1 / 30

การส่งเสริมการขายและ การขยายตลาดสินค้าเกษตร

การส่งเสริมการขายและ การขยายตลาดสินค้าเกษตร. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร . ระพีพร ศรีจำปา ผู้อำนวยการหลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต ( M.B.A.) มหาวิทยาลัยศรีปทุม. การส่งเสริมการขายและ การขยายตลาดสินค้าเกษตร. สถานการณ์การตลาดสินค้าเกษตรไทย ปัญหาและอุปสรรคทางการตลาดสินค้าเกษตรไทย

taline
Download Presentation

การส่งเสริมการขายและ การขยายตลาดสินค้าเกษตร

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การส่งเสริมการขายและการขยายตลาดสินค้าเกษตรการส่งเสริมการขายและการขยายตลาดสินค้าเกษตร ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร. ระพีพร ศรีจำปา ผู้อำนวยการหลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (M.B.A.) มหาวิทยาลัยศรีปทุม

  2. การส่งเสริมการขายและการขยายตลาดสินค้าเกษตรการส่งเสริมการขายและการขยายตลาดสินค้าเกษตร • สถานการณ์การตลาดสินค้าเกษตรไทย • ปัญหาและอุปสรรคทางการตลาดสินค้าเกษตรไทย • แนวทางการแก้ไขปัญหาทางการตลาดสินค้าเกษตรไทย • กลยุทธ์การตลาดสินค้าเกษตรไทย • กลยุทธ์ส่งเสริมการตลาดสินค้าเกษตรไทย • กลยุทธ์ส่งเสริมการขายสินค้าเกษตรไทย • แนวทางการพัฒนาและกำหนดกลยุทธ์ส่งเสริมการขายและการขยายตลาดสินค้าเกษตรไทยเพื่อความยั่งยืน

  3. สถานการณ์การตลาดสินค้าเกษตรไทยสถานการณ์การตลาดสินค้าเกษตรไทย 1. สัดส่วนมูลค่าภาคการเกษตรลดลงอย่างต่อเนื่องเมื่อเปรียบเทียบกับภาคบริการและภาคอุตสาหกรรม ที่มา: ดร.ประยงค์ เนตยารักษ์

  4. สถานการณ์การตลาดสินค้าเกษตรไทยสถานการณ์การตลาดสินค้าเกษตรไทย 2. ตลาดสินค้าเกษตรในประเทศมีแนวโน้มความหลากหลายมากขึ้น • ตลาดสินค้าเกษตรในประเทศแบ่งตามลักษณะความต้องการใช้และคุณลักษณะสินค้าเกษตร • ความต้องการเพื่อการบริโภคในรูปสินค้าเกษตรขั้นต้น • สำหรับผู้บริโภครายได้สูง ส่วนใหญ่อยู่ในเมือง ต้องการสินค้าเกษตรที่คุณภาพดีและสามารถซื้อได้ในราคาแพง • สำหรับผู้มีรายได้น้อย ส่วนใหญ่อยู่ในชนบท ต้องการสินค้าราคาถูก แม้ว่าคุณภาพไม่ดีมาก • ความต้องการเพื่อเป็นปัจจัยการผลิต • สำหรับผลิตสินค้าเกษตรแปรรูป ผู้ผลิตต้องการวัตถุดิบสินค้าเกษตรที่คุณภาพดีและปริมาณเพียงพอสม่ำเสมอ • สำหรับใช้ผลิตสินค้าอื่น เช่น อาหารสัตว์ ผู้ผลิตต้องการวัตถุดิบที่ราคาไม่แพงและปริมาณมากเพียงพอกับกำลังการผลิตและความต้องการสิ้นค้าอื่นที่ใช้วัตถุดิบจากสินค้าเกษตร

  5. สถานการณ์การตลาดสินค้าเกษตรไทยสถานการณ์การตลาดสินค้าเกษตรไทย 3. ตลาดสินค้าเกษตรในต่างประเทศมีแนวโน้มความหลากหลายมากขึ้น • ตลาดสินค้าเกษตรในต่างประเทศแบ่งตามรายได้ของประเทศและคุณลักษณะสินค้าเกษตร • ความต้องการเพื่อบริโภคในรูปสินค้าเกษตรขั้นต้น • สำหรับประเทศที่พัฒนาแล้ว ซึ่งประชากรมีรายได้สูงต้องการบริโภคอาหารที่ได้มาตรฐานสากล คุณภาพดี ราคาแพง • สำหรับกำลังพัฒนา และด้อยพัฒนา ซึ่งประชากรมีรายได้น้อยผู้บริโภคยอมรับได้กับสินค้าเกษตรที่คุณภาพไม่ค่อยดี ราคาถูก • ความต้องการเพื่อเป็นปัจจัยการผลิต - สำหรับผลิตสินค้าเกษตรแปรรูป ผู้ผลิตในต่างประเทศต้องการวัตถุดิบสินค้าเกษตรที่คุณภาพดีตามมาตราฐานของประเทศนั้นๆและปริมาณเพียงพอสม่ำเสมอ - สำหรับใช้ผลิตสินค้าอื่น เช่น ยางรถยนต์ ผู้ผลิตต้องการวัตถุดิบที่ราคาไม่แพงและปริมาณมากเพียงพอกับกำลังการผลิตและความต้องการสิ้นค้าอื่นๆนั้น

  6. สถานการณ์การตลาดสินค้าเกษตรไทยสถานการณ์การตลาดสินค้าเกษตรไทย 4. ตลาดสินค้าเกษตรในตลาดอาหารฮาลาลมีแนวโน้มมากขึ้น • ตลาดอาหารฮาลาลเป็นตลาดขนาดใหญ่สำหรับประเทศที่นับถือศาสนาอิสลาม มีมูลค่าประมาณ 80,000 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ ปัจจุบันไทยมีส่วนแบ่งตลาดเพียง 200 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ • ไทยมีศักยภาพในการผลิตอาหารฮาลาลมาก เพราะมีวัตถุดิบสินค้าเกษตรมากในประเทศ ที่มา: ดร.ประยงค์ เนตยารักษ์

  7. สถานการณ์การตลาดสินค้าเกษตรไทยสถานการณ์การตลาดสินค้าเกษตรไทย 5. แนวโน้มการส่งออกสินค้าเกษตรแปรรูปเพิ่มขึ้น • มูลค่าส่งออกเพิ่มจาก 74 พันล้านบาทในปี 2533 เป็น 310 พันล้านบาทในปี 2546 และ 398 พันล้านบาทในปี 2550 • สินค้าเกษตรแปรรูปส่งออกที่สำคัญ ได้แก่ กุ้ง ปลาทูน่ากระป๋อง อาหารทะเล ไก่ สับปะรดกระป๋อง ที่มา: ดร.ประยงค์ เนตยารักษ์

  8. ปัญหาและอุปสรรคทางการตลาดสินค้าเกษตรไทยปัญหาและอุปสรรคทางการตลาดสินค้าเกษตรไทย • รูปแบบการผลิตสินค้าเกษตรขั้นต้นเปลี่ยนไปมาก • ต้นทุนการผลิตสูงขึ้นมากเพราะ ขาดแรงงาน ใช้เครื่องจักรมากขึ้น • ปัญหาการใช้สารเคมีที่มากขึ้นและผลตกค้างของสารเคมี • สินค้าเกษตรไม่สามารถเปลี่ยนรูปแบบได้ทันตามความต้องการของผู้บริโภคที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว • ผู้ผลิตสินค้าเกษตรไม่ได้ศึกษาตลาดสินค้าเกษตรอย่างลึกซึ้ง และขาดความรู้ความเข้าใจในความต้องการของลูกค้าและสภาพการแข่งขันในตลาดที่ถูกต้อง • แนวโน้มการแข่งขันตลาดสินค้าเกษตรในตลาดโลกมีข้อกำหนดหรือข้อกีดกันมากขึ้น

  9. แนวทางการแก้ไขปัญหาทางการตลาดสินค้าเกษตรไทยแนวทางการแก้ไขปัญหาทางการตลาดสินค้าเกษตรไทย • ผู้ผลิตและผู้ที่เกี่ยวข้องต้องศึกษาการตลาดสินค้าเกษตรอย่างลึกซึ้งและทำการผลิตสินค้าเกษตรตามความต้องการของตลาด • ผู้ผลิตควรศึกษาข้อกำหนดและการเปลี่ยนแปลงมาตราฐานและคุณภาพของสินค้าเกษตรที่ตลาดทั้งในประเทศและต่างประเทศกำหนดอย่างต่อเนื่องเพื่อเตรียมความพร้อมและเตรียมปรับกระบวนการผลิตให้ได้ผลผลิตที่มีคุณภาพได้มาตราฐานตามที่ตลาดต้องการ • ผู้ผลิตต้องศึกษากระบวนการตลาดของคู่แข่งขันทั้งในประเทศและต่างประเทศเพื่อเข้าใจความต้องการของลูกค้าอย่างถูกต้องจะได้ทำการผลิตสินค้าเกษตรที่ลูกค้าต้องการ และสามารถปรับกลยุทธ์การตลาดให้สามารถแข่งขันและดำรงกิจการได้อย่างยั่งยืน

  10. กลยุทธ์การตลาดสินค้าเกษตรไทยกลยุทธ์การตลาดสินค้าเกษตรไทย กลยุทธ์การตลาด: 4Ps หรือ 4Cs • Product, Price, Place, Promotionstrategy • Customer solution, Cost, Convenience, Communication

  11. กลยุทธ์การตลาดสินค้าเกษตรไทย: กลยุทธ์ผลิตภัณฑ์ ภาพที่  1     การเก็บเกี่ยว ภาพที่  2     การคัดเลือกช่อตำหนิออก คัดขนาดตามคำสั่งซื้อของ บริษัท ภาพที่  3     การรวบรวมรอการขนส่ง ภาพที่  4     ตัดปลายก้านและแช่สารละลายยืดอายุ ภาพที่  5     การตัดขนาดตามมาตรฐาน แล้วเสียบปลายก้านใน หลอดบรรจุสารละลาย (holding solution) ระหว่างการขนส่งภาพที่  6     รมด้วยเมทธิลโบรไมด์  20-24  กรัมต่อลูกบาศก์เมตร  90  นาที ภาพที่  7     การลดอุณหภูมิในห้อง   อุณหภูมิ 12o C  1-2  ชั่วโมงก่อนการบรรจุหีบห่อภาพที่  8     วิธีการบรรจุหีบห่อ ควรใช้สารดูดซับเอทธิลีนในระหว่างการ ขนส่ง ภาพที่  9     การบรรจุหีบห่อ ที่มา:สถาบันวิจัยพืชสวน กรมวิชาการเกษตร

  12. กลยุทธ์การตลาดสินค้าเกษตรไทย: กลยุทธ์ผลิตภัณฑ์ กลยุทธ์บรรจุภัณฑ์ กลยุทธ์ตราสินค้า กลยุทธ์คุณภาพสินค้า

  13. กลยุทธ์การตลาดสินค้าเกษตรไทย: กลยุทธ์ราคา กลยุทธ์ราคาคุ้มค่า กลยุทธ์ราคาสูงตามคุณภาพ กลยุทธ์ราคา ตามปริมาณ

  14. กลยุทธ์การตลาดสินค้าเกษตรไทย: กลยุทธ์การจัดจำหน่าย กลยุทธ์จัดจำหน่ายผ่านคนกลาง กลยุทธ์การจัดจำหน่ายโดยตรงถึงลูกค้า

  15. กลยุทธ์การตลาดสินค้าเกษตรไทย: กลยุทธ์การส่งเสริมการตลาด กลยุทธ์การโฆษณา กลยุทธ์ประชาสัมพันธ์ การประกวดการสร้างตราสินค้าผักผลไม้ไทย กลยุทธ์การขายโดยพนักงานขาย กลยุทธ์ส่งเสริมการขาย

  16. กลยุทธ์ส่งเสริมการขายสินค้าเกษตรไทยกลยุทธ์ส่งเสริมการขายสินค้าเกษตรไทย • การส่งเสริมการขาย:กลยุทธ์การส่งเสริมการตลาดอย่างหนึ่งที่ส่งเสริมให้เกิดการกระตุ้นให้ยอดขายเพิ่มมากขึ้นโดย • กลยุทธ์การลดราคาช่วงเทศกาล ลดตามปริมาณที่ซื้อ • กลยุทธ์การแลกสินค้า การแลกซื้อ • กลยุทธ์การแจกสินค้าตัวอย่าง แจกสินค้าฟรี • กลยุทธ์การแถมให้ • กลยุทธ์การประกวดหรือการชิงโชค ชิงรางวัล

  17. กลยุทธ์ส่งเสริมการขายสินค้าเกษตรไทย:กลยุทธ์การลดราคากลยุทธ์ส่งเสริมการขายสินค้าเกษตรไทย:กลยุทธ์การลดราคา กลยุทธ์การลดราคาในช่วงเทศกาล งานสินค้าเกษตร กลยุทธ์การลดราคาตามปริมาณการซื้อ

  18. กลยุทธ์ส่งเสริมการขายสินค้าเกษตรไทย:กลยุทธ์การแลกสินค้ากลยุทธ์ส่งเสริมการขายสินค้าเกษตรไทย:กลยุทธ์การแลกสินค้า กลยุทธ์การแลกสินค้าเกษตรกับปัจจัยการผลิต กลยุทธ์การแลกสินค้าเกษตรกับสินค้าบริโภค

  19. กลยุทธ์ส่งเสริมการขายสินค้าเกษตรไทย:กลยุทธ์การแลกซื้อสินค้ากลยุทธ์ส่งเสริมการขายสินค้าเกษตรไทย:กลยุทธ์การแลกซื้อสินค้า กลยุทธ์การแลกซื้อสินค้าเกษตรได้ในราคาถูกเมื่อซื้อบัตรเข้าชมงานแสดง สินค้าเกษตร กลยุทธ์การแลกซื้อสินค้าเกษตรที่หายากกับการสั่งสินค้าเกษตรในปริมาณมาก

  20. กลยุทธ์ส่งเสริมการขายสินค้าเกษตรไทย:กลยุทธ์การแจกกลยุทธ์ส่งเสริมการขายสินค้าเกษตรไทย:กลยุทธ์การแจก กลยุทธ์การแจกฟรีสินค้าเกษตรได้เมื่อลูกค้าเข้าเยี่ยมชมงานแสดง สินค้าเกษตร กลยุทธ์การแจกเมล็ดพันธ์สินค้าเกษตรที่หายากให้ฟรีเมื่อลูกค้าเข้าเยียมชมสวนเกษตร

  21. กลยุทธ์ส่งเสริมการขายสินค้าเกษตรไทย:กลยุทธ์การแถมกลยุทธ์ส่งเสริมการขายสินค้าเกษตรไทย:กลยุทธ์การแถม กลยุทธ์การแถมสินค้าเกษตรได้เมื่อลูกค้าที่เข้าเยี่ยมชมงานแสดง สินค้าเกษตรและซื้อสินค้าเกษตรในงาน กลยุทธ์การแถมผลผลิตสินค้าเกษตรที่หายากเมื่อสั่งสินค้าเกษตรในปริมาณมาก

  22. กลยุทธ์ส่งเสริมการขายสินค้าเกษตรไทย:กลยุทธ์ประกวดการชิงโชค ชิงรางวัล กลยุทธ์การประกวดผลผลิตเกษตรขนาดยักษ์เพื่อกระตุ้นให้ประชาชนเข้างานและสามารถขายเมล็ดพันธ์ ต้นพันธ์ หรือผลผลิตเกษตรได้ กลยุทธ์การประกวดเกษตรกรสาวงามหรือประกวดผลผลิตเกษตรที่สวยงามเพื่อดึงดูดให้ประชาชนมาเที่ยวงาน

  23. แนวทางการพัฒนาและกำหนดกลยุทธ์ส่งเสริมการขายและการขยายตลาดสินค้าเกษตรไทยเพื่อความยั่งยืนแนวทางการพัฒนาและกำหนดกลยุทธ์ส่งเสริมการขายและการขยายตลาดสินค้าเกษตรไทยเพื่อความยั่งยืน • สร้างความรู้ความเข้าใจในเรื่องการตลาดให้ผู้ผลิต ผู้แทนจัดจำหน่าย พ่อค้าคนกลาง และผู้ที่เกี่ยวข้อง • ดำเนินการศึกษาความต้องการของลูกค้าเป้าหมายอยู่ตลอดเวลา • ขยายฐานลูกค้าและวิเคราะห์ความต้องการลูกค้าเหมายใหม่แล้วนำเสนอสินค้าเกษตรที่ลูกค้าต้องการ • กำหนดกลยุทธ์การตลาดที่ตอบสนองความต้องการของลูกค้า แล้วดำเนินการผลิตตามความต้องการของลูกค้าเป้าหมาย • ขยายตลาดใหม่และกระตุ้นยอดขายด้วยกลยุทธ์การส่งเสริมการขายสู่สากล

  24. กลยุทธ์ส่งเสริมการขายสินค้าเกษตรไทยสู่สากลกลยุทธ์ส่งเสริมการขายสินค้าเกษตรไทยสู่สากล กลยุทธ์การแสดงสินค้าผลผลิตเกษตรในงานแสดงสินค้าในต่างประเทศเพื่อกระตุ้นให้ผู้นำเข้าและประชาชนที่เข้างานรับรู้และสามารถสั่งซื้อสินค้าและผลผลิตเกษตรได้

  25. กลยุทธ์ส่งเสริมการขายสินค้าเกษตรไทยสู่สากลกลยุทธ์ส่งเสริมการขายสินค้าเกษตรไทยสู่สากล กลยุทธ์การแสดงสินค้าผลผลิตเกษตรในประเทศโดยการจัดเป็นสถานที่ท่องเที่ยวเพื่อกระตุ้นให้ผู้นำเข้าและประชาชนนักท่องเที่ยวที่มาเที่ยวรับรู้และสามารถสั่งซื้อสินค้าและผลผลิตเกษตรได้

  26. กลยุทธ์ส่งเสริมการขายสินค้าเกษตรไทยสู่สากลกลยุทธ์ส่งเสริมการขายสินค้าเกษตรไทยสู่สากล กลยุทธ์การแสดงสินค้าผลผลิตเกษตรในประเทศโดยการจัดเป็นตลาดนัดสินค้าเกษตรที่นักท่องเที่ยวหรือลูกค้าที่มาเที่ยวสามารถสั่งซื้อสินค้าและผลผลิตเกษตรได้โดยตรงจากแหล่งผลิต

  27. ท่าน….จะเสนอแนะกลยุทธ์การส่งเสริมการขายให้ผู้ผลิต หรือผู้แทนการจัดจำหน่ายสินค้าเกษตรทำอย่างไรเพื่อขยายตลาดสินค้าเกษตรอย่างยั่งยืน

  28. กลยุทธ์การส่งเสริมการขายที่ผู้ผลิตสินค้าเกษตรควรทำคือ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. เพื่อขยายตลาดสินค้าเกษตรอย่างยั่งยืน

  29. กลยุทธ์การส่งเสริมการขายที่พ่อคนกลางสินค้าเกษตรควรทำคือ……………………………………………………..……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. เพื่อขยายตลาดสินค้าเกษตรอย่างยั่งยืน

  30. กลยุทธ์การส่งเสริมการขายที่หน่วยงานราชการควรทำคือ……………………………………………………..……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………. เพื่อขยายตลาดสินค้าเกษตรอย่างยั่งยืน

More Related