1 / 32

ยุทธศาสตร์กรมการพัฒนาชุมชน พ.ศ. ๒๕๕๕-๒๕๕๘

ยุทธศาสตร์กรมการพัฒนาชุมชน พ.ศ. ๒๕๕๕-๒๕๕๘. ปรับปรุง ๑๕ พย ๕๓. วิสัยทัศน์. ชุมชนเข้มแข็งยั่งยืน. กรมการพัฒนาชุมชนเป็นองค์กรหลักในการเสริมสร้างศักยภาพและขีดความสามารถการบริหารจัดการชุมชน ให้เกิดความมั่นคงทางเศรษฐกิจและสังคม ชุมชนสามารถพึ่งพาตนเองได้อย่างยั่งยืน. เศรษฐกิจมั่นคง. สังคมคุณภาพ.

Download Presentation

ยุทธศาสตร์กรมการพัฒนาชุมชน พ.ศ. ๒๕๕๕-๒๕๕๘

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ยุทธศาสตร์กรมการพัฒนาชุมชน พ.ศ. ๒๕๕๕-๒๕๕๘ ปรับปรุง ๑๕ พย ๕๓

  2. วิสัยทัศน์ ชุมชนเข้มแข็งยั่งยืน กรมการพัฒนาชุมชนเป็นองค์กรหลักในการเสริมสร้างศักยภาพและขีดความสามารถการบริหารจัดการชุมชน ให้เกิดความมั่นคงทางเศรษฐกิจและสังคม ชุมชนสามารถพึ่งพาตนเองได้อย่างยั่งยืน เศรษฐกิจมั่นคง สังคมคุณภาพ มีศักยภาพและ ขีดความสามารถ การบริหารจัดการชุมชน ปรับตัวทัน การเปลี่ยนแปลง • เศรษฐกิจพอเพียง • ทุนชุมชน • มุ่งอนาคตร่วมกัน • พึ่งตนเอง • องค์กรบริหารการพัฒนา • แผนชุมชน • ข้อมูลเพื่อการพัฒนา • กลไกการพัฒนา • ผู้นำชุมชน • กลุ่ม/องค์กร • เครือข่าย KM, R&D, HRD, HRM, IT, Org.Cul., Marketing, Supporting

  3. ยุทธศาสตร์ที่ ๑ สร้างสรรค์ชุมชนอยู่เย็น เป็นสุข เป้าประสงค์ยุทธศาสตร์ครอบครัวอบอุ่น ชุมชนอยู่เย็น เป็นสุข กลยุทธ์ ๑. แก้ไขปัญหาความยากจนแบบบูรณาการ ๒. ส่งเสริมครอบครัวพัฒนา ๓. ส่งเสริมและพัฒนาหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง

  4. ยุทธศาสตร์ที่ ๑ สร้างสรรค์ชุมชนอยู่เย็นเป็นสุข มิติประสิทธิผลตามยุทธศาสตร์ (เป้าประสงค์ของยุทธศาสตร์) ครอบครัวอบอุ่น ชุมชนอยู่เย็น เป็นสุข มิติคุณภาพการให้บริการ (ความต้องการของลูกค้า) ชุมชนสามารถบริหารจัดการชุมชนด้วยปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ครอบครัวยากจน พึ่งพาชุมชนและตนเอง ได้อย่างยั่งยืน ครอบครัวมีความมั่นคงและ มีส่วนร่วมในการพัฒนาชุมชน แก้ไขปัญหาความยากจนแบบบูรณาการ ส่งเสริมและพัฒนาหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง ส่งเสริมครอบครัวพัฒนา มิติประสิทธิภาพการปฏิบัติราชการ (กลยุทธ์) พัฒนากลไกการบูรณาการความยากจน สนับสนุน สื่อและเครื่องมือ พัฒนา/ส่งเสริมระบบฐานข้อมูลชุมชน พัฒนา/ขยายผล/ ยกย่องเชิดชูหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง มิติการพัฒนาองค์กร(ปัจจัยในการบริหาร)

  5. ผู้รับผิดชอบหลัก :ศจพ.พช. ผู้มีส่วนร่วม : สภว. สสช. สทอ. ศสท. สพช ผู้ปฏิบัติ : สพจ. สพอ. ยุทธศาสตร์ที่ ๑ สร้างสรรค์ชุมชนอยู่เย็นเป็นสุข เป้าประสงค์ยุทธศาสตร์ : ครอบครัวอบอุ่น ชุมชนอยู่เย็นเป็นสุข กลยุทธ์ ๑.๑แก้ไขปัญหาความยากจนแบบบูรณาการ ครอบครัวยากจน พึ่งพาตนเองและชุมชน ได้อย่างยั่งยืน ส่งเสริม กระบวนการสนับสนุน การยกระดับรายได้ ส่งเสริมกระบวนการชุมชน แก้ไขปัญหาความยากจน แบบบูรณาการ พัฒนากลไกการบูรณาการ แก้ไขปัญหาความยากจน กระบวนงาน/ระยะเวลา ต.ค. ๒๕๕๔ - ก.ย. ๒๕๕๘ แผนงานแก้ไขปัญหาครัวเรือนยากจน -การแก้ไขปัญหาความยากจน ตามข้อมูล จปฐ. แบบบูรณาการ (ชี้เป้าชีวิต, จัดทำแผนที่ชีวิต, บริหารจัดการชีวิต, ดูแลชีวิต) -การให้ความรู้ด้านทักษะ อาชีพ การบัญชี และการดำเนินชีวิตตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงแก่ครัวเรือนยากจน (เมนูอาชีพแก้จน) -ส่งเสริมบริหารการเงินครัวเรือนยากจน แผนงานส่งเสริมกระบวนการชุมชน -ส่งเสริมสนับสนุน กลุ่ม องค์กรและเครือข่ายในชุมชน สนับสนุนการแก้ไขปัญหาของคนจน -ส่งเสริมสนับสนุนครัวเรือนยากจนให้เป็นสมาชิก กลุ่ม องค์กรในชุมชน • แผนงานแสวงหาภาคีแก้ไขความยากจน • สัมมนาทางวิชาการ “ปี ๒๕๕๕ ปิดบัญชีคนจนแห่งประเทศไทย” • เปิดตำราพัฒนาคนรวยรุ่นใหม่ • -แสวงหาภาคีแก้ไขความยากจนจากต่างประเทศ • ส่งเสริมให้ ศจพ.อ. แก้ไขปัญหาความยากจนในพื้นที่อย่างจริงจัง • แผนงานสนับสนุนการจัดสวัสดิการ • สนับสนุนให้กลุ่ม องค์กร ทั้งภาคเอกชนและภาครัฐจัดสวัสดิการให้แก่คนยากจนแบบบูรณาการ แผนงานสร้างความรู้ความเข้าใจ -สร้างความรู้ความเข้าใจแก่เจ้าหน้าที่ด้านการแก้ไขปัญหาความยากจนอย่างยั่งยืน -พลังสร้างสรรค์ ป้องกันความยากจน -ทบทวนบทบาทภารกิจและปรับปรุงระบบการดำเนินงานของ ศจพ.จ. แผนงานทบทวนกลไกและเครื่องมือ -ทบทวนการแก้จนจากระบบ ๔ท๓พ สู่การแก้จนแบบบูรณาการ -จำแนกแจกจ่ายคนยากจนให้พ้นเกณฑ์ Quickwin Flagship แผนงาน/โครงการ Best Practice Quickwin

  6. ยุทธศาสตร์ที่ ๑ สร้างสรรค์ชุมชนอยู่เย็นเป็นสุข เป้าประสงค์ยุทธศาสตร์ : ครอบครัวอบอุ่น ชุมชนอยู่เย็นเป็นสุข กลยุทธ์ ๑.๒ส่งเสริมครอบครัวพัฒนา ผู้รับผิดชอบหลัก : สสช ผู้มีส่วนร่วม : สภว.สทอ.ศสช. ผู้ปฏิบัติ : สพจ. สพอ. ครอบครัวมีความมั่นคง และมีส่วนร่วมใน การพัฒนาชุมชน สร้างภูมิคุ้มกันครอบครัว ประกาศความสำเร็จ และเพิ่มคุณค่า พัฒนาผู้ส่งเสริม กระบวนงาน/ระยะเวลา ต.ค.๒๕๕๔ -ก.ย.๒๕๕๘ ต.ค.๒๕๕๔ -ก.ย.๒๕๕๘ ต.ค.๒๕๕๔ -ก.ย.๒๕๕๘ แผนงานเสริมสร้างภูมิคุ้มกันครอบครัว • ส่งเสริมการพัฒนาครอบครัวด้วยการจัดทำแผนชีวิต • ส่งเสริมสนับสนุนกิจกรรมการพัฒนาครอบครัว • ส่งเสริมความสัมพันธ์ในครอบครัว • ส่งเสริมสนับสนุนกิจกรรมการมีส่วนร่วมของครอบครัวหรือพัฒนาทักษะในการพัฒนาชุมชน • สร้างเครือข่ายครอบครัวพัฒนา แผนงานสร้างมูลค่าเพิ่ม • ประเมินความสุขครอบครัว • เชิดชูเกียรติครอบครัวพัฒนา • รวมพลังครอบครัวพัฒนา • จัดงานปีแห่งครอบครัวพัฒนาไทย แผนงานสร้างความรู้ความเข้าใจผู้ปฏิบัติ • สร้างความรู้ความเข้าใจให้กับเจ้าหน้าที่ • สร้างและพัฒนาหลักสูตรในการอบรมเจ้าหน้าที่/ผู้ส่งเสริม(ผู้นำอช.สตรี ผู้ทรงคุณวุฒิ) • จัดทำสื่อ คู่มือ (เมนูทางเลือก) • ส่งเสริมการจัดทำมาตรฐานครอบครัว แผนงาน/โครงการ

  7. ยุทธศาสตร์ที่ ๑ สร้างสรรค์ชุมชนอยู่เย็นเป็นสุข เป้าประสงค์ยุทธศาสตร์ : ครอบครัวอบอุ่น ชุมชนอยู่เย็นเป็นสุข กลยุทธ์ ๑.๓ส่งเสริมและพัฒนาหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง ผู้รับผิดชอบหลัก : สสช ผู้มีส่วนร่วม : สภว. สทอ. ศสท. ผู้ปฏิบัติ : สพจ. สพอ. ชุมชนสามารถ บริหารจัดการชุมชน โดยยึดหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง ปรับปรุงระบบการพัฒนา หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง ส่งเสริมการเชื่อมโยง ขยายผลหมู่บ้านต้นแบบ สนับสนุนการพัฒนา หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง สู่ความยั่งยืน กระบวนงาน/ระยะเวลา ต.ค.๒๕๕๔ -ก.ย.๒๕๕๘ ต.ค.๒๕๕๔ -ก.ย.๒๕๕๘ ต.ค.๒๕๕๔ -ก.ย.๒๕๕๘ แผนงานส่งเสริมและพัฒนาเครื่องมือการพัฒนาหมู่บ้าน • ปรับปรุงระบบข้อมูลชุมชน • ศึกษาและพัฒนากระบวนการปรับทัศนคติของคนในชุมชนเพื่อให้เกิดการยอมรับและปฏิบัติตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง • จัดทำหลักสูตรการพัฒนาหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ • จัดทำสื่อการเรียนรู้และยอมรับ ศกพ. • ประเมินวัดระดับหมู่บ้าน (Pre- test) • พัฒนาทักษะการทำงานให้ผู้นำชุมชน แผนงานส่งเสริมการขยายผลหมู่บ้านต้นแบบ • สนับสนุนการพัฒนาหมู่บ้าน ศกพ.ต้นแบบเพื่อพร้อมในการขยายผล • ขยายผลจากบ้านพี่สู่บ้านน้อง • พัฒนาชุมชนใหม่ภายใต้แนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง แผนงานส่งเสริมการบริหารจัดการชุมชนแบบบูรณาการ • ส่งเสริมการบริหารจัดการชุมชนแบบบูรณาการ • แสวงหาภาคีสนับสนุน/บูรณาการ การพัฒนาหมู่บ้านศกพ. • พัฒนาจิตสำนึกพลเมืองกับสมาชิกชุมชน (ปกป้องสถาบัน/ส่งเสริมประชาธิปไตย) แผนงานสร้างมูลค่าเพิ่ม • สนับสนุนการจัดตั้งกองทุนพ่อของแผ่นดิน • ประชาสัมพันธ์สร้างกระแส ศกพ. • ประเมินผลความสำเร็จในการพัฒนาหมู่บ้าน ๒๓ ตัวชี้วัด และประเมินความสุขมวลรวมชุมชน ทุกหมู่บ้าน ศกพ • ประกาศความสำเร็จของหมู่บ้าน ศกพ. Best Practice แผนงาน/โครงการ Flagship

  8. ยุทธศาสตร์ที่ ๒ พัฒนาเศรษฐกิจฐานรากและส่งเสริมเศรษฐกิจสร้างสรรค์ เป้าประสงค์ยุทธศาสตร์เศรษฐกิจฐานรากมีความเข้มแข็ง สมดุลและพึ่งพาตนเองได้ กลยุทธ์ ๒.๑ส่งเสริมการบริหารผลิตภัณฑ์ให้เกิดประโยชน์สูงสุด ๒.๒ ส่งเสริมและสืบสานภูมิปัญญาท้องถิ่น ๒.๓สร้างเครือข่ายความร่วมมือในการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชน

  9. ยุทธศาสตร์ที่ ๒พัฒนาเศรษฐกิจชุมชนและส่งเสริมเศรษฐกิจสร้างสรรค์ เศรษฐกิจฐานรากมีความเข้มแข็ง สมดุล และพึ่งพาตนเองได้ มิติประสิทธิผลตามยุทธศาสตร์ (เป้าประสงค์ของยุทธศาสตร์) จำนวนผลิตภัณฑ์ได้รับการพัฒนา มิติคุณภาพการให้บริการ(ความต้องการของลูกค้า) ภาคีและเครือข่ายเป็นหุ้นส่วนในการพัฒนา เศรษฐกิจชุมชน ชุมชนมีการอนุรักษ์และสืบสานภูมิปัญญาท้องถิ่น ผู้ผลิต/ผู้ประกอบการมีรายได้จากการจำหน่ายผลิตภัณฑ์เพิ่มขึ้น สร้างเครือข่ายความร่วมมือในการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชน KBO ส่งเสริมการบริหารผลิตภัณฑ์ให้เกิดประโยชน์สูงสุด ส่งเสริมและสืบสานภูมิปัญญาท้องถิ่น พัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนด้วย องค์ความรู้และนวัตกรรม มิติประสิทธิภาพการปฏิบัติราชการ(กลยุทธ์) พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศด้านเศรษฐกิจชุมชน วิจัยและพัฒนาองค์ความรู้การพัฒนาเศรษฐกิจชุมชน พัฒนาบุคลากรด้านเศรษฐกิจชุมชนและเศรษฐกิจสร้างสรรค์ สร้างและพัฒนาระบบฐานข้อมูล และคลังภูมิปัญญาท้องถิ่น มิติการพัฒนาองค์กร (ปัจจัยในการบริหาร)

  10. ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๒พัฒนาเศรษฐกิจชุมชนและส่งเสริมเศรษฐกิจสร้างสรรค์ เป้าประสงค์ยุทธศาสตร์ : เศรษฐกิจฐานรากมีความเข้มแข็ง สมดุลและพึ่งพาตนเองได้ กลยุทธ์ ๒.๑ส่งเสริมการบริหารผลิตภัณฑ์ให้เกิดประโยชน์สูงสุด (ส่งเสริมการพัฒนาผลิตภัณฑ์และผู้ประกอบการ) ผู้รับผิดชอบหลัก : สภว. ผู้มีส่วนร่วม : สสช. สทอ. ศสท. ผู้ปฏิบัติ : สพจ. สพอ. ผู้ผลิต/ผู้ประกอบการ มีรายได้จากการจำหน่ายผลิตภัณฑ์เพิ่มขึ้น พัฒนาผลิตภัณฑ์ให้ได้มาตรฐาน เพิ่มประสิทธิภาพกลุ่มผู้ผลิต/ผู้ประกอบการ /เครือข่าย ส่งเสริมช่องทาง การตลาด ส่งเสริมการสร้าง มูลค่าเพิ่มผลิตภัณฑ์ กระบวนงาน/ระยะเวลา ต.ค.๒๕๕๔-ก.ย.๒๕๕๘ ต.ค.๒๕๕๔ -ก.ย.๒๕๕๘ ต.ค.๒๕๕๔ -ก.ย.๒๕๕๘ ต.ค.๒๕๕๔-ก.ย.๒๕๕๘ -สร้างความร่วมมือการขนส่งผลิตภัณฑ์ชุมชน(Logistic) (๕๕-๕๘)(ดึงคนอื่นเข้าร่วม) แผนงานส่งเสริมช่องทางการจำหน่าย ภายในประเทศ -จัดงานสืบสานภูมิปัญญาไทย -การจัดงานเมืองแห่งภูมิปัญญาไทย (OTOP CITY) (๒๕๕๕-๒๕๕๘) -การจัดงาน OTOPMidyear (๒๕๕๕-๒๕๕๘) -OTOP Delivery (๒๕๕๕-๒๕๕๘) -ศูนย์แสดงและจำหน่าย OTOP (OTOP Center)(๒๕๕๖) -OTOP Mobile (๒๕๕๕-๒๕๕๘) -ส่งเสริมการขายเชิงรุก เช่น OTOP Factory แผนงานส่งเสริมช่องทางการจำหน่ายต่างประเทศ -ภูมิปัญญา OTOP ไทย สู่ Asia (๒๕๕๘) -เผยแพร่ภูมิปัญญาไทยสู่ภูมิปัญญาโลก(Display) แผนงานส่งเสริมช่องทางการจำหน่ายทางระบบอิเล็กทรอนิกส์ -การทำพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์(e-Commerce)(๒๕๕๕-๒๕๕๘) (ทำไม่ได้ ขอผลการศึกษามีผู้สั่งสินค้าเท่าไหร่) แผนงานประชาสัมพันธ์และส่งเสริมการตลาด -การประชาสัมพันธ์ผ่านทางเว็บไซต์และเอกสารเผยแพร่(Catalog) แผนงานพัฒนาข้อมูลผู้ผลิต ผู้ประกอบการOTOP -ลงทะเบียนผู้ผลิตฯ OTOP แผนงานส่งเสริมและพัฒนาผู้ผลิตผู้ประกอบการOTOP -พัฒนาศักยภาพกลุ่มผู้ผลิตชุมชนระดับพื้นฐาน - พัฒนาศักยภาพกลุ่มผู้ผลิตชุมชนสู่มาตรฐานการเป็นผู้ประกอบการ -พัฒนาศักยภาพกลุ่มผู้ผลิตชุมชนสู่การเป็นมืออาชีพ -ส่งเสริมผู้ประกอบการด้านกฎหมายธุรกิจ -ส่งเสริมผู้ประกอบการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (๕๕-๕๘) -จับคู่บ่มเพาะผู้ประกอบการ (ไม่ใช่ความเชี่ยวชาญของกรม, ทำไม่ได้) นำกลยุทธ์๒.๓ ไว้ที่นี่ บริษัท OTOP จำกัด แผนงานวิจัยผลิตภัณฑ์ -สนับสนุนกระบวนการ วิจัยชุมชนเพื่อการพัฒนาผลิตภัณฑ์OTOP (๒๕๕๕-๒๕๕๘) (ปรับภาษาทำในลักษณะ KM) แผนงานสร้างมูลค่าเพิ่ม จัดทำกระบวนการสร้างมูลค่าเพิ่ม การแข่งขันการสร้างมูลค่าเพิ่ม (Contest เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม) แผนงานส่งเสริมและพัฒนาผลิตภัณฑ์ -ส่งเสริมกระบวนการ KBO สู่เศรษฐกิจสร้างสรรค์ (๒๕๕๕-๒๕๕๘)(ยกไป๓) -คัดสรรสุดยอดหนึ่งตำบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ไทย(๒๕๕๕,๒๕๕๗) -ส่งเสริมและผลักดันให้ผลิตภัณฑ์ผ่านการรับรองมาตรฐาน (๒๕๕๕-๒๕๕๘) แผนงานสร้างมูลค่าเพิ่ม -การแข่งขันการสร้าง Ideas จากของขวัญผสมผสานสินค้า OTOP (OTOP Fusion Gift Contest) -การแข่งขันคิดแผนการตลาดสินค้า OTOP (OTOP MarketingContest) -การแข่งขันบรรจุภัณฑ์ ต้นแบบ OTOP(OTOP Packaging Contest) Flagship Best Practice แผนงาน/โครงการ Flagship Flagship

  11. ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๒พัฒนาเศรษฐกิจชุมชนและส่งเสริมเศรษฐกิจสร้างสรรค์ เป้าประสงค์ประเด็นยุทธศาสตร์ : เศรษฐกิจฐานรากมีความเข้มแข็ง สมดุลและพึ่งพาตนเองได้ กลยุทธ์ ๒.๓ส่งเสริมการสืบสานภูมิปัญญาท้องถิ่น ผู้รับผิดชอบหลัก : สภว. ผู้มีส่วนร่วม : สสช. สทอ. ศสท. ปชส. ผู้ปฏิบัติ : สพจ. สพอ. ชุมชนมีการอนุรักษ์และสืบสาน ภูมิปัญญาท้องถิ่น สืบค้น รวบรวมภูมิปัญญาท้องถิ่น ส่งเสริมให้มีการสืบสานภูมิปัญญาท้องถิ่น ถ่ายทอดขยายผลภูมิปัญญาท้องถิ่น กระบวนงาน/ระยะเวลา ต.ค.๒๕๕๔-ก.ย.๒๕๕๘ ต.ค.๒๕๕๔-ก.ย.๒๕๕๘ ต.ค.๒๕๕๔-ก.ย.๒๕๕๘ แผนงานพัฒนาหมู่บ้าน OTOP -พัฒนาหมู่บ้าน OTOP เพื่อการท่องเที่ยว (๒๕๕๕-๒๕๕๘) แผนงานค่ายอนุรักษ์สืบสานภมิปัญญา(the star) -พัฒนาเยาวชนเพื่อการอนุรักษ์และสืบสานภูมิปัญญาท้องถิ่น (Young OTOP Camp) (๒๕๕๕-๒๕๕๘) -ส่งเสริมภูมิปัญญาจากรุ่นสู่รุ่น(๒๕๕๕-๒๕๕๘) -Young Design (๒๕๕๕-๒๕๕๘) -ส่งเสริมยุวทูตอนุรักษ์ภูมิปัญญาท้องถิ่น -ส่งเสริมการแลกเปลี่ยนภูมิปัญญาเยาวชนOTOP ระหว่างภูมิภาค และต่างประเทศ แผนงานส่งเสริมและเผยแพร่ภูมิปัญญาท้องถิ่น -เผยแพร่ศักดิ์ศรีแห่งภูมิปัญญาไทย (OTOP Thailand Brand)(๒๕๕๕-๒๕๕๘) -ส่งเสริมภูมิปัญญาผ่าน TV Mahadthai Channel(๒๕๕๕-๒๕๕๘) -จัดทำแผนการอนุรักษ์และเฝ้าระวัง ภูมิปัญญาท้องถิ่น(๒๕๕๕-๒๕๕๘) ย้ายกิจกรรมไปอยู่งานโชว์ แผนงานพัฒนาภูมิปัญญาท้องถิ่น -พัฒนาคลังข้อมูลภูมิปัญญา OTOP (๒๕๕๕-๒๕๕๘) -บันทึกหนึ่งตำบล หนึ่งภูมิปัญญา ท้องถิ่น(๒๕๕๕-๒๕๕๘) ค้นคว้าหาต้นแบบภูมิปัญญาท้องถิ่น (Story) -ส่งเสริมปราชญ์ OTOP (๒๕๕๕-๒๕๕๘) (HALL OF FAME) (สืบค้น เสาะหา บันทึก) หาที่อยู่ใหม่ Flagship Quickwin ยกเลิก แผนงาน/โครงการ BestPractice Quickwin

  12. ผู้รับผิดชอบหลัก : สภว. ผู้มีส่วนร่วม : สสช. สทอ. ศสท. ปชส. กผ. ผู้ปฏิบัติ : สพจ. สพอ. ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ ๒พัฒนาเศรษฐกิจชุมชนและส่งเสริมเศรษฐกิจสร้างสรรค์ เป้าประสงค์ประเด็นยุทธศาสตร์ : เศรษฐกิจฐานรากมีความเข้มแข็ง สมดุลและพึ่งพาตนเองได้ กลยุทธ์ ๒.๔พัฒนาผลิตภัณฑ์ชุมชนด้วยองค์ความรู้และนวัตกรรม ภาคีและเครือข่ายเป็นหุ้นส่วนในการ พัฒนาเศรษฐกิจชุมชน พัฒนา และรักษาเครือข่าย การพัฒนาเศรษฐกิจชุมชน เพิ่มเครือข่าย การพัฒนาเศรษฐกิจชุมชน แสวงหาพันธมิตรสร้างรูปแบบการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชน กระบวนงาน/ระยะเวลา ต.ค.๒๕๕๔-ก.ย.๒๕๕๘ ต.ค.๒๕๕๔ -ก.ย.๒๕๕๘ ต.ค.๒๕๕๔ -ก.ย.๒๕๕๘ แผนงานการพัฒนาเครือข่ายOTOP -เสริมสร้างความเข้มแข็งเครือข่ายความร่วมมือการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชน -ส่งเสริมเครือข่าย OTOP ระดับอำเภอ จังหวัด และประเทศ -สนับสนุนการจัดตั้งสมาคมเครือข่าย OTOP (ดูชื่อใหม่) หรือบรัษัท OTOP พัฒนา -บันทึกข้อตกลงความร่วมมือการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชน(MOU) แผนงานผสานความร่วมมือเครือข่ายการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชน -เสวนาวิชาการเพื่อสร้างรูปแบบการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชน แผนงานการสร้างรูปแบบการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชน -ส่งเสริมศูนย์เศรษฐกิจชุมชนครบวงจร แผนงานขยายเครือข่ายOTOP -สร้างความร่วมมือด้านการผลิต การพัฒนาและการตลาดทั้งในประเทศ และต่างประเทศ แผนงาน/โครงการ Flagship

  13. ยุทธศาสตร์ที่ ๓ เสริมสร้างขีดความสามารถการบริหารงานชุมชน เป้าประสงค์ยุทธศาสตร์ชุมชนมีขีดความสามารถในการบริหารจัดการแบบบูรณาการ กลยุทธ์ กลยุทธ์ ๓.๑ บริหารจัดการข้อมูลพื้นฐานและสารสนเทศชุมชน กลยุทธ์ ๓.๒ ส่งเสริมการบริหารจัดการความรู้ของชุมชน กลยุทธ์ ๓.๓พัฒนาคุณภาพแผนชุมชน กลยุทธ์ ๓.๔ เพิ่มขีดความสามารถผู้นำ องค์กร เครือข่าย ในการบริหารจัดการชุมชน กลยุทธ์ ๓.๕ พัฒนาระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน

  14. ยุทธศาสตร์ที่ ๓เสริมสร้างขีดความสามารถการบริหารงานชุมชน ชุมชนมีขีดความสามารถในการบริหารจัดการแบบบูรณาการ มิติประสิทธิผลตามยุทธศาสตร์ (เป้าประสงค์ของประเด็นยุทธศาสตร์) มิติคุณภาพการให้บริการ (ความต้องการของลูกค้า) ชุมชนใช้ ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ในการบริหารจัดการได้อย่างมี ประสิทธิภาพ ชุมชนมีและใช้ข้อมูล สารสนเทศชุมชน ชุมชนนำองค์ความรู้ ไปใช้ประโยชน์ ประชาชนมีส่วนร่วม ในการบริหารจัดการชุมชน ผู้นำ องค์กร เครือข่าย มีความสามารถในการ บริหารจัดการชุมชน บริหารจัดการข้อมูลพื้นฐานและ สารสนเทศชุมชน พัฒนาคุณภาพ แผนชุมชน เพิ่มขีดความสามารถ ผู้นำ องค์กร เครือข่าย ในการบริหารจัดการชุมชน พัฒนาระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน ส่งเสริมการบริหาร จัดการความรู้ของชุมชน มิติประสิทธิภาพการปฏิบัติราชการ (กลยุทธ์) พัฒนาบุคลากรให้เป็น นักบริหารจัดการชุมชน ศึกษา ค้นคว้า วิจัย พัฒนานวัตกรรม จัดการความรู้ และจัดทำฐานข้อมูล ด้านการบริหารจัดการชุมชน สร้างคลังข้อมูลชุมชน มิติการพัฒนาองค์การ (ปัจจัยในการบริหาร)

  15. ยุทธศาสตร์ที่ ๓เสริมสร้างขีดความสามารถการบริหารงานชุมชนเป้าประสงค์ยุทธศาสตร์ : ชุมชนมีขีดความสามารถในการบริหารจัดการแบบบูรณาการ กลยุทธ์ ๓.๑ บริหารจัดการข้อมูลพื้นฐานและสารสนเทศชุมชน ผู้รับผิดชอบหลัก : ศสช. ผู้มีส่วนร่วม : สสช. สภว. สทอ. ผู้ปฏิบัติ : สพจ. สพอ. ข้อมูลพื้นฐานชุมชนได้รับ การยอมรับและใช้ประโยชน์ อย่างเต็มประสิทธิภาพ พัฒนาระบบสารสนเทศ เพื่อการบริหารจัดการชุมชน ส่งเสริมการใช้ประโยชน์ ให้บริการ เผยแพร่ และประชาสัมพันธ์ จัดเก็บและบันทึก ประมวลผล พัฒนาระบบการบริหารจัดการ กระบวนงาน/ระยะเวลา ต.ค.๒๕๕๕ -ก.ย.๒๕๕๘ ต.ค.๒๕๕๕ -ก.ย.๒๕๕๘ ต.ค.๒๕๕๕ -ก.ย.๒๕๕๘ ต.ค.๒๕๕๕ -ก.ย.๒๕๕๘ • บริหารการจัดเก็บข้อมูลพื้นฐานการพัฒนาชนบท • การฝึกอบรมการจัดเก็บข้อมูล จปฐ. และข้อมูล กชช.2ค • การฝึกอบรมการใช้โปรแกรมบันทึกและประมวลผล • การติดตามและประเมินผลการจัดเก็บข้อมูล • การดำเนินการจัดเก็บ • การดำเนินการบันทึก/ประมวลผล • การรายงานและเสนอผลการจัดเก็บข้อมูลระดับตำบล อำเภอ และจังหวัด • - ศึกษา วิเคราะห์ผลการนำสารสนเทศไปใช้เพื่อการบริหารจัดการชุมชน • พัฒนารูปแบบสารสนเทศ • เพื่อการบริหารจัดการชุมชน • สนับสนุนบริหารจัดการชุมชนด้วยสารสนเทศชุมชน • รายงานผลการพัฒนาตำบล/หมู่บ้าน • ส่งเสริมการพัฒนาระบบสารสนเทศชุมชนระดับอำเภอ และจังหวัด • พัฒนาระบบคลังข้อมูล เพื่อการบริหารจัดการชุมชน (Data Wear house) 1.ส่งเสริมการใช้ประโยชน์ข้อมูลฯ - เสริมสร้างความรู้ความเข้าใจในการใช้ประโยชน์จากข้อมูล จปฐ. และข้อมูล กชช. 2ค แก่หน่วยงาน กลุ่ม และองค์กรต่าง ๆ โดยตรง และผ่านทางระบบ Internet - บรรยายให้ความรู้ความเข้าใจในการใช้ประโยชน์จากข้อมูล จปฐ. และข้อมูล กชช. 2ค แก่หน่วยงาน กลุ่ม และองค์กรต่าง ๆ - จัดนิทรรศการในโอกาสต่าง ๆ 2. ให้บริการข้อมูลฯ - ให้บริการข้อมูล จปฐ. และข้อมูล กชช. 2ค ทั้งในส่วนกลาง-ภูมิภาค - ให้บริการข้อมูล จปฐ. และข้อมูล กชช. 2ค ผ่านระบบ Internet 3. เผยแพร่ผลการจัดเก็บข้อมูลฯ - รายงานผลข้อมูลฯต่อคณะกรรมการ พชช. ผู้บริหารกระทรวง กรมฯ - จัดทำเอกสารรายงานคุณภาพชีวิตของคนไทยในชนบท พร้อม CD - จัดทำเอกสารรายงานหมู่บ้านชนบทไทย พร้อม CD - เผยแพร่ข้อมูลฯ ผ่านระบบ Internet 4. ประชาสัมพันธ์ข้อมูลฯ - ประชาสัมพันธ์เชิญชวนการจัดเก็บข้อมูล จปฐ. และข้อมูล กชช.2ค ในช่วงการจัดเก็บข้อมูลฯ (มกราคม – มีนาคม ของทุกปี) - ประชาสัมพันธ์ผลการจัดเก็บข้อมูล จปฐ. และข้อมูล กชช. 2ค - ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่องผลการจัดเก็บข้อมูลฯ - จัดทำบทความต่างๆ เผยแพร่ • การดำเนินงานของคณะกรรมการ พชช. • การพัฒนาเครื่องชี้วัดแบบสอบถามข้อมูล จปฐ. และข้อมูล กชช.2ค • การพัฒนาระบบโปรแกรม บันทึก และประมวลผลข้อมูล จปฐ. และข้อมูล กชช. 2ค • จัดทำคู่มือการจัดเก็บ • การจัดทำวีดีทัศน์ วิธีการและขั้นตอนการจัดเก็บข้อมูล • จัดพิมพ์แบบสอบถาม จปฐ. และ กชช.2 ค • จัดพิมพ์โปสเตอร์สรุปผลข้อมูล จปฐ. และข้อมูล กชช 2 ค ระดับหมู่บ้าน แผนงาน/โครงการ

  16. ผู้รับผิดชอบหลัก : สสช ผู้มีส่วนร่วม : สภว.สทอ.ศสช. ผู้ปฏิบัติ : สพจ. สพอ. ยุทธศาสตร์ที่ ๓ เสริมสร้างขีดความสามารถในการบริหารงานชุมชนเป้าประสงค์ยุทธศาสตร์ : ชุมชนมีขีดความสามารถในการบริหารจัดการแบบบูรณาการ กลยุทธ์ ๓.๒ ส่งเสริมการบริหารจัดการความรู้ของชุมชน ชุมชน แห่งการเรียนรู้ พัฒนากลไกการขับเคลื่อน การจัดการความรู้ชุมชน สร้างเครือข่าย การจัดการความรู้ ส่งเสริมการเรียนรู้ พัฒนาเครื่องมือการขับเคลื่อน การจัดการความรู้ชุมชน กระบวนงาน/ระยะเวลา ต.ค.๒๕๕๕ -ก.ย.๒๕๕๘ ต.ค.๒๕๕๕ -ก.ย.๒๕๕๘ ต.ค.๒๕๕๕ -ก.ย.๒๕๕๘ ต.ค.๒๕๕๕ -ก.ย.๒๕๕๘ แผนงานพัฒนาเครื่องมือการจัดการความรู้ • พัฒนาฐานข้อมูลคลังความรู้ชุมชน (องค์ความรู้) • พัฒนาสื่อสำหรับนักจัดการความรู้(ชุดความรู้) • จัดทำคู่มือแนวทางสนับสนุนศูนย์เรียนรู้ชุมชน • ร่วมกับภาคีจัดทำมาตรฐานศูนย์เรียนรู้ชุมชน แผนงานส่งเสริมศูนย์เรียนรู้ชุมชนต้นแบบ • พัฒนาศูนย์เรียนรู้ชุมชนสมบูรณ์แบบ ๑๘ แห่ง (Community Center) • ขยายผลศูนย์เรียนรู้ชุมชนสมบูรณ์แบบ • KM Mobile • บูรณาการศูนย์เรียนรู้ชุมชนกับกระทรวงไอซีที • พัฒนาเว็บไซต์หมู่บ้านไทยเพื่อการเรียนรู้ของชุมชนทางเครือข่ายออนไลน์ แผนงานสร้างเครือข่ายการเรียนรู้ • สร้างเครือข่ายการเรียนรู้ระหว่างชุมชน • สร้างเครือข่ายออนไลน์เพื่อการเรียนรู้ของชุมชน • จัดทำแผนเครือข่ายออนไลน์ เชิดชูเกียรตินักจัดการความรู้และชุมชนแห่งการเรียนรู้ แผนงานวิจัยและพัฒนา • ศึกษาวิจัยและพัฒนาศูนย์เรียนรู้ชุมชน แผนงานพัฒนากลไกการจัดการความรู้ • พัฒนาทักษะเจ้าหน้าที่ให้เป็นนักจัดการความรู้และเป็นที่ปรึกษาด้านจัดการความรู้ของชุมชน • สร้างและพัฒนาเครือข่ายนักจัดการความรู้ภาคประชาชน แผนงาน/โครงการ

  17. ผู้รับผิดชอบหลัก : สสช. ผู้มีส่วนร่วม : กผ. ศทช. สภว. สทอ. สพช. ผู้ปฏิบัติ : สสช. กผ. สพช. สพจ. สพอ. ยุทธศาสตร์ที่ ๓เสริมสร้างขีดความสามารถในการบริหารงานชุมชนเป้าประสงค์ยุทธศาสตร์ : ชุมชนมีขีดความสามารถในการบริหารจัดการแบบบูรณาการ กลยุทธ์ ๓.๓ พัฒนาคุณภาพแผนชุมชน แผนชุมชนมีคุณภาพ ได้รับการยอมรับจาก หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง พัฒนากลไกในการ ขับเคลื่อนแผนชุมชน พัฒนาระบบรับรอง มาตรฐานและการบูรณาการ แผนชุมชน พัฒนาแผนชุมชน สู่นโยบายระดับชาติ กระบวนงาน/ระยะเวลา ต.ค.๒๕๕๕ -ก.ย.๒๕๕๘ ต.ค.๒๕๕๕ -ก.ย.๒๕๕๘ ต.ค.๒๕๕๕ -ก.ย.๒๕๕๘ แผนงานวิจัยและพัฒนา • วิจัยและพัฒนากลไกบูรณาการขับเคลื่อนกระบวนการแผนชุมชน แผนงานพัฒนาเจ้าหน้าที่และเครื่องมือในการส่งเสริม • ศึกษาระบบแผนชุมชนระดับตำบล • ส่งเสริมและพัฒนาวิทยากรกระบวนการชุมชน • สนับสนุนสื่อ และเครื่องมือในการบูรณาการ แผนชุมชน • พัฒนาเครื่องมือในการวิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศชุมชนเพื่อใช้ในการจัดทำ/ทบทวนแผนชุมชน • ส่งเสริมและสนับสนุนเครือข่ายคนทำแผน • พัฒนาจุดยืนทางยุทธศาสตร์ในการส่งเสริมกระบวนการแผนชุมชน แผนงานส่งเสริมและพัฒนาเครื่องการตรวจสอบรับรองแผนชุมชน • พัฒนาระบบฐานข้อมูลแผนชุมชน • พัฒนาระบบประเมินและรับรองมาตรฐานแผนของชุมชน • ศึกษาและพัฒนากระบวนการบูรณาการแผนชุมชน • ศึกษาและพัฒนาเส้นทางการทำแผนชุมชน (รู้จักแผนรู้จักชุมชน) • ส่งเสริมการนำแผนชุมชนไปใช้ประโยชน์ • สร้างการเพิ่มคุณค่าของแผนชุมชน แผนงานเพิ่มมูลค่าเพิ่มของแผนชุมชน • จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การทำแผนชุมชน และจัด Event แผนชุมชน • ประกวดแผนชุมชนมีชีวิต • สัมมนาทางวิชาการแผนดี สังคมดี มีคุณภาพระดับชาติ • พัฒนาวิสัยทัศน์ชุมชน แผนงานสนับสนุนสู่นโยบายระดับชาติ • สนับสนุนการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชุมชนโดยใช้แผนชุมชนเพื่อประกาศเป็นนโยบายระดับชาติ Best Practice แผนงานหลัก/โครงการ Flagship

  18. ผู้รับผิดชอบหลัก : สสช ผู้มีส่วนร่วม : สภว.สทอ.ศสช. สพช. ผู้ปฏิบัติ : สพจ. สพอ. ยุทธศาสตร์ที่ ๓เสริมสร้างขีดความสามารถในการบริหารงานชุมชนเป้าประสงค์ยุทธศาสตร์ : ชุมชนมีขีดความสามารถในการบริหารจัดการแบบบูรณาการ กลยุทธ์ ๓.๔ เพิ่มขีดความสามารถผู้นำ องค์กร เครือข่าย ในการบริหารจัดการชุมชน ผู้นำ/องค์กร/เครือข่าย มีขีดความสามารถในการ บริหารจัดการชุมชน สร้างคุณค่าผู้นำ องค์กร เครือข่าย พัฒนากลไกในการ บริหารจัดการชุมชน เสริมสร้างพลังเครือข่าย ต.ค.๒๕๕๔ -ก.ย.๒๕๕๘ ต.ค.๒๕๕๔ -ก.ย.๒๕๕๘ ต.ค.๒๕๕๔ -ก.ย.๒๕๕๘ กระบวนงาน/ระยะเวลา แผนงานวิจัยและพัฒนา • ศึกษาวิจัยเชิงปฏิบัติการผู้นำ/องค์กร/เครือข่าย แผนงานพัฒนากลไกการบริหารจัดการชุมชน • สร้างผู้นำชุมชนรุ่นใหม่ให้มีอุดมการณ์ คุณธรรมและ มาตรฐานในงานพัฒนา • เพิ่มศักยภาพและเสริมทักษะผู้นำ/องค์กร/เครือข่าย ให้ เป็นผู้ชำนาญการด้านการบริหารจัดการชุมชน • จัดตั้งโรงเรียนอาสาพัฒนาชุมชน • จัดทำและขับเคลื่อนแผนแม่บทลูกค้าสัมพันธ์ สู่การปฏิบัติ • จัดทำสื่อเพื่อการพัฒนาศักยภาพผู้นำ/องค์กร/เครือข่าย • พัฒนา/ออกระเบียบกฎหมายรองรับ แผนงานส่งเสริมและพัฒนาผู้นำชุมชน • ส่งเสริมและผลักดันให้เข้าสู่ถาบันการศึกษา/การพัฒนาระดับสูงทั้งในและต่างประเทศ • จัดสวัสดิการผู้นำองค์กรเครือข่าย (อาชีพ ค่าตอบแทน ความรู้ฯ) • จัดตั้งคณะกรรมการส่งเสริมประสานความร่วมมืออาสาสมัครชุมชนทุกระดับ (ภาครัฐ ภาคประชาชน) แผนงานเสริมสร้างพลังเครือข่าย • ประสานและบูรณาการความร่วมมือภาคีการทำงานทั้งในและต่างประเทศ • จัดตั้งสำนักงานกลางศูนย์ประสานงานองค์การชุมชน • เพิ่มศักยภาพคณะกรรมการศูนย์ประสานงานองค์การชุมชน และกลุ่มองค์กร(สตรี เยาวชน สมาคม สมาพันธ์ฯ) • สร้างความร่วมมือเพื่อการพัฒนาผู้นำชุมชน/องค์กร เครือข่ายระหว่างประเทศ(อาเซี่ยน) • ส่งเสริมให้มีการจัดตั้งเครือข่ายทุกระดับ แผนงานเสริมสร้างคุณค่าและประชาสัมพันธ์ • จัดเวทีรวมพลังเครือข่ายพัฒนาชุมชนระดับชาติ • ยกย่องเชิดชูเกียรติ • พัฒนาฐานข้อมูลผู้นำ องค์กร เครือข่าย • สร้างภาคีการพัฒนาชุมชนระหว่างประเทศ • เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ผลงานในระดับชาติ • จัดตั้งทีมที่ปรึกษากรมฯจากภาคประชาชน • ส่งเสริมให้เข้าสู่เวทีระดับชาติและเข้าร่วมเป็นคณะทำงานในระดับชาติและสากล • สนับสนุนการศึกษาดูงานในและต่างประเทศ แผนงาน/โครงการ

  19. ผู้รับผิดชอบหลัก : สสช ผู้มีส่วนร่วม : สภว.สทอ.ศสช. ผู้ปฏิบัติ : สพจ. สพอ. ยุทธศาสตร์ที่ ๓เสริมสร้างขีดความสามารถในการบริหารงานชุมชนเป้าประสงค์ยุทธศาสตร์ : ชุมชนมีขีดความสามารถในการบริหารจัดการแบบบูรณาการ กลยุทธ์ ๓.๕ พัฒนาระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน (ยกไป ๓.๔) ผู้นำ/กลุ่มองค์กร/เครือข่าย /ชุมชน ใช้ระบบ มาตรฐานการพัฒนาชุมชน ในการบริหารจัดการ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ พัฒนามาตรฐาน การพัฒนาชุมชน ส่งเสริม มาตรฐานการพัฒนาชุมชน สร้างคุณค่ามาตรฐาน การพัฒนาชุมชน กระบวนงาน/ระยะเวลา ต.ค.๒๕๕๔ -ก.ย.๒๕๕๘ ต.ค.๒๕๕๔ -ก.ย.๒๕๕๘ ต.ค.๒๕๕๔ -ก.ย.๒๕๕๘ แผนงานส่งเสริมกระบวนการของมาตรฐานการพัฒนาชุมชน • ดำเนินการประเมินมาตรฐานการพัฒนาชุมชน • สนับสนุนสื่อ เครื่องมือ ในการสร้างความเข้าใจกับภาคีและผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้อง • สัมมนาคณะกรรมการประเมินมาตรฐานการพัฒนาชุมชน • กำหนดมาตรการเพื่อจูงใจให้ กลุ่มเป้าหมายเข้าสู่ระบบ แผนงานเสริมสร้างคุณค่า • สัมมนาเพื่อกำหนดแนวทางการสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับผู้ผ่านมาตรฐานการพัฒนาชุมชน • สร้างการยอมรับมาตรฐานการพัฒนาชุมชน • ยกย่อง เชิดชูเกียรติให้กับการผ่านมาตรฐานการพัฒนาชุมชน • ประชาสัมพันธ์ เผยแพร่ ผู้ผ่านมาตรฐาน แผนงานวิจัยและพัฒนา • ศึกษา วิจัย รูปแบบ /ระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชน • ร่วมกับภาคีในการจัดทำมาตรฐานการพัฒนาชุมชน แผนงานพัฒนามาตรฐานการพัฒนาชุมชน • สร้างและพัฒนากลไกการขับเคลื่อนมาตรฐานการพัฒนาชุมชน • พัฒนาระบบมาตรฐานการพัฒนาชุมชนสู่สถาบันรับรองมาตรฐานการพัฒนาชุมชน. • กำหนดเกณฑ์มาตรฐานกลางการพัฒนาชุมชนของเจ้าหน้าที่และชุมชน แผนงาน/โครงการ

  20. ยุทธศาสตร์ที่ ๔ เสริมสร้างธรรมาภิบาลและความมั่นคงของทุนชุมชน เป้าประสงค์ยุทธศาสตร์ ชุมชนมีธรรมาภิบาลและความมั่นคง กลยุทธ์ ๔.๑ส่งเสริมธรรมาภิบาลของกองทุนชุมชน ๔.๒ ส่งเสริมสถาบันการจัดการเงินทุนชุมชน ๔.๓ ส่งเสริมความสมดุลของทุนชุมชน

  21. ยุทธศาสตร์ที่ ๔ เสริมสร้างธรรมาภิบาลและความมั่นคงของทุนชุมชน มิติประสิทธิผลตามยุทธศาสตร์ (เป้าประสงค์ของประเด็นยุทธศาสตร์) ชุมชนมีธรรมาภิบาลและความมั่นคง มิติคุณภาพการให้บริการ(ความต้องการของลูกค้า) สถาบันการจัดการเงินทุนชุมชนสามารถแก้ปัญหาหนี้นอกระบบของสมาชิกได้ ชุมชนมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการทุนชุมชน กองทุนชุมชนมีธรรมาภิบาล ส่งเสริมความสมดุลของ ทุนชุมชน ส่งเสริมธรรมาภิบาลของ กองทุนชุมชน ส่งเสริมสถาบันการจัดการ เงินทุนชุมชน มิติประสิทธิภาพการปฏิบัติราชการ(กลยุทธ์) วิจัยพัฒนาและจัดการความรู้ ด้านทุนชุมชน พัฒนา/สร้าง ผู้เชี่ยวชาญด้าน ทุนชุมชน พัฒนาระบบข้อมูล ทุนชุมชน มิติการพัฒนาองค์กร(ปัจจัยในการบริหาร)

  22. ยุทธศาสตร์ที่ ๔ เสริมสร้างธรรมาภิบาลและความมั่นคงของทุนชุมชน เป้าประสงค์ยุทธศาสตร์ : ชุมชนมีธรรมาภิบาลและความมั่นคง กลยุทธ์ ๔.๑ : ส่งเสริมธรรมาภิบาลของกองทุนชุมชน ผู้รับผิดชอบหลัก :สทอ. ผู้มีส่วนร่วม :กผ. ศทธ. สสช. สภว. สพช. ผู้ปฏิบัติ :สทอ. สพจ. สพอ. พัฒนาระบบธรรมมาภิบาล ส่งเสริมระบบธรรมาภิบาล สนับสนุนและพัฒนา กองทุนชุมชนสู่ธรรมาภิบาล การประเมินรับรอง กองทุนชุมชน มีธรรมาภิบาล กระบวนงาน/ระยะเวลา ต.ค.๒๕๕๔ -ก.ย.๒๕๕๘ ต.ค.๒๕๕๔ -ก.ย.๒๕๕๘ ต.ค.๒๕๕๔ -ก.ย.๒๕๕๘ ต.ค.๒๕๕๔ -ก.ย.๒๕๕๘ ๑.พัฒนาระบบข้อมูลกองทุนชุมชน ๒.ส่งเสริมการใช้ประโยชน์ข้อมูลกองทุนชุมชน ๓.พัฒนาประสิทธิภาพกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตและกองทุน กข.คจ. ๔.ส่งเสริมการออมภาคครัวเรือนในชุมชน ๕.สร้างผู้เชี่ยวชาวกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต ๖.เชิดชูผู้นำกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต ๗.๔๐ ปีกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตพัฒนาคุณภาพชีวิตคนในชุมชน ๘.วิจัยและพัฒนากลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต ๙.ส่งเสริมการจัดการความรู้กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตและกองทุน กข.คจ. ๑๐.จัดตั้งศูนย์ศึกษาและพัฒนากลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต ๑๑.ประชาสัมพันธ์การดำเนินงานกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตและกองทุน กข.คจ. (เชิงรุก) ๑๒.ฟื้นฟูสมาคมกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต ๑.ส่งเสริมกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตด้านธุรกิจตามระบบธรรมาภิบาล ๒.พัฒนาเครือข่ายของกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตและกองทุน กข.คจ. ๓.ส่งเสริมกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตและกองทุน กข.คจ.เข้าสู่ระบบธรรมาภิบาล ๔.ส่งเสริมแผนธุรกิจ กองทุน กข.คจ. และกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต (บัญชีและธุรกรรมการเงิน, SWOT) ๑.พัฒนาระบบตรวจสอบกองทุนชุมชน (กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตและกองทุน กข.คจ.) ๒.ตรวจสุขภาพทางการเงินกองทุนชุมชน (กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตและกองทุน กข.คจ.) ๓.ส่งเสริมกองทุนชุมชน (กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตและกองทุน กข.คจ.ดำเนินงานตามหลักธรรมาภิบาล ๔.ส่งเสริมกองทุนชุมชน (กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตและกองทุน กข.คจ.ดำเนินงานบริหารความเสี่ยง ๕.ส่งเสริมกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตและกองทุน กข.คจ.ต้นแบบด้านธรรมาภิบาล ๖.ส่งเสริมกองทุนชุมชน (กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตและกองทุน กข.คจ.)จัดกิจกรรมเพื่อสังคม(CSR) ๑.พัฒนามาตรฐานกลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตและกองทุน กข.คจ. ๒.ส่งเสริมกองทุนชุมชน (กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตและกองทุน กข.คจ.เข้าสู่ระบบมาตรฐานกองทุนชุมชน ๓.ประกาศเผยแพร่กองทุนชุมชน (กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตและกองทุน กข.คจ.)ที่ได้รับมาตรฐานตามหลักธรรมาภิบาล ๔สร้างตัววัดระบบการทำงานของกองทุนชุมชน (กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิตและกองทุน กข.คจ.) แผนงาน/โครงการ

  23. ผู้รับผิดชอบหลัก :สทอ. ผู้มีส่วนร่วม : ผู้ปฏิบัติ : ยุทธศาสตร์ที่ ๔ เสริมสร้างธรรมาภิบาลและความมั่นคงของทุนชุมชน เป้าประสงค์ยุทธศาสตร์ : ชุมชนมีธรรมาภิบาลและความมั่นคง กลยุทธ์ ๔.๒ : ส่งเสริมสถาบันการจัดการเงินทุนชุมชน ส่งเสริมการจัดตั้งสถาบัน การจัดการเงินทุนชุมชน พัฒนาศักยภาพสถาบัน การจัดการเงินทุนชุมชน สนับสนุนการพัฒนา สถานภาพสถาบัน การจัดการเงินทุนชุมชน สถาบันการจัดการ เงินทุนชุมชนสามารถ แก้ปัญหาหนี้สิน ของสมาชิกได้ วิจัยและพัฒนา การดำเนินงานสถาบัน การจัดการเงินทุนชุมชน กระบวนงาน/ระยะเวลา ต.ค.๒๕๕๔ -ก.ย.๒๕๕๘ ต.ค.๒๕๕๔ -ก.ย.๒๕๕๘ ต.ค.๒๕๕๔ -ก.ย.๒๕๕๘ ต.ค.๒๕๕๔ -ก.ย.๒๕๕๘ ๑.ส่งเสริมการบูรณาการกองทุนชุมชนเพื่อจัดตั้งสถาบันการจัดการเงินทุนชุมชน ๒.เสริมสร้างทักษะคณะกรรมการบริหารสถาบันการจัดการเงินทุนชุมชน ๓.จัดทำสื่อสนับสนุนการจัดตั้งสถาบันการจัดการเงินทุนชุมชน ๑.ส่งเสริมสถาบันการจัดการเงินทุนชุมชนต้นแบบด้านธรรมาภิบาล ๒.ส่งเสริมการรับรองสถานภาพสถาบันการจัดการเงินทุนชุมชน ๓.ส่งเสริมให้สถาบันการจัดการเงินทุนชุมชนเป็นองค์กรหลักด้านการเงินของชุมชน ๑.เพิ่มประสิทธิภาพเจ้าหน้าที่สนับสนุนการดำเนินงานสถาบันการจัดการเงินทุนชุมชน ๒.ส่งเสริมการใช้ IT ในการบริหารจัดการสถาบันการจัดการเงินทุนชุมชน ๓.ตรวจสุขภาพทางการเงินสถาบันการจัดการเงินทุนชุมชน ๔.ส่งเสริมการใช้ธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการสถาบันการจัดการเงินทุนชุมชน ๕.ส่งเสริมมาตรฐานสถาบันการจัดการเงินทุนชุมชน ๖.จัดทำระบบสาสนเทศเพื่อการพัฒนาสถาบันการจัดการเงินทุนชุมชน ๗.ส่งเสริมสถาบันการจัดการเงินทุนชุมชนในการแก้หนี้นอกระบบ ๘.ส่งเสริมสถาบันการจัดการเงินทุนชุมชนจัดสวัสดิการชุมชน ๑.วิจัยและพัฒนาการดำเนินงานสถาบันการจัดการเงินทุนชุมชน ๒.ส่งเสริมการบริหารจัดการความรู้สถาบันการจัดการเงินทุนชุมชน ๓.เผยแพร่ผลงานของสถาบันการจัดการเงินทุนชุมชนต่อสาธารณะ แผนงาน/โครงการ

  24. ยุทธศาสตร์ที่ ๔ เสริมสร้างธรรมาภิบาลและความมั่นคงของทุนชุมชน เป้าประสงค์ยุทธศาสตร์ : ชุมชนมีธรรมาภิบาลและความมั่นคง กลยุทธ์ ๔.๓ : ส่งเสริมความสมดุลของทุนชุมชน ผู้รับผิดชอบหลัก :สทอ. ผู้มีส่วนร่วม : ผู้ปฏิบัติ : สพจ. สพอ. พัฒนาระบบสารสนเทศและ ดัชนีทุนชุมชน พัฒนาระบบสนับสนุน การพัฒนาทุนชุมชน ส่งเสริมและสนับสนุนการใช้ ประโยชน์จากทุนชุมชน ชุมชนมีส่วนร่วมใน การบริหารจัดการ ทุนชุมชน กระบวนงาน/ระยะเวลา ต.ค.๒๕๕๔ -ก.ย.๒๕๕๘ ต.ค.๒๕๕๔ -ก.ย.๒๕๕๘ ต.ค.๒๕๕๔ -ก.ย.๒๕๕๘ ๑.จัดทำโปรแกรมการวิเคราะห์และประมวลผลข้อมูลทุนชุมชน ๒.จัดทำดัชนีวัดทุนชุมชน ๓.พัฒนาระบบฐานความรู้การพัฒนาทุนชุมชนในพื้นที่โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ ๔.พัฒนาฐานข้อมูลพื้นที่ที่สามารถขยายผลการดำเนินงานทุนชุมชนตามแนวทางพระราชดำริ ๕.จัดทำระบบเฝ้าระวังทุนชุมชน ๑.เสริมสร้างระบบการบริหารจัดการทุนชุมชน ๒.ศึกษา/วิจัยการบริหารจัดการทุนชุมชน ๓.ส่งเสริมการจัดการความรู้การพัฒนาทุนชุมชนตามแนวพระราชดำริ ๔.โครงการศูนย์เรียนรู้การพัฒนาทุนชุมชนตามแนวพระราชดำริ ๕.สร้างผู้นำการพัฒนาทุนชุมชน ๖.กำหนดบทบาทของกรมฯในการพัฒนาทุนชุมชน ๗.สร้างเครือข่ายภาคีความร่วมมือในการบริหารจัดการทุนชุมชน ๘.จัดเวทีเครือข่ายภาคีเพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณ์การพัฒนาทุนชุมชน ๑.ส่งเสริมการใช้ประโยชน์จากทุนชุมชนในการสร้างมูลค่าเพิ่มแก่ชุมชน ๒. ส่งเสริมการใช้ประโยชน์จากทุนชุมชนในการแก้ไขปัญหาของชุมชน ๓.ประชาสัมพันธ์และเผยแพร่การพัฒนาทุนชุมชนผ่านช่องทางสื่อต่างๆ ๔.จัดแสดงผลงานการพัฒนาทุนชุมชนในพื้นที่ปกติและพื้นที่โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ ๕.ส่งเสริมหมู่บ้านต้นแบบด้านการบูรณาการทุนชุมชน ๖.ส่งเสริมการพัฒนาทุนชุมชนตามแนวนโยบายเศรษฐกิจสร้างสรรค์ แผนงาน/โครงการ

  25. ยุทธศาสตร์ที่ ๕ เสริมสร้างองค์กรให้มีขีดสมรรถนะสูง เป้าประสงค์ยุทธศาสตร์ สร้างความเชื่อมั่นในยุทธศาสตร์ บุคลากร และองค์กร กลยุทธ์ ๕.๑พัฒนาระบบบริหารยุทธศาสตร์ที่เอื้อต่อการเปลี่ยนแปลง ๕.๒ พัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐและนวัตกรรม ๕.๓ บริหารทรัพยากรบุคคลเชิงยุทธศาสตร์เพื่อเพิ่มขีดสมรรถนะองค์กร ๕.๔ พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการบริหารยุทธศาสตร์ ๕.๕ พัฒนาระบบที่ปรึกษาชุมชน ๕.๖ เสริมสร้างภาพลักษณ์ขององค์กร

  26. ยุทธศาสตร์ ที่ 5เสริมสร้างองค์กรให้มีขีดสมรรถนะสูง สร้างความเชื่อมั่นใน ยุทธศาสตร์ บุคลากร และองค์กร มิติประสิทธิผลตามยุทธศาสตร์ (เป้าประสงค์ของประเด็นยุทธศาสตร์ มิติคุณภาพการให้บริการ (ความต้องการของลูกค้า ที่ปรึกษาชุมชน ที่รู้รอบ รู้ลึก จริงใจ ที่มีแนวคิดและการสนับสนุนเพื่อการพัฒนาที่เหมาะสม จัดทำข้อเสนอและขับเคลื่อนนโยบายของรัฐบาลอย่างมีประสิทธิภาพ ข้อมูลที่ถูกต้องเป็นประโยชน์และเครือข่ายความร่วมมือ หน่วยงานรัฐ เอกชน/NGO ชุมชน กลุ่ม องค์กร เครือข่าย ประชาชน รัฐบาล พัฒนาระบบบริหารยุทธศาสตร์ที่เอื้อต่อ การเปลี่ยนแปลง พัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐและนวัตกรรม พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการบริหารยุทธศาสตร์ พัฒนาระบบที่ปรึกษาชุมชน บริหารทรัพยากรบุคคลเชิงยุทธศาสตร์เพื่อเพิ่มขีดสมรรถนะองค์กร เสริมสร้างภาพลักษณ์ขององค์กร มิติประสิทธิภาพการปฏิบัติราชการ (กลยุทธ์) พัฒนาระบบ IT เพื่อสนับสนุนการบริหารและการบริการ สร้างระบบบริหารจัดการด้าน HR (HRM/HRD) จัดโครงสร้างและระบบบริหารยุทธศาสตร์ที่เอื้อต่อการส่งเสริมความรู้ทักษะเชิงนวัตกรรม เพิ่มประสิทธิภาพ KM และ R&D มิติการพัฒนาองค์กร (ปัจจัยในการบริหาร)

  27. ยุทธศาสตร์ที่ ๕การเสริมสร้างองค์กรให้มีขีดสมรรถนะสูงเป้าประสงค์ยุทธศาสตร์: สร้างความเชื่อมั่นในยุทธศาสตร์ บุคลากร และองค์กรกลยุทธ์ ๕.๑ พัฒนาระบบบริหารยุทธศาสตร์ที่เอื้อต่อการเปลี่ยนแปลง ผู้รับผิดชอบหลัก : กผ ผู้มีส่วนร่วม ศสท. สพช. ก.พ.ร. ผู้ปฏิบัติ องค์กรขับเคลื่อน ด้วยระบบบริหารยุทธศาสตร์ที่มีประสิทธิภาพ สร้างระบบและเครื่องมือ บริหารยุทธศาสตร์ ขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ กำหนดยุทธศาสตร์ กำกับ ติดตาม และประเมินผล การบริหารยุทธศาสตร์ ต.ค.๒๕๕๔ - ก.ย. ๒๕๕๘ -สร้างและพัฒนาระบบบริหารยุทธศาสตร์ -พัฒนากระบวนการวิเคราะห์ผลกระทบต่อการบริหารยุทธศาสตร์ -ปรับปรุงระบบสนับสนุนการบริหารเชิงยุทธศาสตร์ (วิธีงบประมาณ/การมอบอำนาจ/การประเมินผล) -พัฒนาบุคลากรด้านบริหารยุทธศาสตร์สู่การเป็นนักยุทธศาสตร์มืออาชีพ -พัฒนาเครื่องมือเพื่อการวิเคราะห์และการบริหารงานทางยุทธศาสตร์ -จัดตั้งสำนักบริหารยุทธศาสตร์การพัฒนาชุมชนแห่งชาติ -สร้างองค์กรที่ปรึกษายุทธศาสตร์กรมการพัฒนาชุมชน -การพัฒนาระบบงบประมาณโดยมีประชาชนเป็นศูนย์กลาง Beyond Budgeting -การพัฒนารูปแบบที่เหมาะสมในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ มุมแห่งการเรียนรู้ทางยุทธศาสตร์ -การบริหารงบประมาณตามหลักธรรมาภิบาล -การดำเนินงานระบบ IPA สู่ความเป็นเลิศ -พัฒนาระบบศูนย์สารสนเทศเพื่อการบริหารยุทธศาสตร์ (Cockpit) -ประชุมทางวิชาการประจำปีว่าด้วยการพัฒนาชุมชน -พัฒนาช่องทางการสื่อสารยุทธศาสตร์ที่มีประสิทธิภาพ -พัฒนากลไกการติดตามและประเมินผลแบบบูรณาการ -ปรับปรุงระบบรายงานแบบมุ่งผลสัมฤทธิ์ Online Reportingcenter -พัฒนากลไกการบริหารความเสี่ยงทั่วทั้งองค์กร -พัฒนารูปแบบการประเมินผลสำเร็จตามแผนปฏิบัติราชการกรม -พัฒนาดัชนีวัดผลสัมฤทธิ์ของกรมฯ เชิงคุณภาพ -ประชุมทางวิชาการเสนอผลการติดตามประเมินผล -พัฒนาระบบความร่วมมือกับองค์กร มูลนิธิในอาเซียน ต่างประเทศ เพื่อเทียบเคียงและยกระดับระบบยุทธศาสตร์กรมฯ -สร้างแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาชุมชนแห่งชาติ -พัฒนารูปแบบการมีส่วนร่วมในการบริหารยุทธศาสตร์ของ ประชาชน และ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

  28. ยุทธศาสตร์ที่ ๕การเสริมสร้างองค์กรให้มีขีดสมรรถนะสูงเป้าประสงค์ยุทธศาสตร์: สร้างความเชื่อมั่นในยุทธศาสตร์ บุคลากร และองค์กรกลยุทธ์ ๕.๒ พัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐและนวัตกรรม ผู้รับผิดชอบหลัก คณะกรรมการ กพร. กรมการพัฒนาชุมชน ผู้มีส่วนร่วม สำนัก กอง ศูนย์ สถาบัน ผู้ปฏิบัติ กพร.(หน่วยเลขานุการ) ความเป็นเลิศ ด้านคุณภาพ การบริหารจัดการ องค์กรแห่นวัตกรรม การประเมินองค์กร แห่งนวัตกรรม พัฒนาคุณภาพการบริหาร จัดการภาครัฐสู่ความก้าวหน้า การจัดการองค์ความรู้ และพัฒนาสู่ความโดดเด่น รายหมวด วิจัยและพัฒนาองค์กร แห่งนวัตกรรม ต.ค.๒๕๕๔-ก.ย.๒๕๕๕ ต.ค.๒๕๕๖-ก.ย.๒๕๕๗ ต.ค.๒๕๕๕-ก.ย.๒๕๕๖ ต.ค.๒๕๕๗-ก.ย.๒๕๕๘ • **ยกระดับการพัฒนาองค์กรตามเกณฑ์ PMQA ระดับก้าวหน้า • ส่งเสริมและสนับสนุนให้หน่วยงานในส่วนกลางพัฒนาองค์กรตามเกณฑ์ทั้ง ๗ หมวด • หาคู่เทียบ * รวบรวมและส่งเสริมองค์ความรู้ด้านคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐทั้งหมด -พัฒนาช่องทางการเข้าถึง องค์ความรู้ด้านการบริหารจัดการภาครัฐที่มีประสิทธิภาพ (Electronic/ blog ฯลฯ) -บูรณาการ/เชื่อมโยงแผนพัฒนาองค์กรกับแผนยุทธศาสตร์และแผนปฎิบัติการกรมฯ -ขยายผลพัฒนาองค์กรตามเกณฑ์ทั้ง ๗ หมวดสู่ภูมิภาค(๗๕จังหวัด) แผนงานวิจัยองค์กรแห่งนวัตกรรม -จัดทำข้อเสนอการเปลี่ยนแปลง (Blue print) -ประกาศแผนพัฒนาองค์กรแห่งนวัตกรรม -ประเมินผลตามแผนฯ และประกาศเป็นองค์กรแห่งนวัตกรรม • แผนงานสมัครเข้าแข่งขัน • -สมัครเข้ารับรางวัลคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ PMQA (แข่งขันกับหน่วยงานภาครัฐ) • สมัครเข้ารับรางวัลคุณภาพการบริหารจัดการองค์กร TQM (แข่งขันกับหน่วยงานเอกชน)

  29. ยุทธศาสตร์ที่ ๕การเสริมสร้างองค์กรให้มีขีดสมรรถนะสูงเป้าประสงค์ยุทธศาสตร์ : การสร้างความเชื่อมั่นในยุทธศาสตร์ บุคลากร และองค์กรกลยุทธ์ ๕.๓ บริหารทรัพยากรบุคคลเชิงยุทธศาสตร์เพื่อเพิ่มขีดสมรรถนะองค์กร ผู้รับผิดชอบหลัก กจ./สถาบัน ผู้มีส่วนร่วม กพร./สล./กค. ผู้ปฏิบัติ เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบ คน พช. เก่ง + ดี + มีความสุข เพิ่มประสิทธิภาพ ระบบ HR ทีเอื้อต่อการบริหารยุทธศาสตร์ พัฒนาสมรรถนะของบุคลากร พัฒนาค่านิยมองค์กร สู่วัฒนธรรมองค์กร เสริมสร้างสมดุลคุณภาพชีวิต การทำงานของบุคลากร ต.ค.๒๕๕๔-ก.ย.๒๕๕๘ ต.ค.๒๕๕๔-ก.ย.๒๕๕๘ ต.ค.๒๕๕๔-ก.ย.๒๕๕๘ ต.ค.๒๕๕๔-ก.ย.๒๕๕๘ • บูรณาการแผน (HRM+HRD)แผนยุทธศาสตร์การบริหาร HR ปี ๕๕-๕๘ • การวิจัยด้านกำลังคน • พัฒนาระบบสรรหา • เชิงกลยุทธ์ที่มีความรับผิดชอบ • แนวทาง/หลักเกณฑ์ด้านการบริหารกำลังคนแต่ละกลุ่ม • พัฒนาระบบพี่เลี้ยง -ขับเคลื่อนแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาบุคลากรกรมปี ๕๕-๕๘ -ขับเคลื่อนTraining road map -วิจัย เพื่อพัฒนาสมรรถนะบุคลากร (พัฒนาระบบหรือขีดสมรรถนะของคน) -career Management (ให้เพิ่มเติมคำกริยา) *การศึกษาวิจัยผลสำเร็จของการขับเคลื่อนค่านิยมองค์การ:กรณีศึกษา จ.อุทัยธานี (55) -เวทีนำสู่ผู้บริหาร (55) -ปีแห่งการรณรงค์ค่านิยมองค์การ... (56-58) -กำหนดมาตรฐานการปฏิบัติภายใต้ค่านิยม (57) -ประกาศวัฒนธรรมองค์กรกรมการพัฒนาชุมชน (58) -ขับเคลื่อนแผนสร้างความ ผาสุกของบุคลากรกรมฯ -ขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การดำเนินงานด้านคุณภาพชีวิต ตามแนวทาง ก.พ. -ศึกษา และกำหนดกระบวนการทำงานของพัฒนากร -จัดทำคู่มือการปฏิบัติงาน ของ พัฒนากร

  30. ยุทธศาสตร์ที่ ๕เสริมสร้างองค์กรให้มีขีดสมรรถนะสูงเป้าประสงค์ยุทธศาสตร์: เกิดความเชื่อมั่นในระดับยุทธศาสตร์ บุคลากร และองค์กรกลยุทธ์ ๕.๔ พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการบริหารยุทธศาสตร์ ผู้รับผิดชอบหลัก : ศสท ผู้มีส่วนร่วม : สสช สภว สทอ สพช ผู้ปฏิบัติ การพัฒนาระบบสารสนเทศ เพื่อการบริหารยุทธศาสตร์ มีระบบ ICT เพื่อการบริหารยุทธศาสตร์และบริหารจัดการชุมชนอย่างมีประสิทธิภาพ การบริหารจัดการระบบ ICT อย่างมีธรรมาภิบาล การพัฒนาโครงสร้าง พื้นฐาน ICT ต.ค.๒๕๕๔-ก.ย.๒๕๕๘ ต.ค.๒๕๕๔-ก.ย.๒๕๕๘ ต.ค.๒๕๕๔-ก.ย.๒๕๕๘ • การเพิ่มประสิทธิภาพการใช้ประโยชน์จากระบบ ICT ให้เกิดความคุ้มค่า • พัฒนาสมรรถนะของเครื่องมืออุปกรณ์ด้าน ICT • พัฒนาระบบเชื่อมโยงเครือข่ายและ • การสื่อสารผ่านระบบเครือข่าย • พัฒนาระบบการรักษาความปลอดภัยแก่โครงข่าย ICT • พัฒนาระบบการให้บริการด้านรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ e-Government • และการเชื่อมโยงข้อมูลภาครัฐ (e-GIF) -วิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร -ออกแบบและพัฒนาระบบงานฐานข้อมูลสนับสนุนยุทธศาสตร์ -พัฒนาคลังข้อมูลเพื่อการบริหารยุทธศาสตร์ -ออกแบบและพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ (จัดการฐานข้อมูล ระบบงาน ฯลฯ) -พัฒนาคณะทำงาน ICTจากทุกภาคส่วนของกรมฯ -พัฒนามาตรฐานด้าน ICTจากทุกภาคส่วนของกรมฯ -พัฒนามาตรฐานระบบความปลอดภัยของ ICT(การสำรองข้อมูล พิสูจน์ตัวตน การป้องกันไวรัส ฯลฯ) -เพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารโครงข่ายคอมพิวเตอร์ -ศึกษาติดตามความก้าวหน้าของ ICTนำมาใช้กับกรมฯ

  31. ยุทธศาสตร์ที่ ๑การเสริมสร้างองค์กรให้มีขีดสมรรถนะสูงเป้าประสงค์ยุทธศาสตร์ : การสร้างความเชื่อมั่นในยุทธศาสตร์ บุคลากร และองค์กรกลยุทธ์ ๕.๕ พัฒนาระบบที่ปรึกษาชุมชน ผู้รับผิดชอบหลัก : สพช ผู้มีส่วนร่วม ศสท สสช สภว สทอ กจ ก.พ.ร. ผู้ปฏิบัติ กรมได้กรอบความคิดในการปรับเปลี่ยนระบบการทำงาน ออกแบบระบบที่ปรึกษาชุมชน ขับเคลื่อนระบบการทำงาน ติดตามประเมินผล ตค.๒๕๕๔- กย.๒๕๕๖ ตค.๒๕๕๖-กย.๒๕๕๗ ตค.๒๕๕๗-กย.๒๕๕๘ • สื่อสารสร้างความเข้าใจระบบที่ปรึกษาชุมชน • จัดกิจกรรมเสนอผลการดำเนินงาน/การจัดการความรู้/การให้คำปรึกษา -สร้างและออกแบบระบบที่ปรึกษาชุมชน -ทดลองระบบที่ปรึกษาชุมชนในพื้นที่ต้นแบบ ๗๕ ตัวแบบ -ประมวลผลและนำเสนอรูปแบบที่ปรึกษาชุมชน สู่ระดับนโยบา -จัดทำโครงสร้างองค์กร กฎหมาย ระเบียบ หลักเกณฑ์การดำเนินงาน บุคลากร ทรัพยากร และการสนับสนุนอื่นๆเพื่อขับเคลื่อนระบบ (ปีแรกวิจัย ปีสองทดลอง ๑๐ คน ปรับปรุง และปีสุดท้ายตัดสินใจ) • ประเมินผลการดำเนินงานระบบที่ปรึกษาชุมชน • สัมมนาทางวิชาการในการปรับเปลี่ยนระบบการทำงาน • ติดตั้งระบบที่ปรึกษา

  32. ยุทธศาสตร์ที่ ๕ เสริมสร้างองค์กรให้มีขีดสมรรถนะสูง เป้าประสงค์ยุทธศาสตร์ การสร้างความเชื่อมั่นในยุทธศาสตร์ บุคลากร และองค์กร กลยุทธ์ ๕.๖ เสริมสร้างภาพลักษณ์ขององค์กร ผู้รับผิดชอบหลัก : ปชส ผู้มีส่วนร่วม ศสท สสช สภว สทอ กจ ก.พ.ร. ผู้ปฏิบัติ กองประชาสัมพันธ์ องค์กรมีภาพลักษณ์ ที่ชัดเจน แข็งแกร่ง และเป็นที่รู้จัก การพัฒนาระบบ และกลไกการสื่อภาพลักษณ์ การติดตามและประเมิน ภาพลักษณ์องค์กร พัฒนาสื่อและการสื่อสาร ต.ค.๒๕๕๔-ก.ย.๒๕๕๖ ต.ค.๒๕๕๔-ก.ย.๒๕๕๘ ต.ค.๒๕๕๔-ก.ย.๒๕๕๘ • ๑. วิจัย พัฒนา และกำหนดยุทธศาสตร์ • การสร้างภาพลักษณ์กรมฯ • -จัดเสวนาและศึกษาทรรศนะมุมมอง • ๒. พัฒนาการประชาสัมพันธ์เชิงรุก • แบบบูรณาการ (ระบบ กลไก สาร และสื่อ) • -สร้างความสัมพันธ์กับสื่อมวลชน และ • หน่วยงานภาคี • -พัฒนาสาร เครื่องมือ สื่อ บุคคล • เครือข่าย • -บริหารประเด็นข่าว Issue • Management ในแต่ละปี (จ้างที่ปรึกษา) • -กำหนด Theme การประชาสัมพันธ์ • จัดให้มีสถานีข่าว พช. CDD News Station • -สนับสนุนการผลิตและเพิ่มช่องทาง • สื่อมัลติมีเดียให้มีคุณภาพ • พัฒนาระบบและช่องทางการสื่อสาร • พัฒนาสื่อมัลติมีเดีย • -พัฒนาการสื่อสารเชิงการตลาด • -การใช้บุคคลต้นแบบมาเป็นผู้นำเสนอ • ภาพลักษณ์องค์กร CEM (Salability Marketing) -สร้างกลไกการประเมิน ภาพลักษณ์ (เช็คเรดติ้ง)

More Related