450 likes | 721 Views
การเสนอผลงาน กลุ่มพัฒนาคุณภาพงาน QC. จาก. สำนักงาน ประจำฐานปฏิบัติงาน จ.นครสวรรค์ ฝ่ายปฏิบัติการภาคเหนือ. ชื่อกลุ่ม. เมืองพระบาง. สัญลักษณ์ประจำกลุ่ม. คำขวัญประจำกลุ่ม. ร่วมแรง ร่วมพลัง ขจัดปัญหา. สมาชิกกลุ่ม 7 คน. ฝ่ายปฏิบัติการภาคเหนือ ( ฝปน.). สนง.จ.นครสวรรค์. บริหารงานทั่วไป
E N D
การเสนอผลงาน กลุ่มพัฒนาคุณภาพงาน QC.
จาก สำนักงาน ประจำฐานปฏิบัติงาน จ.นครสวรรค์ ฝ่ายปฏิบัติการภาคเหนือ
ชื่อกลุ่ม เมืองพระบาง
คำขวัญประจำกลุ่ม ร่วมแรง ร่วมพลัง ขจัดปัญหา
ฝ่ายปฏิบัติการภาคเหนือ ( ฝปน.) สนง.จ.นครสวรรค์ บริหารงานทั่วไป และเพิ่มผลผลิต งานบริการ ยานพาหนะ งานบำรุงรักษา โยธาทั่วไป
สถานที่ตั้ง สำนักงานประจำฐานปฏิบัติงาน จ.นครสวรรค์ เลขที่ 185 หมู่.10 ต.นครสวรรค์ตก อ.เมือง จ.นครสวรรค์ 60000 โทร 0-5622-2431
จดทะเบียนกลุ่ม วันที่ 26 มกราคม 2547 เลขทะเบียนที่ PL- G - 012/47 จดทะเบียนกิจกรรม วันที่ 29 มีนาคม 2549เลขทะเบียนที่ PL- A - 016/49
ที่ปรึกษากลุ่ม นายไพโรจน์ ธีรวุฒิกุลรักษ์ ช.10 หัวหน้าสำนักงานประจำฐานปฏิบัติงานจ.นครสวรรค์
การประชุมกลุ่ม วันอังคาร ของสัปดาห์ ที่ 2 และ 4 ของเดือน ระหว่างเวลา 14.30 - 15.30 น. สมาชิกเข้า ร่วมประชุม 90%
การประชุมกลุ่ม • วิเคราะห์ปัญหาและหาสาเหตุ
การเลือกหัวข้อกิจกรรมการเลือกหัวข้อกิจกรรม 1. เพิ่มคุณค่าเศษไม้ใบหญ้าขจัดปัญหามลภาวะ 2. ประหยัดน้ำประปาในการรดน้ำต้นไม้และสนามหญ้า ในบริเวณ สำนักงานฯ จ.นครสวรรค์ 3. จัดการบริหารน้ำจากธรรมชาติให้เกิดประโยชน์สูงสุด • ลดค่าใช้จ่ายในการซ่อมรถยนต์ กฟผ.จากบุคคลภายนอก • ลดเวลาในการจัดซื้อจัดจ้าง
ตารางจัดลำดับความสำคัญของปัญหาตารางจัดลำดับความสำคัญของปัญหา
ชื่อหัวข้อกิจกรรม จัดการบริหารน้ำจากธรรมชาติให้เกิดประโยชน์สูงสุด
สาเหตุในการทำกิจกรรม • ประหยัดน้ำประปาในการใช้ในโครงการชีววิถีฯ • ประหยัดพลังงานไฟฟ้า • ประหยัดทรัพยากร • นำน้ำซับจากใต้ดินมาใช้ให้เกิดประโยชน์ • เพื่อความสามัคคีในกลุ่ม
มูลเหตุจูงใจ • นำน้ำซับจากใต้ดินที่มีปริมาณที่มากมาใช้ให้เกิดประโยชน์ • ประหยัดน้ำประปา • ประหยัดพลังงานไฟฟ้า • ลดค่าใช้จ่าย • เพิ่มคุณค่าทรัพยากร • เพื่อสนองนโยบายกิจกรรมคุณภาพของผู้บริหาร
เป้าหมายกิจกรรม ลดค่าใช้จ่ายในการใช้น้ำประปา/พลังงานไฟฟ้าในแปลงโครงการชีววิถีฯ 100 %
เหตุผลในการตั้งเป้าหมายที่ลดลง 100 % คือ สามารถปรับเปลี่ยนการใช้น้ำประปาของเทศบาล ฯ มาใช้น้ำซับใต้ดินได้ทั้งหมดโดยใช้กังหันน้ำ
ตารางการแก้ปัญหา PLAN ACTION
สำรวจสภาพก่อนทำกิจกรรมสำรวจสภาพก่อนทำกิจกรรม
แผนภูมิก้างปลา อุปกรณ์ เครื่องมือ อุปกรณ์ซ่อมมีไม่เพียงพอ ใช้เวลาในการซ่อมนาน เครื่องมือเครื่องใช้ไม่เพียงพอ สายยางเก่าชำรุด ปั้มน้ำเสียบ่อยเพราะใช้งานตลอดเวลา สวิทซ์ลูกลอยเสียบ่อย จัดการบริหารน้ำจากธรรมชาติให้เกิดประโยชน์สูงสุด ท่อ Main รั่ว เครื่องมือขาดประสิทธิภาพ ไม่ทันสมัย คนงานรับผิดชอบ งานหลายหน้าที่ คนรดน้ำแปลงผัก สูบน้ำซับจากรางระบาย ขั้นตอนมาก คนน้อยมีพื้นที่รับผิดชอบมาก เสียค่าไฟฟ้าในการ สูบน้ำ กั้นรางระบายน้ำ เพื่อยกระดับน้ำ เปิดน้ำทิ้งไว้ตลอดเวลา คน วิธีการ
ถังสูง Storage tank 50 cubicmeter ระบบการใช้น้ำประปา ใช้งานบริเวณและรดน้ำต้นไม้สนามหญ้า จ่ายน้ำให้แฟลตและบ้านพักพื้นที่ สฟ.นครสวรรค์ จ่ายน้ำให้ที่ทำการ สนง.นครสวรรค์ ,หสน2-สส. ,หถน2-สส. หรน2-สส. Storage tank 50 cubicmeter Pump น้ำ 5 Hp 3 phase 2 ชุด รับน้ำประปาจากเทศบาล
ระบบการใช้น้ำซับ ใช้รดน้ำต้นไม้สนามหญ้า/ บ่อเลี้ยงปลา มาตรวัดน้ำ Pump น้ำ 1 Hp 1 phase 1 ชุด Storage tank รางระบายน้ำบริเวณ น้ำซับ
ระบบการใช้น้ำซับโดยกังหันน้ำ ใช้น้ำในโครงการชีววิถี ฯ มาตรวัดน้ำ กังหันน้ำ รางระบายน้ำบริเวณ น้ำซับ
เก็บข้อมูล เก็บข้อมูล ปริมาณ การใช้น้ำแต่ละวัน
เก็บข้อมูล ครั้งที่ 1 เดือน ก.พ. 2549 วันจันทร์ที่ 13 ก.พ. 2549 ได้ 10 ม3 วันอังคารที่ 14ก.พ. 2549 ได้ 8 ม3 วันพุธที่ 15ก.พ. 2549 ได้ 10 ม3 วันพฤหัสบดีที่ 16ก.พ. 2549 ได้ 10 ม3 วันศุกร์ที่ 17ก.พ. 2549 ได้ 9 ม3 ปริมาณน้ำที่น้อยกว่า 10 ม3 /วันหยุดปรับปรุงระบบ
เก็บข้อมูล ครั้งที่ 2 เดือน มี.ค. 2549 วันจันทร์ที่ 13 มี.ค. 2549 ได้ 10 ม3 วันอังคารที่ 14 มี.ค. 2549 ได้ 9 ม3 วันพุธที่ 15 มี.ค. 2549 ได้ 8 ม3 วันพฤหัสบดีที่ 15 มี.ค. 2549 ได้ 10 ม3 วันศุกร์ที่ 17 มี.ค. 2549 ได้ 10 ม3 ปริมาณน้ำที่น้อยกว่า 10 ม3 /วันหยุดปรับปรุงระบบ
เก็บข้อมูล ครั้งที่ 3 เดือน เม.ย. 2549 วันจันทร์ที่ 17 เม.ย. 2549 ได้ 10 ม3 วันอังคารที่ 18เม.ย. 2549 ได้ 10 ม3 วันพุธที่ 19เม.ย. 2549 ได้ 8 ม3 วันพฤหัสบดีที่ 20เม.ย. 2549ได้ 9 ม3 วันศุกร์ที่ 21เม.ย. 2549 ได้ 10 ม3 ปริมาณน้ำที่น้อยกว่า 10 ม3 /วันหยุดปรับปรุงระบบ
เก็บข้อมูล ครั้งที่ 4 เดือน พ.ค. 2549 วันจันทร์ที่ 15 พ.ค. 2549 ได้ 10 ม3 วันอังคารที่ 16พ.ค. 2549 ได้ 10 ม3 วันพุธที่ 17พ.ค. 2549 ได้ 8 ม3 วันพฤหัสบดีที่ 18พ.ค. 2549 ได้ 9 ม3 วันศุกร์ที่ 19พ.ค. 2549 ได้ 10 ม3 ปริมาณน้ำที่น้อยกว่า 10 ม3 /วันหยุดปรับปรุงระบบ
เก็บข้อมูล ครั้งที่ 5 เดือน มิ.ย. 2549 วันจันทร์ที่ 12 มิ.ย. 2549 ได้ 10 ม3 วันอังคารที่ 13มิ.ย. 2549 ได้ 10 ม3 วันพุธที่ 14มิ.ย. 2549 ได้ 8 ม3 วันพฤหัสบดีที่ 15มิ.ย. 2549 ได้ 9 ม3 วันศุกร์ที่ 16มิ.ย. 2549 ได้ 10 ม3 ปริมาณน้ำที่น้อยกว่า 10 ม3 /วันหยุดปรับปรุงระบบ
ข้อมูลประสิทธิภาพของกังหันน้ำข้อมูลประสิทธิภาพของกังหันน้ำ ข้อมูลการใช้น้ำ / สัปดาห์ 315 ม3 (ค่าเฉลี่ย) ข้อมูลการใช้น้ำ / เดือน 1,350 ม3 (ค่าเฉลี่ย) ข้อมูลการใช้น้ำ / ปี 70,200 ม3 เปรียบเทียบกับน้ำประปา / ปี 210,600 บาท (หน่วยละ 3 บาท ) (ยังไม่รวมค่ากระแสไฟฟ้าที่กลุ่มประหยัดได้) (12*650W.*52=405.6 kwh. 1500 ฿.)
xxxxxx xxxxx กราฟแท่งเปรียบเทียบ ก่อนการแก้ไข ปริมาณ(ประปา,น้ำซับ)
xxxx xxxx กราฟแท่งเปรียบเทียบ หลังการแก้ไข ปริมาณ(ประปา,น้ำซับ)
มาตรฐานในการทำงาน • ให้ใช้น้ำจากน้ำซับใต้ดินในโครงการชีววิถี ฯ • ตรวจสอบให้กังหันน้ำทุกช่วงเช้าและบ่ายในวันทำการ • ให้มีการจดบันทึกการใช้น้ำทุกวันโดยใช้แบบฟอร์ม • สนง.นครสวรรค์ 001
แบบฟอร์ม สนง.นครสวรรค์ 001
อุปสรรค ในการสร้างเครื่องกังหันน้ำไม่สามารถออกแบบและประกอบที่ Work shop ได้ แนวทางแก้ไข ต้องขนย้ายเครื่องมือ วัสดุอุปกรณ์มาดำเนินการ ณ ที่จุดติดตั้งกังหันน้ำ
ประโยชน์ทางตรง 1. ประหยัดน้ำประปา/ไฟฟ้าในการใช้ลดน้ำต้นไม้ • นำน้ำซับจากใต้ดินมาใช้กับบ่อเลี้ยงปลา • ประหยัดทรัพยากรบุคคล
ประโยชน์ทางอ้อม 1. เกิดความรัก ความสามัคคี ในหมู่คณะ 2. ทำให้สำนักงานนครสวรรค์ได้รับรางวัล สถานประกอบกิจการดีเด่นด้านความปลอดภัยอาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการทำงาน ระดับประเทศ • ทำให้สำนักงานนครสวรรค์ได้ผ่านการประเมิน สถานที่ทำงานน่าอยู่ น่าทำงาน ระดับทอง • เพื่อเป็นต้นแบบที่จะนำไปขยายผลต่อไป 5. ทำให้ผู้ปฏิบัติงานได้รับความรู้ด้าน QC. เพิ่มขึ้น
การติดตามผล ทางกลุ่มได้ทำการจัดเก็บข้อมูลการใช้น้ำในโครงการชีววิถี ฯทุกวันเป็นประจำยกเว้นวันหยุด
กิจกรรมครั้งต่อไป ลดค่าใช้จ่ายในการซ่อมรถยนต์จากบุคคลภายนอก ในพื้นที่สำนักงานฯ จ.นครสวรรค์
เหตุจูงใจในการทำกิจกรรมครั้งต่อไปเหตุจูงใจในการทำกิจกรรมครั้งต่อไป 1. เพื่อตอบสนองนโยบายผู้บริหาร กฟผ. 2. เพื่อให้เกิดการต่อเนื่องในการทำกิจกรรม เพื่อเป็นการสร้างจิตสำนึกให้ผู้ปฏิบัติงานเกี่ยวกับเรื่องการ ประหยัด