1.13k likes | 1.53k Views
บทที่ 6 CSS Cascading Style Sheet . เกริ่น ย้อนกล่าวถึง HTML. การแสดงผลรายการแบบลำดับตัวเลข(orderer Lists). ใช้แสดงรายการที่เรียงลำดับ หรือจัดลำดับความสำคัญของหัวข้อ ใช้ตัวเลข หรือ ตัวอักษรเรียง ในการเรียงก็ได้ มีรูปแบบดังนี้
E N D
บทที่ 6 CSS Cascading Style Sheet
เกริ่นย้อนกล่าวถึง HTML Web Technology & Basic Web
การแสดงผลรายการแบบลำดับตัวเลข(orderer Lists) • ใช้แสดงรายการที่เรียงลำดับ หรือจัดลำดับความสำคัญของหัวข้อ • ใช้ตัวเลข หรือ ตัวอักษรเรียง ในการเรียงก็ได้ มีรูปแบบดังนี้ • TYPE เป็นการกำหนดว่าจะแสดงรายการโดยใช้ตัวเลข ตัวอักษร หรือตัวอักษรโรมันเป็นต้น <OL TYPE = number_type START = number..> <LI> Item number one <LI> Item number two <LI> Item number tree </OL>
การแสดงผลแบบรายการ (LIST) • รูปแบบ <LIST TYPE> <ITEM> First Item in List <ITEM> Second Item in List <ITEM> Third Item in List </LIST TYPE>
ตัวอย่าง <OL TYPE = a> <LI> Oranges </LI> <LI> Peaches </LI> <LI> Grapes </LI> </OL> ได้ผลลัพธ์คือ a. Oranges b. Peaches c. Grapes
ตัวอย่าง <OL TYPE = I> <LI> Oranges </LI> <LI> Peaches </LI> <LI> Grapes </LI> </OL> ได้ผลลัพธ์คือ I. Oranges II. Peaches III. Grapes Web Technology for Education
ตัวอย่าง <OL START = 3> <LI> Oranges </LI> <LI> Peaches </LI> <LI VALUE = 7> Grapes </LI> <LI>Apples </LI> </OL> ได้ผลลัพธ์คือ 3. Oranges 4. Peaches 7. Grapes 8. Apples Web Technology for Education
การแสดงผลรายการแบบไม่มีลำดับ(Unordered List) • ใช้แสดงรายการหัวข้อย่อยโดยไม่มีหน่วยนับนำหน้า แต่จะเป็น bullet • กำหนดรูปแบบได้ โดยระบุหลังคำสั่ง TYPE ต่อจาก <UL> เป็น disc(วงกลมทึบ), circle, square • รูปแบบ <UL TYPE = bullet_type> <LI> First Item <LI> Second Item <LI> Third Item </UL> Web Technology for Education
ตัวอย่าง These are name of CS Staff <UL> <LI>Seree Chinodom </LI> <LI>Tawatchai Iempairoj </LI> <LI>Jira Jaturanon </LI> <LI>Surangkana Thumlikhit </LI> <LI>Others </LI> </UL> Web Technology for Education
Directory Lists • เป็นการแสดงผลข้อมูลเหมือนกับ <UL>,</UL> แต่จะถูกจำกัดด้วยตัวอักษรไม่เกิน 24 ตัว • มีรูปแบบดังนี้ <DIR> <LI> message </LI> <LI> massage </LI> <LI> message </LI> </DIR> Web Technology for Education
Menu Lists • แสดงรายการต่างๆแบบไม่มีตัวเลข แต่มีหัวข้อเป็นสัญลักษณ์ (Bullet) แต่การแสดงผลข้อมูลจะกะทัดรัดกว่าการใช้ tag <UL> • มีรูปแบบดังนี้ <MENU> <LI> message <LI> massage <LI> message </MENU> Web Technology for Education
NESTED LISTS <UL> <LI> few New England states: <UL> <LI> Vermont </LI> <LI> New Hampshire </LI> </UL> <LI> One Midwestern state: <UL> <LI> Michigan </LI> </UL> </UL> Web Technology for Education
การสร้างตาราง • Table ประกอบด้วยแถว (row) และคอลัมน์ (col) จุดตัดของแถว และคอลัมน์ เรียกว่า cell ซึ่งใช้บรรจุข้อมูล Column Row Web Technology for Education
คำสั่งสร้างตาราง Web Technology for Education
tag <TABLE> <TABLE> <TR> <TD>ข้อความ </TD> <TD>ข้อความ </TD> <TD>ข้อความ </TD> </TR> <TR> <TD>ข้อความ </TD> <TD>ข้อความ </TD> <TD>ข้อความ </TD> </TR> …….. </TABLE> Web Technology for Education
การตีกรอบตาราง • คำสั่ง <TABLE>...</TABLE> เป็นการสร้างตารางที่ไม่มีเส้น • การกำหนดเส้นในตารางใช้ แอตทริบิวต์ BORDER กำหนดลงในคำสั่ง <TABLE> ดังนี้ • <TABLE BORDER= ความหนา> • ……. • </TABLE> Web Technology for Education
ตัวอย่าง <HTML> <HEAD><TITLE> Table Demo </TITLE></HEAD> <BODY> <H1> ตาราง 2 x 2 พร้อมเส้นกรอบ </H1> <TABLE BORDER> <TR> <TD>เสรี</TD> <TD>ธวัชชัย</TD></TR> <TR> <TD>วิชัย</TD> <TD>ถมกนก</TD> </TR> </TABLE> </BODY> </HTML> Web Technology for Education
การปรับขนาดความกว้างและความสูงของตารางการปรับขนาดความกว้างและความสูงของตาราง • เพิ่ม แอตทริบิวต์ WIDTH = x% ลงในคำสั่งเปิด ของ tag <TABLE> โดยที่ x แทนความกว้างของแถวของตารางที่จะแสดงบนจอภาพ • เพิ่ม แอตทริบิวต์ HEIGHT = x% ลงในคำสั่งเปิด ของ tag <TABLE> โดยที่ x แทนความสูงของแถวของตารางที่จะแสดงบนจอภาพ <TABLE WIDTH=x%> <TABLE HEIGHT=x%> Web Technology for Education
การจัดตำแหน่งของข้อมูลใน cell • การจัดข้อมูลในเซลทำได้ 2 แบบคือ • แนวนอน ได้แก่ LEFT,RIGHT,CENTER • แนวตั้ง ได้แก่ TOP, BUTTON, MIDDLE • ใน tag <TR>เพิ่ม แอตทริบิวต์ • ALIGN= สำหรับแนวนอน • VALIGN= สำหรับแนวตั้ง • รูปแบบ <TR ALIGN = … VALIGN=…> <TD>…</TD> </TR> Web Technology for Education
ROWSPAN • แอตทริบิวต์ ROWSPAN ใช้กำหนดความสูงเป็นจำนวนเท่าของแถวปกติ ใช้กับ tag <TD> • ตัวอย่าง • <TABLE BORDER> • <TR> <TD>Item1</TD> • <TD ROWSPAN=2>Item2</TD> • <TD>Item3</TD> </TR> • <TR> <TD>Item4</TD> • <TD >Item5</TD> </TR> • </TABLE> Web Technology for Education
COLSPAN • แอตทริบิวต์ COLSPAN ใช้ปรับขนาดของความกว้างคอลัมน์ในตารางให้มีขนาดเป็นจำนวนเท่าของของขนาดความกว้างปกติ ใน tag <TD> • ตัวอย่าง • <TABLE BORDER> • <TR> <TD>Item1</TD> • <TD COLSPAN=2>Item2</TD> </TR> • <TR> <TD>Item3</TD> • <TD>Item4</TD> • <TD >Item5</TD> </TR> • </TABLE> Web Technology for Education
CELLPADDING • แอตทริบิวต์ CELLPADDING ใช้กำหนดพื้นที่การแสดงข้อมูล ภายในตาราง • ปกติจะกำหนดค่า cellpadding เป็น 0 ซึ่งพื้นที่ในการแสดงข้อมูลในตารางเท่ากับจำนวนตัวอักษรที่แสดงเท่านั้น • ถ้ากำหนดให้มีค่ามากจะมีพื้นที่เป็นที่ว่างมากขึ้น Web Technology for Education
CELLSPACING • แอตทริบิวต์ CELLSPACING ใช้กำหนดขนาดเส้นตาราง • ปกติจะกำหนดค่า cellspacing เป็น 0 • ถ้ากำหนดให้มีค่ามากจะมีขนาดเส้นตารางมากขึ้น Web Technology for Education
การใส่ภาพลงในตาราง • ให้บรรจุคำสั่งอ่านภาพ คือ ลงในคำสั่งของตาราง • กรณีที่ต้องการปรับขนาดของรูปภาพให้มีขนาดเหมาะสมกับตาราง ให้ใช้คำสั่ง WIDTH=x% และ HEIGHT=y% ลงในคำสั่ง <IMG> <IMG SRC = “ชื่อแฟ้มรูปภาพ”> Web Technology for Education
การควบคุมการแสดงผลเว็บเพจด้วยCSS (Cascading Style Sheets) • CSS ย่อมาจากคำว่า Cascading Style Sheetsหรือเรียกว่า Style Sheets • CSSถูกแนะนำและสนับสนุนโดย Microsoft internet explorer 3.0 และ Netscape 4.0 เป็นต้นมา • วัตถุประสงค์ของการใช้ CSS เพื่อกำหนดการแสดงผลของสิ่งต่างๆบนเว็บเพจ เช่น ลักษณะตัวอักษร ขนาด สี พื้นหลัง เป็นต้น • CSSสามารถสร้างโดยใช้โปรแกรม Text Editor ได้ เช่น NotePad และ EditPlus เป็นต้น และสามารถทำงานร่วมกับภาษา HTML เพื่อจัดการกับส่วนแสดงผลได้ตลอดทั้งเอกสาร HTML Web Technology for Education
กฎการเขียน CSS • การเขียน CSS ประกอบด้วย 2 ส่วน คือ • Selector คือ ส่วนที่อยู่ก่อนเครื่องหมายปีกกา • Declarationคือ ส่วนที่อยู่ภายในเครื่องหมายปีกกา ประกอบด้วย Property และ Value selector { property: value; } Web Technology for Education
กฎการเขียน CSS • ตัวอย่างเช่น Properties Value Selector body { background-color: blue; } • Selector เทียบได้กับ Tag ในภาษา HTML นั่นเอง Web Technology for Education
กฎการเขียน CSS body { background-color: blue; } body {margin-left: "15%"; } body {margin-right: "15%";} body { background-color: blue; margin-left: "15%"; margin-right: "15%“; } Web Technology for Education
กฎการเขียน CSS h1 { font-style: Italic; color: red; } h2 { font-style: Italic; color: red; } h1, h2 { font-style: Italic; color: red; } Web Technology for Education
กฎการเขียน CSS CSS มีคุณสมบัติการถ่ายทอด (Inheritance) เช่น body {color: red; } h2 { font-style: Italic;} กำหนดที่ Selector bodyมีผลทำให้ตัวอักษรทุกตัวในหน้าเว็บเพจมีสีแดง รวมถึงตัวอักษรที่อยู่ระหว่างแท็ก<h2> และ </h2> ด้วย และแสดงเป็นตัวเอียง Web Technology for Education
CSS มีคุณสมบัติการถ่ายทอด <body> <h1>หัวข้อที่ 1</h1> <font> รายละเอียด 1 <p> ย่อหน้าที่ 1</p> </font> <h2>หัวข้อที่ 2</h2> ข้อความทั่วไป </body> body h1 font h2 p Web Technology for Education
แทรก CSS ส่วนต้นของเอกสาร HTML ....... <style type = "text/css"> body { color: "red"; } font { color: "green"; font-style: "Italic";} </style> </head> <body> <h1>หัวข้อที่ 1</h1> <font> รายละเอียด 1 ……………… body h1 font h2 p Web Technology for Education
รูปแบบการใช้งาน CSS • การเรียกใช้ไฟล์ที่เก็บคำสั่ง CSS (External Style Sheet) • การแทรกคำสั่ง CSS ไว้ในคำสั่ง HTML (Internal Style) • การแทรกคำสั่ง CSS ไว้ในแท็กภาษา HTML (Inline Style) Web Technology for Education
รูปแบบการใช้งาน CSS • การเรียกใช้ไฟล์ที่เก็บคำสั่ง CSS (External Style Sheet) รูปแบบ การใช้งานแบบนี้ต้องมีไฟล์แยกเก็บ CSS ต่างหาก และทำการเรียกใช้โดยใช้คำสั่งข้างต้น ที่ส่วนหัวของเอกสาร HTML <link rel="stylesheet" type="text/css" href="ชื่อไฟล์.css"> Web Technology for Education
รูปแบบการใช้งาน CSS ตัวอย่างที่ 1 1. สร้างไฟล์ display.css (ส่วนควบคุมการแสดงผล) 2. สร้างไฟล์ HTML (ส่วนเนื้อหา) ไฟล์ display.css body {background-color: "#FFFFCC";} font {font-style: Italic; font-size: 16pt; color: red;} h1 {color: green; } Web Technology for Education
ไฟล์ display.css • ตัวอย่างที่ 1 body {background-color: "#FFFFCC";} font {font-style: Italic; font-size: 16pt; color: red;} h1 {color: green; } ไฟล์ ex.html <HTML> <HEAD> <TITLE> New Document </TITLE> <link rel = "stylesheet" type="text/css" href = "display.css"> </HEAD> <BODY> <FONT>ข้อความปกติ</FONT> <H1>หัวข้อที่ 1</H1> <H2>หัวข้อที่ 2</H2> <H3>หัวข้อที่ 3</H3> </BODY> </HTML> Web Technology for Education
รูปแบบการใช้งาน CSS • การเรียกใช้ไฟล์ที่เก็บคำสั่ง CSS (External Style Sheet) • ข้อดี • ลดการทำงานในการปรับแต่งเอกสาร HTML กรณีที่ต้องใช้การแสดงผลที่เหมือนกันในหลายๆหน้า • แก้ไขเพียงจุดเดียว คือ ไฟล์.cssจึงทำให้ประหยัดเวลา Web Technology for Education
รูปแบบการใช้งาน CSS • การแทรกคำสั่ง CSS ไว้ในคำสั่ง HTML (Internal Style) มักนิยมแทรก CSS ไว้ก่อนแท็ก</HEAD> รูปแบบ • <style type="text/css"> • selector {property: value;} • ……. • ……. • </style> Web Technology for Education
ตัวอย่างที่ 2 จากตัวอย่างที่ 1 นำคำสั่งของ CSS ในไฟล์ display.css แทรกลงไปในไฟล์ HTML ก่อนคำสั่ง </HEAD> <HTML> <HEAD> <TITLE> New Document </TITLE> <style type="text/css"> body {background-color: "#FFFFCC";} font {font-style: Italic; font-size: 16pt; color: red;} h1 {color: green; } </style> </HEAD> <BODY> <FONT>ข้อความปกติ</FONT> …… Web Technology for Education
รูปแบบการใช้งาน CSS • การแทรกคำสั่ง CSS ไว้ในคำสั่ง HTML (Internal Style) (ต่อ) การใช้งานแบบนี้เหมาะสำหรับการควบคุมการแสดงผลหน้า เว็บเพจเฉพาะหน้านั้นๆ แต่ไม่เหมาะกับการควบคุมการแสดงผลหลายๆหน้าเพราะต้องเข้าไปกำหนด style sheets ในทุกๆหน้า และหากมีการแก้ไข ต้องเข้าไปแก้ไขในทุกๆหน้า เช่นกัน Web Technology for Education
รูปแบบการใช้งาน CSS • การแทรกคำสั่ง CSS ไว้ในแท็กภาษา HTML (Inline Style) รูปแบบ tag คือ แท็กคำสั่งของภาษา HTML <tag style = "property: value;"> Web Technology for Education
ตัวอย่างที่ 3 การแทรกคำสั่ง CSS เป็น Attribute หนึ่ง ในเอกสาร HTML <HTML><HEAD><TITLE> New Document </TITLE> </HEAD> <BODY style = "background-color: #FFFFCC;"> <FONT style = "font-style: Italic; font-size: 16pt; color: red;"> ข้อความปกติ</FONT> <H1 style = "color: green;">หัวข้อที่ 1</H1> <H2>หัวข้อที่ 2</H2> <H3>หัวข้อที่ 3</H3> </BODY> </HTML> Web Technology for Education
การเขียน CSS เบื้องต้น • การกำหนดเกี่ยวกับพื้นหลัง • background-color • background-image เช่น background-image: url(ชื่อไฟล์รูป); • background-repeat • ค่าrepeat กำหนดให้แสดงซ้ำ • no-repeat กำหนดให้ไม่ต้องแสดงซ้ำ • repeat-x กำหนดให้แสดงซ้ำเฉพาะในแนวนอน • repeat-yกำหนดให้แสดงซ้ำเฉพาะในแนวตั้ง Web Technology for Education
การเขียน CSS เบื้องต้น • การกำหนดเกี่ยวกับพื้นหลัง • background-position • ค่าx yกำหนดระยะห่างจากขอบซ้าย x พิกเซล (หรือ %) • และระยะห่างจากขอบบน y พิกเซล (หรือ %) • topแสดงภาพติดขอบด้านบนและอยู่ตรงกลางหน้าจอ • centerแสดงภาพอยู่กลางหน้าจอ • bottomแสดงภาพติดขอบด้านล่างและอยู่ตรงกลางหน้าจอ • leftแสดงภาพติดขอบด้านซ้ายและอยู่ตรงกลางหน้าจอ • rightแสดงภาพติดขอบด้านขวาและอยู่ตรงกลางหน้าจอ Web Technology for Education
การเขียน CSS เบื้องต้น • การกำหนดเกี่ยวกับพื้นหลัง • background-attachment • ค่าscrollให้ภาพเลื่อนตามการ scroll • fixedไม่ให้ภาพเลื่อนตามการ scroll Web Technology for Education
ตัวอย่างที่ 4 การกำหนดภาพพื้นหลังให้กับหน้าเว็บเพจ <style type = ”text/css”> body { background-image: url("../images/view.jpg"); background-repeat: "no-repeat"; background-position: "200 50"; background-attachment: "fixed"; } </style> Web Technology for Education
ตัวอย่างที่ 4 การกำหนดภาพพื้นหลังให้กับหน้าเว็บเพจ 50 pixels 200 pixels Web Technology for Education
การเขียน CSS เบื้องต้น • การกำหนดระยะขอบและระยะห่างจากขอบ Margin-- ระยะขอบ Padding-- ระยะห่างจากเส้น(Border) กำหนดได้หลาย Selectors เช่น หน้าเว็บ (body) เลเยอร์(div) หรือ blockquoteเป็นต้น Height Width Border Margin Padding Box Model Web Technology for Education
การเขียน CSS เบื้องต้น • การกำหนดระยะขอบและระยะห่างจากขอบ • height ความสูง (ใช้กับเลเยอร์(div)) • weight ความกว้าง (ใช้กับเลเยอร์(div)) • margin-left ระยะขอบด้านซ้าย • margin-right ระยะขอบด้านขวา • margin-top ระยะขอบด้านบน • margin-bottom ระยะขอบด้านล่าง Web Technology for Education
การเขียน CSS เบื้องต้น • การกำหนดระยะขอบและระยะห่างจากขอบ • padding-right ระยะห่างจากด้านขวา • padding-left ระยะห่างจากด้านซ้าย • padding-top ระยะห่างจากด้านบน • padding-bottom ระยะห่างจากด้านล่าง Web Technology for Education