1 / 19

ชัยฤกษ์ ชัยสวัสดิ์ หัวหน้ากลุ่มงานบำรุงรักษาระบบชลประทาน ส่วนปรับปรุงบำรุงรักษา

การตัดสินใจ โดยกระบวนการวิเคราะห์ตามลำดับชั้นกับงานชลประทาน. ชัยฤกษ์ ชัยสวัสดิ์ หัวหน้ากลุ่มงานบำรุงรักษาระบบชลประทาน ส่วนปรับปรุงบำรุงรักษา สำนักอุทกวิทยาและบริหารน้ำ.

taite
Download Presentation

ชัยฤกษ์ ชัยสวัสดิ์ หัวหน้ากลุ่มงานบำรุงรักษาระบบชลประทาน ส่วนปรับปรุงบำรุงรักษา

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การตัดสินใจ โดยกระบวนการวิเคราะห์ตามลำดับชั้นกับงานชลประทาน ชัยฤกษ์ ชัยสวัสดิ์ หัวหน้ากลุ่มงานบำรุงรักษาระบบชลประทาน ส่วนปรับปรุงบำรุงรักษา สำนักอุทกวิทยาและบริหารน้ำ

  2. ในงานชลประทานมีการตัดสินใจที่สำคัญในหลายๆ เรื่อง ดังนั้นการที่มีวิธีหรือกระบวนการที่จะช่วยให้การตัดสินใจได้ดียิ่งขึ้นย่อมจะเป็นประโยชน์ในการทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น

  3. Analytic Hierarchy Process , AHP คืออะไร ? กระบวนการวิเคราะห์ตามลำดับชั้น ( Analytic Hierarchy Process , AHP ) เป็นวิธีการตัดสินใจแบบหลายเกณฑ์ ( Multi – Criteria Decision Making Method )

  4. จุดเด่นของ AHP คืออะไร? • เป็นกระบวนการตัดสินใจที่มีประสิทธิภาพ • สามารถนำไปใช้กับการตัดสินใจที่มีความยุ่งยากซับซ้อนได้

  5. การนำ AHP มาใช้กับงานชลประทาน • การเลือกทางเลือก • การจัดลำดับความสำคัญ • การตัดสิน เรื่องกฎเกณฑ์ต่างๆ • การวางแผน • การคาดการณ์ • การประเมินผล

  6. AHP ต้องใช้อะไรบ้าง? • เกณฑ์ ( กำหนดโดยผู้ตัดสินใจ ) • การเปรียบเทียบตามเกณฑ์ ( พิจารณาโดยผู้ตัดสินใจ ) • ตารางระดับความสำคัญหรือความชอบ

  7. รูปแบบของ AHP AHP จะแบ่งการวิเคราะห์ออกเป็นระดับชั้น คือ เป้าหมาย เกณฑ์ เกณฑ์ย่อย และทางเลือก จากนั้นให้วิเคราะห์เปรียบเทียบเกณฑ์หรือทางเลือกทีละคู่ ตามตารางระดับความสำคัญ หรือความชอบ แล้วก็คำนวณหาน้ำหนักความสำคัญ หรือลำดับความสำคัญของแต่ละชั้น

  8. ขั้นตอนการดำเนินการ AHP 1. การจัดลำดับชั้นในการวิเคราะห์ ( Structuring the Hierachy ) จัดทำเป็นแผนภูมิระดับชั้น ระดับชั้นบนสุด คือเป้าหมาย หรือปัญหาที่ต้องการตัดสินใจ ( Goal ) ระดับชั้นที่ 2 คือเกณฑ์หลัก ( Criteria ) ระดับชั้นที่ 3 คือเกณฑ์ย่อย ( Subcriteria )(ถ้ามี) ระดับชั้นสุดท้าย คือ ทางเลือก ( Alternative )

  9. เป้าหมาย เกณฑ์ เกณฑ์ เกณฑ์ย่อย เกณฑ์ย่อย เกณฑ์ย่อย เกณฑ์ย่อย ทางเลือก ทางเลือก ทางเลือก

  10. 2 การคำนวณหาลำดับความสำคัญ • ( Calculation of Relative Priority ) • ในแต่ระดับชั้นให้พิจารณาเปรียบเทียบความสำคัญของเกณฑ์ต่างๆในระดับชั้นเดียวกัน โดยการวิเคราะห์เปรียบเทียบเกณฑ์ หรือทางเลือกทีละคู่ ( Pairwise Comparison ) ตามตารางระดับความสำคัญ หรือความชอบ ( Standard Preferrence Table ) แล้วก็คำนวณหาน้ำหนักความสำคัญ หรือลำดับความสำคัญของแต่ละชั้น

  11. 1 = Equally 3 = Moderate 5 = Strong 7 = Very Strong 9 = Extreme 2 , 4 , 6 , 8 ใช้เมื่อมีความแตกต่างกันบ้างในระหว่างช่วงระดับต่างๆ

  12. ตัวอย่างการเปรียบเทียบความสำคัญตัวอย่างการเปรียบเทียบความสำคัญ การเลือกซื้อสินค้า โดยใช้เกณฑ์ด้านคุณภาพ ผลิตภัณฑ์ A มีคุณภาพสูงกว่าผลิตภัณฑ์ B โดยให้ A มีค่าระดับเปรียบเทียบมากกว่า (Very Strongly Preferred) ของ B หรือแสดงเป็นตัวเลขเท่ากับ 7 เมื่อเปรียบเทียบกลับกันผลิตภัณฑ์ B ก็จะมีคุณภาพเป็น 1/7 ของผลิตภัณฑ์ A หมายเหตุ ทางเลือกเดียวกันเมื่อเปรียบเทียบแนวตั้งและแนวนอนจะแสดงตัวเลขเท่ากับ 1

  13. การเลือกซื้อบ้าน ราคา ทำเล ลักษณะบ้าน บ้าน A บ้าน B บ้าน C การตัดสินใจเลือกซื้อบ้าน

  14. จบการนำเสนอ

More Related