110 likes | 330 Views
เฉลยแบบฝึกหัดบทที่ 5. จงเรียงลำดับการทำงานของหน่วยความจำและบอกจุดแข็งจุดอ่อนของหน่วยความจำแต่ละประเภท. เฉลยแบบฝึกหัดบทที่ 5.
E N D
เฉลยแบบฝึกหัดบทที่ 5 • จงเรียงลำดับการทำงานของหน่วยความจำและบอกจุดแข็งจุดอ่อนของหน่วยความจำแต่ละประเภท
เฉลยแบบฝึกหัดบทที่ 5 2) กำหนดให้ดิสก์ของระบบคอมพิวเตอร์ระบบหนึ่งถูกแบ่งออกเป็น 200 ไซลินเดอร์(0-199) ขณะนี้หัวอ่านของดิสก์อยู่ที่ไซลินเดอร์ที่ 100 ถ้ามีการขอใช้ที่ไซลินเดอร์ต่าง ๆ ตามลำดับดังนี้ 55,58,39,18,90,160,150,38 และ 184 ระบบจะจัดสรรการใช้ดิสก์อย่างไร เมื่อกำหนดให้ใช้การจัดการใช้ดิสก์ด้วยวิธีต่อไปนี้ • การจัดเวลาแบบมาก่อนได้ก่อน การจัดเวลาแบบสแกน • การจัดเวลาแบบสั้นที่สุดได้ก่อน การจัดเวลาแบบซี-สแกน
การจัดเวลาแบบมาก่อนได้ก่อน (First Come First Serve Scheduling : FCFS)
การจัดเวลาแบบสั้นที่สุดได้ก่อน (Shortest Seek Time First Scheduling : SSTF)
การจัดเวลาแบบสแกน (SCAN) ดีที่สุด
การจัดเวลาแบบซี-สแกน (C-SCAN) ดีที่สุด
3) จงอธิบายข้อดีข้อเสียของวิธีการจัดการใช้ดิสก์ทั้ง 4 วิธี • การจัดเวลาแบบมาก่อนได้ก่อน • ข้อดี คือ วิธีการจัดเวลาการใช้ดิสก์ที่ง่ายที่สุด • ข้อเสีย คือ หัวอ่าน-เขียน ต้องเคลื่อนที่มาก ทำให้ประสิทธิภาพการทำงานค่อนข้างต่ำ • การจัดเวลาแบบสั้นที่สุดได้ก่อน • ข้อดี คือ เสียเวลาค้นหาน้อย ในการหาตำแหน่งในการอ่านข้อมูลจากตำแหน่งปัจจุบัน • ข้อเสีย คือ การอดตาย จากการร้องขอใช้ดิสก์แต่ไม่มีโอกาสได้รับจัดสรรให้ใช้ดิสก์กรณีที่มีการร้องขอมาใหม่แต่ใช้เวลาน้อยกว่าการร้องขอปัจจุบันที่จะได้โอกาสเข้าใช้
3) จงอธิบายข้อดีข้อเสียของวิธีการจัดการใช้ดิสก์ทั้ง 4 วิธี • การจัดเวลาแบบสแกน • ข้อดี คือ พิจารณาความหนาแน่ของการร้องขอจะได้รับบริการอย่างรวดเร็ว • ข้อเสีย คือ การร้องขอที่อยู่ฝั่งตรงข้ามอีกด้านหนึ่งต้องเสียเวลารอนานกว่า • การจัดเวลาแบบซี-สแกน • ข้อดี คือ ลดปัญหาการเกิดภาวะรออย่างไม่รู้จบได้ จัดลำดับรายการร้องขอจำนวนมากให้อยู่ในรูปแบบที่จะตอบสนองให้ดีที่สุดได้ • ข้อเสีย คือ ใช้เวลาในการคำนวณ (ต้องใช้ต้นทุนมากกว่าแบบสแกน)
4)การเข้าถึงข้อมูลแบบ Sequential ต่างจาก Random อย่างไรจงอธิบาย
5) จงอธิบายการทำงานของโครงสร้างไดเร็กทอรี่แบบต้นไม้ พร้อมระบุข้อดี ข้อเสีย และวิธีแก้ข้อเสีย • โครงสร้างแบบต้นไม้ ผู้ใช้มีอิสระในการจัดหมวดหมู่ไฟล์ได้มากขึ้น สามารถสร้างไดเร็กทอรี่ซ้อนไดเร็กทอรี่ได้เรื่อย ๆ คล้ายต้นไม้ที่สามารถสร้างให้สูงกี่ชั้นไดเร็กทอรี่ก็ได้ การอ้างถึงแฟ้มต้องเริ่มต้นจากสารบบรากเสมอตามด้วยชื่อสารบบย่อยต่าง ๆ ไล่ตามลำดับชั้นจนถึงสารบบย่อยที่แฟ้มนั้นอยู่และตามด้วยชื่อแฟ้มนั้น • ข้อดี สามารถตั้งชื่อไดเร็กทอรี่ซ้ำได้ แต่ต้องอยู่คนละระดับชั้นกัน สามารถสร้างซ้อนไดเร็กทอรี่ได้เรื่อย ๆ ไม่จำกัด (สร้างสารบบได้หลายระดับ) • ข้อเสีย -