใน 3 มิติ แผนที่มีคุณภาพ มีการขยายผล และการบูรณาการ ทำความเข้าใจภารกิจหลักของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในจังหวัด ได้แก่ สสจ. สำนักงานจังหวัด สร้างทัศนคติกับจังหวัด เพื่อให้เกิดมุมมองว่า เป็นการร่วมเรียนรู้ ร่วมพัฒนา

talisa
Download Presentation

บทบาท สคร.

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. บทบาท สคร. • สนับสนุนการทำงาน สสจ. ใน 3 มิติ แผนที่มีคุณภาพ มีการขยายผล และการบูรณาการ • ทำความเข้าใจภารกิจหลักของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในจังหวัด ได้แก่ สสจ. สำนักงานจังหวัด • สร้างทัศนคติกับจังหวัด เพื่อให้เกิดมุมมองว่า เป็นการร่วมเรียนรู้ ร่วมพัฒนา • การติดตามประเมินผลภายในเชิงคุณภาพ เพื่อตอบว่าหน่วยงานในจังหวัดมีการรับงานเอดส์เป็นภารกิจหน่วยงานของตนเอง

  2. บทบาทหน้าที่ ศปอจ. • บูรณาการกลยุทธ์ป้องกันเอดส์ในเยาวชน และการดูแลรักษาเอดส์เข้าสู่กระบวนการนโยบาย และระบบบริการสังคม และสุขภาพของจังหวัด และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัด (ในรูปแผนพัฒนาจังหวัด) • อำนวยการให้เกิดการเรียนรู้ และใช้ประโยชน์จากรูปแบบ และวิธีการป้องกันและดูแลรักษาเอดส์ที่มีประสิทธิผล เพื่อให้หน่วยงานและบุคลากรในจังหวัดสามารถจัดการภารกิจได้อย่างยั่งยืน • ประสานแผนงานให้เกิดแผนที่นำทาง (Road Map) แสดงขั้นตอนของการจัดกิจกรรมของหน่วยงานต่างๆภายในจังหวัด เพื่อให้เกิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม และส่งผลให้ลดการติดเชื้อเอดส์รายใหม่ในจังหวัด • ระดมความร่วมมือและทรัพยากรที่จำเป็นจากภาคส่วนต่างๆ ในจังหวัด เพื่อให้เกิดกิจกรรมการป้องกันเอดส์ในเยาวชน และการดูแลรักษาโรคเอดส์อย่างต่อเนื่อง จนครอบคลุมกลุ่มเป้าหมายทั้งจังหวัด • การสร้างระบบ และวิธีการสนับสนุนให้หน่วยงานต่างๆ ที่เข้ามาร่วมภารกิจ สามารถกำกับกิจกรรมที่จัดวางร่วมกันให้เกิดการประสานอย่างเป็นระบบ ตลอดจนจัดวางแนวทางการประเมินผลนโยบายให้ชัดเจน

  3. ผลสัมฤทธิ์ใน 6 ปี ข้างหน้า (คิดต่อปี) กิจกรรมปรับพฤติกรรมป้องกันเอดส์เข้าถึงเยาวชนอายุ 12 - 24 ปี ในพื้นที่รับผิดชอบได้อย่างต่อเนื่องและมีประสิทธิผลจำนวน 2.4 ล้านคน 30% of Youth receive prevention education (43 จังหวัด มีเยาวชน 8 ล้านคน) เยาวชนจำนวน 160,000 คนเข้าถึงบริการสุขภาพเจริญพันธ์ที่เป็นมิตร 6.5% access YPFS of Youth receive prevention education เยาวชนจำนวน 80,000 คน ได้รับบริการให้คำปรึกษาและตรวจ HIV 50% VCT of access YPFS เยาวชนที่มีปัญหาสุขภาพเจริญพันธ์จำนวน 16,000 คน ในพื้นที่ของโครงการได้รับบริการสุขภาพที่เป็นมิตร 10% STI of access YPFS เยาวชนที่ติดเชื้อเอดส์ประมาณ 400 คน ในโครงการได้รับการดูแลและรักษา 0.5% HIV Positive of access to VCT

  4. หน่วยงานรับทุนรอง 1. สำนักโรคเอดส์ วัณโรคและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ (สอวพ.) : การป้องกัน 2. สำนักโรคเอดส์ วัณโรคและโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ (สอวพ.): การรักษา 3. องค์การพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการสาธารณสุข (PATH) 4. แนวร่วมธุรกิจไทยต้านภัยเอดส์ (TBCA) 5. มูลนิธิพะเยาเพื่อการพัฒนา (PDF) 6. มูลนิธิรักษ์ไทย (RTF): การป้องกัน 7. มูลนิธิรักษ์ไทย (RTF) : การรักษา 8. มูลนิธิดวงประทีป (DPF) 9. สมาคมยุวมุสลิมแห่งประเทศไทย (YMAT) 10. โครงการป้องกันและรักษาโรคเอดส์ (PHPT) 11. ศูนย์วิจัยโรคเอดส์ สภากาชาดไทย (HIV-NAT) 12. มูลนิธิเข้าถึงเอดส์ (ACCESS) 13. นอรวีเจียนเชิร์สเอด (NCA) 14. มูลนิธิเอดส์แห่งประเทศไทย (TNAF)

  5. กรอบการจัดการของ ศปอจ. ข้อเสนอ (Proposal) ของโครงการฯ ที่ได้รับการสนับสนุนต่อเนื่องจากกองทุนโลกอีก 6 ปี คือ การปรับกลยุทธ์ ให้มุ่งผนึกความร่วมมือของภาครัฐ องค์กรเอกชนสาธารณประโยชน์ เอกชน และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ให้เข้ามาร่วมกันปรับกิจกรรมการป้องกันเอดส์ในกลุ่มเยาวชน กับดูแลรักษาเอดส์ และผสานเข้าเป็นพันธกิจตามปกติของหน่วยบริการทางสังคม หน่วยบริการทางสุขภาพ หน่วยงานปกครองส่วนท้องถิ่น และชุมชน

  6. บทเรียนการจัดการแผนงานโครงการ และระดับปฏิบัติการของกิจกรรมด้านการป้องกันเอดส์ในเยาวชน และการดูแลรักษาเอดส์ 1. การจัดการประสิทธิผล (Effectiveness Management)เพื่อกำกับให้กิจกรรมที่ดำเนินการทั้งในการป้องกันเอดส์ และดูแลรักษาเอดส์มีมาตรฐาน และคุณภาพ จนมีสัมฤทธิผลในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม และจัดบริการที่เสริมหนุนคุณภาพชีวิตของกลุ่มเป้าหมาย 2. การจัดการบูรณาการ (Integration Management) เพื่อให้ภารกิจสามารถกลมกลืนเข้าอยู่ในโครงสร้างบริการ จนสามารถปรับเข้าเป็นกิจกรรมปกติของหน่วยงาน และชุมชน รวมถึงองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่รับผิดชอบพื้นที่ และกลุ่มเป้าหมาย 3. การปรับเข้าสู่กระบวนการนโยบาย (Policy Advocacy) เพื่อจัดวางภารกิจให้เข้าสู่วงจรนโยบายของหน่วยบริการ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หน่วยงานภูมิภาค และหน่วยงานรับผิดชอบในส่วนกลาง จนสามารถขยายพื้นที่ปฏิบัติการให้ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมายที่จำเป็น

  7. ศูนย์ประสานประชาคมเอดส์จังหวัด: ศบจอ. (Provincial Coordinating Mechanism: PCM) การจัดตั้งกลไกประสานภารกิจเอดส์ในจังหวัด เป็นเครื่องมือเชิงกลยุทธ์สำคัญ เพื่อเชื่อมโยงภารกิจและกิจกรรมภายใต้การสนับสนุนของกองทุนโลกเข้าสู่กลไก และกระบวนการนโยบาย และการจัดการบริการที่เกี่ยวข้อง ในจังหวัด และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดยจัดกลไกรองรับภารกิจการจัดการเชิงกลยุทธ์ (Strategic Management) ในระดับจังหวัด เรียกว่า “ศูนย์ประสานประชาคมเอดส์จังหวัด”

  8. ความยั่งยืนในการจัดการพฤติกรรมเสี่ยงความยั่งยืนในการจัดการพฤติกรรมเสี่ยง • การพัฒนาสมรรถนะให้หน่วยงานในจังหวัด และท้องถิ่น สามารถจัดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมเสี่ยงของเยาวชนได้โดยใช้ทรัพยากรมนุษย์ภายในจังหวัดเป็นฐานปฏิบัติการ และสามารถวิเคราะห์ จัดการกับปัญหาได้สอดคล้องกับสถานการณ์ และบริบททางสังคมที่แปรเปลี่ยนไปอย่างรวดเร็วในปัจจุบัน เป็นพื้นฐานสำคัญ ที่จะใช้เสริมสร้างความเข้มแข็งของหน่วยงานในแต่ละจังหวัดให้ใช้กลวิธีในการสร้างวิถีชีวิต และพฤติกรรมที่ปลอดภัยของเยาวชน

  9. “การดำเนินงานเชิงโครงสร้าง (Structural Intervention)”เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมทางเพศ (Sex Behavior Modification) องค์ประกอบสำคัญ 5 ประการ ได้แก่ 1. การให้ความรู้เพื่อพัฒนาทัศนคติที่ถูกต้องทางด้านเพศ และเพศวิถี 2. การสร้างทักษะชีวิตให้เยาวชนสามารถปรับใช้ในสถานการณ์เฉพาะหน้า 3. การจัดบริการทางสุขภาพสำหรับเสริมหนุนให้เกิดการดูแลรักษา และป้องกันโรค 4. การจัดเงื่อนไขและสิ่งแวดล้อมทางสังคมให้เอื้อต่อภาวะอนามัยเจริญพันธ์ที่ปลอดภัย 5. การสร้างความร่วมมือกับเยาวชนกลุ่มเป้าหมายที่อาสาสมัครเข้าร่วมพัฒนาแผนงาน และดำเนินกิจกรรมป้องกันและดูแลรักษาโรคเอดส์

  10. กระบวนการและขั้นตอนการพัฒนากลุ่มบุคลากรกระบวนการและขั้นตอนการพัฒนากลุ่มบุคลากร การพัฒนากลุ่มบุคลากรทั้งภาครัฐ เอกชน องค์กรสาธารณประโยชน์ และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น รวมถึงทีมนักวิชาการในแต่ละจังหวัด ให้สามารถรวมกลุ่มเป็นทีมทำงาน และมีการร่วมเรียนรู้เพื่อเพิ่มสมรรถนะในการจัดการเชิงกลยุทธ์ (Strategic Management) ให้สามารถใช้เครื่องมือเชิงกลยุทธ์ (Strategic Tools) ในการบูรณาการ และภาระงานเข้าสู่กระบวนการนโยบายของหลากหลายหน่วยงานในแต่ละจังหวัด ดำเนินการโดย มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนานโยบาย สำนักงานบริหารโครงการกองทุนโลก กรมควบคุมโรค

  11. วัตถุประสงค์ • เพื่อพัฒนากระบวนการเรียนรู้ และกลไกที่ช่วยในการสรุปบทเรียนของบุคลากรที่จะประกอบเป็นทีมงานใน ศูนย์ประสานงานประชาคมเอดส์จังหวัด 43 จังหวัด ที่การดำเนินงานโครงการด้านเอดส์ รอบที่ 1 RCC ให้สามารถ • จัดการเชิงกลยุทธ์ สำหรับสนับสนุนให้หน่วยงาน และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น • ปรับใช้รูปแบบ กลวิธี และเครื่องมือเชิงกลยุทธ์ ให้เป็นนโยบาย และแผนงานในการป้องกัน ดูแลรักษาเอดส์ และเสริมสร้างวิถีชีวิตให้มีสุขภาวะในด้านอนามัยเจริญพันธ์ของเยาวชน

  12. การดำเนินงานและกิจกรรมที่สำคัญการดำเนินงานและกิจกรรมที่สำคัญ 1. การจัดการเชิงกลยุทธ์ (Strategic Management) ในจังหวัด และ อปท. 2. การจัดการพฤติกรรมเสี่ยง (Behavioral Modification) 3. การพัฒนาระบบบริการที่เป็นมิตร (Youth Friendly Service and AIDS Care)

  13. 1. การพัฒนาและทดสอบเครื่องมือเชิงกลยุทธ์ด้านการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมอนามัยเจริญพันธ์ และเอดส์ และด้านการจัดระบบบริการสุขภาพที่เกี่ยวข้อง 5. การจัดทำคู่มือและ แนวทางสำหรับใช้ในโครงการกองทุนโลก 3. การพัฒนาสมรรถนะในการสร้างรูปแบบ และวิธีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม และวิถีชีวิตทางอนามัยเจริญพันธ์ 4. การพัฒนาสมรรถนะในการจัดวางและกำหนดรูปแบบระบบบริการสุขภาพที่เป็นมิตรกับกลุ่มเป้าหมาย 2.การพัฒนาทีมงานจัดการข้อมูลเชิงกลยุทธ์ในระดับส่วนกลาง เขต และจังหวัด 6. การพัฒนาสมรรถนะทีมงานในการกำกับและประเมินผลนโยบาย 7. การจัดเวทีเรียนรู้ และพัฒนาสมรรถนะทีมงานใน ศปอจ. และทีมงานสนับสนุนในส่วนกลาง และเขตให้สามารถใช้เครื่องมือทั้ง 3 ด้าน ภาพแสดงความเชื่อมโยงของกิจกรรมตามวัตถุประสงค์เพื่อให้เกิดการพัฒนาสมรรถนะในด้านการจัดการเชิงกลยุทธ์ที่ครอบคลุมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม และการจัดบริการสุขภาพ

  14. แนวทางการติดตามและประเมินผลแนวทางการติดตามและประเมินผล

  15. กระบวนการบริหารจัดการข้อมูลของสำนักงานบริหารโครงการกองทุนโลกกระบวนการบริหารจัดการข้อมูลของสำนักงานบริหารโครงการกองทุนโลก กองทุนโลกต่อสู้เอดส์ วัณโรค และมาเลเรีย ตัวแทนผู้ดูแลหน่วยงานให้ทุนระดับประเทศ การติดตามและประเมินผลรายงานทุก 6 เดือน (หลังสิ้นสุด 2 ไตรมาส ภายใน 30 วัน) รายงานประจำปี การติดตามและประเมินผลระดับประเทศ สำนักงานบริหาร โครงการกองทุน หน่วยงาน / องค์กรอื่นๆ รายงานไตรมาส (หลังสิ้นสุดไตรมาสภายใน 20 วัน) ผู้รับทุนรองโครงการ เอดส์วัณโรคและมาเลเรีย การย้อนกลับเรื่องข้อมูล / รายงานที่ไม่ถูกต้อง / ข้อมูลที่ไม่ครบถ้วนและไม่สอดคล้องกับหรือร้องขอเอกสารเพิ่มเติม / ข้อมูลเชิงประจักษ์ การย้อนกลับเรื่องการไม่ส่งรายงานหรือร้องขอเอกสารเพิ่มเติม รายงานไตรมาส / รายงานประจำปี จากผู้รับทุนรอง รายงานบรรยาย รายงานความก้าวหน้าผลการติดตามและประเมินผล รายงานการเงิน รายงานการ จัดซื้อจัดจ้าง ผู้ประสานงาน ติดตามและประเมินผล ผู้ประสานงานโครงการ ผู้ประสานงาน การเงิน ผู้ประสานงานพัสดุและจัดซื้อจัดจ้าง ทีมบริหารจัดการขอ้มูลข้อสนเทศ ผู้จัดการข้อมูล เจ้าหน้าที่บริหารจัดการข้อมูล โปรแกรมเมอร์

  16. โครงสร้างการไหลเวียนของข้อมูลทุกระดับโครงสร้างการไหลเวียนของข้อมูลทุกระดับ การติดตามและประเมินผลระดับประเทศ การติดตามและประเมินผล สำนักงานบริหารโครงการกองทุนโลก สำนักงานป้องกันควบคุมโรค ผู้รับทุนรอง สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด ผู้รับทุนย่อย การไหลเวียนข้อมูล เส้นทางการติดตาม หน่วยปฏิบัติการ

  17. ระบบการรายงานผลการดำเนินงาน: โครงสร้างการรายงานผลการดำเนินงาน 1. รายงานผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัด ผู้รับทุนรองจะรายงานผลการดำเนินโครงการตามตัวชี้วัดที่กำหนดไว้ในแผนงาน ซึ่งจะมีความแตกต่างกันตามแผนงานที่รับผิดชอบตัวชี้วัดจะถูกระบุไว้ตามรายไตรมาสและหน่วยงานที่รับผิดชอบ รวมทั้งระดับของแต่ละตัวชี้วัด 2. รายงานผลการติดตามและประเมินผลการดำเนิน นอกจากจะรายงานผลการดำเนินงานตามตัวชี้วัดแล้ว ผู้รับทุนรองจะรายงานผลการติดตามและประเมินผลการดำเนินงานในแต่ละกลุ่มเป้าหมายที่รับผิดชอบพร้อมทั้งระบุ ปัญหา อุปสรรค และแนวทางการแก้ไข เช่นเดียวกับ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด (สสจ.) ที่จะต้องรายงานผลการติดตามและประเมินผลการดำเนินงานโครงการเสริมสร้างสมรรถนะของกลไกการประสานและระดมทรัพยากรในการป้องกันและแก้ไขปัญหาเอดส์ของศูนย์ประสานประชาคมเอดส์จังหวัด สำหรับสำนักงานป้องกันควบคุมเขต (สคร.) จะรายงานผลการติดตามและประเมินผลการดำเนินงานของผู้รับทุนรอง และศูนย์ประสานประชาคมเอดส์จังหวัดในพื้นที่ที่รับผิดชอบ พร้อมทั้งประเด็นชี้แนะเพื่อปรับปรุงการทำงานของผู้รับทุนรองและศูนย์ประสานประชาคมเอดส์จังหวัด 3. รายงานการเงิน ตามแบบฟอร์มที่สำนักงานบริหารโครงการกองทุนโลกกำหนด ในกรณีที่มีการจัดซื้อจัดจ้างวัสดุ อุปกรณ์ทางการแพทย์ จะต้องรายงานผลการดำเนินงานตามข้อตกลงด้วย

  18. ระบบการส่งรายงาน รายจังหวัด สสจ.(PCM) สคร. SR ภาพรวม PR GF

  19. SR ศูนย์ประสานประชาคมเอดส์ จังหวัด (PCM) คณะทำงานประสานกำกับยุทธศาสตร์ส่วนกลาง (CASC) ชุมชน คณะกรรมการเอดส์ชาติ สถานศึกษา สถานประกอบกิจการ สสจ. สคร. PR สถานบริการสุขภาพ การนำข้อมูลจากผลการติดตามไปใช้ประโยชน์ ศูนย์บริการที่เป็นมิตรYPFS

  20. Demand Promo[tion ประชาสัมพันธ์ Call Center ผ่าน website และการขายตรง ในแหล่งที่กลุ่มเป้าหมายอยู่ Comprehensive Youth SexualHealth and HIV/AIDS Services พัฒนาระบบส่งต่อระหว่างคลีนิค และเครือข่ายผู้ให้บริการ HIV care Adolescent Health Counseling ติดตาม HIV- การสำรวจประเมินสภาพการณ์ เพื่อตระเตรียมบริการ Mapping services และกลุ่มประชากร ประเมินความต้องการ และลักษณะบริการ คัดเลือกคลินิค/หน่วยบริการ และฝึกอบรมบริการ สำรวจหาเครือข่ายบริการที่เกี่ยวข้อง เพื่อพัฒนาเป็นเครือข่ายส่งต่อ พัฒนาเครือข่ายบริการ อย่างต่อเนื่อง Define Comprehensive Service จัดตั้งคลินิค และพัฒนาคุณภาพบริการ SRH/STI/VCT/HIV จัดตั้ง หน่วยแรกรับ อาทิ Call Center อบรมพนักงานและอาสาสมัคร ในการให้ข้อมูล และscreen cases สู่คลินิค และบริการอื่นในเครือข่าย ส่งต่อCasesสู่คลินิคจากเครือข่ายชุมชน สถานประกอบการ ร้านยา องค์กรเยาวชน/ระบบดูแลนักเรียน NGOsที่ทำงานกับ เยาวชน พนักงานบริการ คนกลางคืน M&E ติดตามผลการใช้บริการ การส่งต่อ และบทเรียนจากกระบวนการ จัดตั้งบริการ และเครือข่าย ความพอใจของผู้ใช้บริการ โอกาสการขยายบริการ อย่างยั่งยืน

More Related