1 / 45

การแก้ไขปัญหาโรคขาดสารไอโอดีน ของสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา

ยินดีต้อนรับ การประชุมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง “การพัฒนาศักยภาพชมรมผู้ประกอบการเกลือเสริมไอโอดีน ๓ ภาค” วันที่ ๒-๓ สิงหาคม ๒๕๕๔ ณ โรงแรมเซ็นทารา ดวงตะวัน เชียงใหม่. การแก้ไขปัญหาโรคขาดสารไอโอดีน ของสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา. หัวข้อนำเสนอ. สถานการณ์ภาวะขาดสารไอโอดีนในประเทศไทย

susane
Download Presentation

การแก้ไขปัญหาโรคขาดสารไอโอดีน ของสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ยินดีต้อนรับการประชุมเชิงปฏิบัติการเรื่อง “การพัฒนาศักยภาพชมรมผู้ประกอบการเกลือเสริมไอโอดีน ๓ ภาค”วันที่ ๒-๓ สิงหาคม ๒๕๕๔ณ โรงแรมเซ็นทารา ดวงตะวัน เชียงใหม่

  2. การแก้ไขปัญหาโรคขาดสารไอโอดีนการแก้ไขปัญหาโรคขาดสารไอโอดีน ของสำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา

  3. หัวข้อนำเสนอ สถานการณ์ภาวะขาดสารไอโอดีนในประเทศไทย นโยบายกระทรวงสาธารณสุข การออกมาตรการทางกฎหมายของ อย. แนวทางการปฏิบัติตามกฎหมาย ผลการเฝ้าระวังคุณภาพหรือมาตรฐาน แนวทางการส่งเสริมและสนับสนุนการผลิตและการควบคุมคุณภาพ

  4. สถานกาณ์ภาวะการขาดสารไอโอดีนในประเทศไทยสถานกาณ์ภาวะการขาดสารไอโอดีนในประเทศไทย พ.ศ.2547 และพ.ศ.2552 พบว่าเด็กไทยมีระดับไอคิวเฉลี่ยที่ระดับ 88 และ 91 ตามลำดับ ซึ่งค่อนข้างต่ำ (เกณฑ์มาตรฐานที่องค์การอนามัยโลกกำหนดคือ 90-110) พ.ศ.2552 พบว่าเด็กทารกร้อยละ 90 มีระดับฮอร์โมนกระตุ้นการทำงานของต่อมไทรอยด์ (TSH) มากกว่า 11.2 มิลลิยูนิตต่อลิตร (เกณฑ์มาตรฐานของWHO/UNICEF/ICCIDD ปีค.ศ.2007 กำหนดว่า พื้นที่ที่ได้รับสารไอโอดีนเพียงพอ เด็กทารกต้องมีระดับ TSHมากกว่า 11.2 มิลลิยูนิตต่อลิตร ไม่เกินร้อยละ 3) พ.ศ.2553 พบว่าหญิงมีครรภ์ร้อยละ 52.3 ได้รับสารไอโอดีนไม่เพียงพอ (เกณฑ์มาตรฐานของWHO/UNICEF/ICCIDD ปีค.ศ.2007 กำหนดว่าค่าระดับไอโอดีนในปัสสาวะของหญิงมีครรภ์ น้อยกว่า 150 ไมโครกรัมต่อลิตร เป็นภาวะขาดสารไอโอดีน)

  5. หัวข้อนำเสนอ สถานการณ์ภาวะขาดสารไอโอดีนในประเทศไทย นโยบายกระทรวงสาธารณสุข การออกมาตรการทางกฎหมายของ อย. แนวทางการปฏิบัติตามกฎหมาย ผลการเฝ้าระวังคุณภาพหรือมาตรฐาน แนวทางการส่งเสริมและสนับสนุนการผลิตและการควบคุมคุณภาพ

  6. นโยบายระดับกระทรวง ประเทศไทยกำหนดวาระแห่งชาติในการป้องกันและแก้ไขปัญหาโรคขาดสารไอโอดีน โดยกระทรวงสาธารณสุขกำหนดมาตรการต่างๆ ดังนี้ 1. มาตรการเร่งด่วน กำหนดให้ หญิงตั้งครรภ์ต้องได้รับยาเม็ดเสริมไอโอดีน ทารกแรกเกิดต้องได้รับการตรวจวัดระดับ TSH เด็กเล็กจนถึงประชาชนทั่วไปทุกคนต้องได้รับสารไอโอดีนอย่างเพียงพอกับความต้องการของร่างกาย 2. มาตรการบังคับ โดยกระทรวงสาธารณสุขได้ออกประกาศกระทรวงสาธารณสุข จำนวน 4 ฉบับ ดังนี้ ป.สธ. เรื่อง เกลือบริโภค ป.สธ. เรื่อง ผลิตภัณฑ์ปรุงรสที่ได้จากการย่อยโปรตีนของถั่วเหลือง (ฉบับที่ ๒) ป.สธ. เรื่อง น้ำปลา (ฉบับที่ ๒) ป.สธ. เรื่อง น้ำเกลือปรุงอาหาร

  7. หัวข้อนำเสนอ สถานการภาวะขาดสารไอโอดีนในประเทศไทย นโยบายกระทรวงสาธารณสุข การออกมาตรการทางกฎหมายของ อย. แนวทางการปฏิบัติตามกฎหมาย ผลการเฝ้าระวังคุณภาพหรือมาตรฐาน แนวทางการส่งเสริมและสนับสนุนการผลิตและการควบคุมคุณภาพ

  8. การออกมาตรการทางกฎหมายของ อย. ออกประกาศกระทรวงสาธารณสุข จำนวน 4 ฉบับ ป.สธ. เรื่อง เกลือบริโภค ฉบับลงวันที่ 16 มีนาคม 2554 กำหนดให้เกลือบริโภคทุกชนิดต้องมีปริมาณไอโอดีนไม่น้อยกว่า 20 มิลลิกรัม และไม่เกิน 40 มิลลิกรัม/กิโลกรัม ซึ่งเป็นผลให้ผลิตภัณฑ์อาหารทุกชนิดที่ใช้เกลือเป็นวัตถุดิบต้องใช้เกลือเสริมไอโอดีนไปด้วย ยกเว้น อาหารตามประกาศกระทรวงสาธารณสุขที่กำหนดปริมาณไอโอดีนไว้แล้ว อาหารที่กำหนดสูตรเฉพาะให้มีคุณค่าทางโภชนาการเหมาะสมสำหรับผู้บริโภค เฉพาะกลุ่ม ได้แก่ เครื่องดื่มเกลือแร่ และอาหารทางการแพทย์ อาหารสำหรับผู้ที่ต้องจำกัดการบริโภคไอโอดีน และฉลากแสดงข้อความว่า “สำหรับผู้ที่ต้องจำกัดการบริโภคไอโอดีน” อาหารที่ใช้เกลือบริโภคเป็นส่วนประกอบต่ำกว่าร้อยละ 1 ในสูตรส่วนประกอบหรือมีเกลือคงเหลือในผลิตภัณฑ์สุดท้ายต่ำกว่าร้อยละ 1 ของน้ำหนักอาหาร

  9. การออกมาตรการทางกฎหมายของ อย. ออกประกาศกระทรวงสาธารณสุข จำนวน 4 ฉบับ ป.สธ. เรื่อง ผลิตภัณฑ์ปรุงรสที่ได้จากการย่อยโปรตีนของถั่วเหลือง (ฉบับที่ 2) ฉบับลงวันที่ 27 กันยายน 2553 ป.สธ. เรื่อง น้ำปลา (ฉบับที่ 2) ฉบับลงวันที่ 27 กันยายน 2553 ป.สธ. เรื่อง น้ำเกลือปรุงอาหาร ฉบับลงวันที่ 27 กันยายน 2553 กำหนดให้สามารถ เลือกใช้เกลือบริโภคเสริมไอโอดีนหรือเติมสารไอโอดีนในผลิตภัณฑ์สุดท้ายในปริมาณไม่น้อยกว่า 2 มิลลิกรัม และไม่เกิน 3 มิลลิกรัม/ลิตร โดยผู้ผลิต /นำเข้า ต้องยื่นจดทะเบียนเพื่อขอเลข อย. ไปแสดงบนฉลาก

  10. หัวข้อนำเสนอ สถานการภาวะขาดสารไอโอดีนในประเทศไทย นโยบายกระทรวงสาธารณสุข การออกมาตรการทางกฎหมายของ อย. แนวทางการปฏิบัติตามกฎหมาย ผลการเฝ้าระวังคุณภาพหรือมาตรฐาน แนวทางการส่งเสริมและสนับสนุนการผลิตและการควบคุมคุณภาพ

  11. แนวทางการส่งเสริมและสนับสนุนการผลิตและการควบคุมคุณภาพแนวทางการส่งเสริมและสนับสนุนการผลิตและการควบคุมคุณภาพ รูปแบบการสนับสนุน คำถาม : ผู้ประกอบการเกลือบริโภคเสริมไอโอดีนจำเป็นต้องมีเครื่องผสม 1รายต่อเครื่องหรือไม่ โรงสี ข้าวเปลือก ข้าวสาร โรงสี เครื่องผสม เกลือ เกลือเสริมไอโอดีน

  12. แนวทางการปฏิบัติตามกฎหมายแนวทางการปฏิบัติตามกฎหมาย ต้องขออนุญาต 10(2) เกลือบริโภคที่มีวัตถุประสงค์นำไปใช้ในการผลิตอาหารเพื่อการส่งออก - ไม่บังคับใช้ตามประกาศฯ กรณีผลิตเพื่อจำหน่ายให้ผู้บริโภค +KIO3/ - KIO3 นาเกลือ/ผู้ผลิตเกลือ - ไม่ต้องขออนุญาต แต่ขอให้แจ้งผู้ประกอบการเพื่อขอความร่วมมือในการแสดงฉลากตามวัตถุประสงค์ดังกล่าวด้วย 10(3) เกลือบริโภคที่มีวัตถุประสงค์เพื่อการส่งออก กรณีผลิตเพื่อจำหน่ายให้กับสถานที่ผลิตอาหาร +KIO3/ - KIO3 - ไม่ต้องขออนุญาต แต่ขอให้แจ้งผู้ประกอบการเพื่อขอความร่วมมือในการแสดงฉลากตามวัตถุประสงค์ดังกล่าวด้วย 10(4) เกลือที่มีวัตถุประสงค์ใช้ในอุตสาหกรรมอื่นที่ มิใช่อาหาร สถานที่ผลิตเกลือบริโภค 10(1) เกลือบริโภคที่อยู่ระหว่างนำไปใช้ในกระบวนการเติมไอโอดีน

  13. แนวทางการปฏิบัติตามกฎหมายแนวทางการปฏิบัติตามกฎหมาย การขออนุญาตสถานที่ ผู้ประกอบการต้องยื่นขออนุญาตสถานที่ที่อย. หรือ สสจ. ที่สถานที่ผลิตหรือนำเข้าตั้งอยู่ โดยดำเนินการ ดังนี้ - สถานที่ผลิตไม่เข้าข่ายโรงงาน ยื่นแบบ สบ.1 - สถานที่ผลิตเข้าข่ายโรงงาน ยื่นแบบ อ.1 - สถานที่นำเข้า ยื่นแบบ อ.6 สถานที่ผลิตเกลือบริโภคเพื่อจำหน่ายต้องปฏิบัติตามสุขลักษณะที่ดี และมีการควบคุมกระบวนการเติม หรือผสมไอโอดีนในการผลิต เพื่อให้มีการกระจายตัวของไอโอดีนอย่างสม่ำเสมอ สถานที่ผลิตน้ำปลา น้ำเกลือปรุงอาหาร และผลิตภัณฑ์ปรุงรสที่ได้จากการย่อยโปรตีนของถั่วเหลืองต้องปฏิบัติตามหลักเกณฑ์วิธีที่ดีในการผลิตอาหารว่าด้วยสุขลักษณะทั่วไป (GMP)

  14. แนวทางการปฏิบัติตามกฎหมายแนวทางการปฏิบัติตามกฎหมาย การขออนุญาตผลิตภัณฑ์ เมื่อได้รับใบอนุญาตตั้งโรงงานผลิตอาหาร หรือคำขอรับเลขสถานที่ผลิตอาหารที่ไม่เข้าข่ายโรงงาน หรือใบอนุญาตนำหรือสั่งอาหารเข้ามาในราชอาณาจักรแล้ว ผู้ผลิตหรือผู้นำเข้าจะต้องยื่นคำขอจดทะเบียนอาหาร (แบบ สบ.5) พร้อมหลักฐานประกอบการพิจารณาเพื่อขอรับเลขสารบบอาหาร

  15. แนวทางการปฏิบัติตามกฎหมายแนวทางการปฏิบัติตามกฎหมาย การแสดงฉลาก เกลือบริโภค ฉลากต้องแสดงข้อความว่า“เกลือบริโภคเสริมไอโอดีน”แต่ยกเว้นเกลือไม่เสริมไอโอดีน หรือเกลือบริโภคที่มีวัตถุประสงค์สำหรับผู้ที่ต้องจำกัดการบริโภค ที่จะแสดงข้อความว่า ““เกลือบริโภคไม่เสริมไอโอดีน ”” หรือ “เกลือบริโภคสำหรับผู้ที่ต้องจำกัดการบริโภคไอโอดีน”แทน

  16. ตัดสินใจเลือกซื้อ “ผลิตภัณฑ์เสริมไอโอดีน” อย่างไร การแสดงฉลากเกลือบริโภค

  17. แนวทางการปฏิบัติตามกฎหมายแนวทางการปฏิบัติตามกฎหมาย การแสดงฉลาก น้ำปลา ผลิตภัณฑ์ปรุงรสที่ได้จากการย่อยโปรตีนของถั่วเหลือง หรือน้ำเกลือปรุงอาหาร ฉลากต้องมีข้อความอย่างใดอย่างหนึ่ง แล้วแต่กรณี ดังนี้ กรณีที่มีเกลือบริโภคเป็นส่วนผสมและเติมไอโอดีนในกระบวนการผลิตให้แสดงข้อความว่า“ไอโอดีน ....... มิลลิกรัมต่อลิตร”หรือ“ใช้ไอโอดีนเป็นส่วนผสม”หรือ“ผสมไอโอดีน” กรณีที่ใช้เกลือบริโภคเสริมไอโอดีนเป็นส่วนผสมให้แสดงข้อความว่า“เกลือบริโภคเสริมไอโอดีน........ %” หรือ“เกลือเสริมไอโอดีน....... %” หรือ “เกลือไอโอดีน....... %” ไว้ที่สูตรส่วนประกอบของอาหาร หรือ“ใช้เกลือบริโภคเสริมไอโอดีน”หรือ “ใช้เกลือเสริมไอโอดีน”หรือ“ใช้เกลือไอโอดีน”หรือ“ผสมเกลือบริโภคเสริมไอโอดีน”หรือ“ผสมเกลือเสริมไอโอดีน”หรือ“ผสมเกลือไอโอดีน” ทั้งนี้ทั้งอาจระบุชนิดของเกลือ เช่น“เกลือสมุทร”หรือ“เกลือสินเธาว์”ประกอบด้วยก็ได้

  18. ตัดสินใจเลือกซื้อ “ผลิตภัณฑ์เสริมไอโอดีน” อย่างไร การแสดงฉลาก ผลิตภัณฑ์ปรุงรสอาหาร น้ำปลา น้ำเกลือปรุงอาหาร ผลิตภัณฑ์ปรุงรสที่ได้จากการย่อยโปรตีนของถั่วเหลือง

  19. หัวข้อนำเสนอ สถานการภาวะขาดสารไอโอดีนในประเทศไทย นโยบายกระทรวงสาธารณสุข การออกมาตรการทางกฎหมายของ อย. แนวทางการปฏิบัติตามกฎหมาย ผลการเฝ้าระวังคุณภาพหรือมาตรฐาน แนวทางการส่งเสริมและสนับสนุนการผลิตและการควบคุมคุณภาพ

  20. ผลการเฝ้าระวังคุณภาพหรือมาตรฐานผลการเฝ้าระวังคุณภาพหรือมาตรฐาน สำรวจสถานที่ผลิตเกลือบริโภค จากข้อมูลในฐานข้อมูล www.iodinethailand.comเมื่อเดือนมิ.ย.54 พบว่ามีสถานที่ผลิตเกลือบริโภค 271 แห่ง ได้รับเลขสารบบอาหารแล้ว 125 แห่ง (ร้อยละ 46.13) จัดทำแผนการเฝ้าระวังคุณภาพหรือมาตรฐานเกลือบริโภค และเฝ้าระวังเกลือบริโภค ณ สถานที่ผลิต และจำหน่าย ซึ่งผลการเฝ้าระวังดังแสดงในตารางที่ 1 ตารางที่ 1: ผลการเฝ้าระวังเกลือบริโภค ระหว่างวันที่ 1 ม.ค. – 15 พ.ค. 54 หมายเหตุ: 1. ตรวจวิเคราะห์ด้วยเครื่อง I-Reader 2. ตัวอย่างเกลือบริโภคที่ตรวจวิเคราะห์มีการผลิตก่อนวันที่ 8 พ.ค. 54 3. กำหนดแนวทางการเสริมไอโอดีน (SOP) ที่ 50 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม

  21. หัวข้อนำเสนอ สถานการภาวะขาดสารไอโอดีนในประเทศไทย นโยบายกระทรวงสาธารณสุข การออกมาตรการทางกฎหมายของ อย. แนวทางการปฏิบัติตามกฎหมาย ผลการเฝ้าระวังคุณภาพหรือมาตรฐาน แนวทางการส่งเสริมและสนับสนุนการผลิตและการควบคุมคุณภาพ

  22. แนวทางการส่งเสริมและสนับสนุนการผลิตและการควบคุมคุณภาพแนวทางการส่งเสริมและสนับสนุนการผลิตและการควบคุมคุณภาพ ผลการเฝ้าระวัง : คุณภาพมาตรฐานผลิตภัณฑ์ • ปริมาณไอโอดีนในเกลือบริโภคกระจายอยู่ทุกช่วงความเข้มข้นของไอโอดีน • มีแนวทางการเสริมไอโอดีน (SOP) ที่ 50 มก./กก. • กว่าร้อยละ 80 ของเกลือบริโภคและผลิตภัณฑ์ปรุงรสมีปริมาณไอโอดีนไม่ได้มาตรฐานตามกฎหมายกำหนด ปัญหา • ความรู้ความเข้าใจในการควบคุมคุณภาพการผลิต • เทคโนโลยีการผลิต • การเข้าถึงสารโพแทสเซียมไอโอเดต เป้าหมาย เพื่อให้ผู้ประกอบการสามารถผลิตเกลือบริโภคและผลิตภัณฑ์ปรุงรสเสริมไอโอดีนที่มีคุณภาพหรือมาตรฐานตามที่กฎหมายกำหนด

  23. แนวทางการส่งเสริมและสนับสนุนการผลิตและการควบคุมคุณภาพแนวทางการส่งเสริมและสนับสนุนการผลิตและการควบคุมคุณภาพ วิธีการเสริมไอโอดีน เกลือสินเธาว์/เกลือสมุทร ตรวจสอบการปนเปื้อนทางกายภาพ ของวัตถุดิบและภาชนะบรรจุ เทเกลือสินเธาว์/เกลือสมุทร ใส่ภาชนะเตรียมผสม (1,000 กิโลกรัม) ตรวจสอบปริมาณไอโอดีน โดยทดสอบด้วย I Kit/ I Reader/ Titration 1. ชั่งสารโปแตสเซียมไอโอเดท (KIO3) 50 กรัม (1/2 ขีด) 2. เทลงในน้ำสะอาด 10 ลิตร ใช้ไม้พายคนให้สารละลายหมด ประมาณ 1 นาที 3. เก็บในที่ไม่มีแสงและ เก็บให้พ้นมือเด็ก คลุกเคล้าด้วยเครื่องหรือมือให้สารละลายโปแตสเซียมไอโอเดท (KIO3) กับเกลือมีการกระจายทั่วถึง โดยมีปริมาณไอโอดีนคงเหลือ 30 มิลลิกรัมต่อเกลือบริโภค 1 กิโลกรัม ภาชนะบรรจุปิดสนิทต้องสะอาด ไม่ขาดง่าย บรรจุในภาชนะบรรจุทันที เก็บในที่ร่มและแห้ง และสามารถป้องกันการปนเปื้อนได้ เก็บรักษารอขนส่ง/จำหน่าย หมายเหตุ 1. จุดควบคุม 2. ตัวอย่างที่เสนอเป็นเพียงกระบวนการเสริมไอโอดีนในเกลือบริโภคโดยผสมด้วยมือ กรณีผสมด้วยเครื่อง/อุปกรณ์อื่น ต้องปรับกระบวนการ เสริมไอโอดีนให้เหมาะสมและควบคุมปริมาณไอโอดีนให้ไม่น้อยกว่า 20 มิลลิกรัม และไม่เกิน 40 มิลลิกรัมต่อเกลือบริโภค 1 กิโลกรัม (SOP ที่ 30 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม)

  24. การควบคุมคุณภาพการผลิตเกลือเสริมไอโอดีนการควบคุมคุณภาพการผลิตเกลือเสริมไอโอดีน ปัจจัยของความสำเร็จ • เตรียมสารละลายถูกต้อง • ผสมถูกต้องและทั่วถึง • เก็บรักษาเหมาะสม • สุขลักษณะในการผลิต การเตรียมสารละลายไอโอดีน การเก็บรักษา

  25. การควบคุมคุณภาพการผลิตเกลือเสริมไอโอดีนการควบคุมคุณภาพการผลิตเกลือเสริมไอโอดีน 1.1การเตรียมสารละลายไอโอดีน โพแทสเซียมไอโอเดต 25 กรัม จดบันทึก !! น้ำดื่มอุ่น 5 ลิตร คนให้เข้ากัน จนไม่มีตะกอนเหลืออยู่

  26. การควบคุมคุณภาพการผลิตเกลือเสริมไอโอดีนการควบคุมคุณภาพการผลิตเกลือเสริมไอโอดีน 1.2 การเก็บรักษาสารละลายไอโอดีน จดบันทึก !! ขวดทึบแสง ควรใช้ให้หมดภายใน 1 อาทิตย์ เนื่องจากสารสะลายอาจตกตะกอน สารละลายไอโอดีนเข้มข้น ห้ามรับประทาน วันที่เตรียม ………… ปิดฝาให้สนิท เก็บไว้ในที่ร่มและแห้ง

  27. การควบคุมคุณภาพการผลิตเกลือเสริมไอโอดีนการควบคุมคุณภาพการผลิตเกลือเสริมไอโอดีน การควบคุมคุณภาพการผลิตเกลือเสริมไอโอดีน ปัจจัยของความสำเร็จ สัดส่วนเกลือต่อสารละลายไอโอดีน • เตรียมสารละลายถูกต้อง • ผสมถูกต้องและทั่วถึง • เก็บรักษาเหมาะสม • สุขลักษณะในการผลิต การคลุก/ผสมไอโอดีน การสุ่มตัวอย่าง การตรวจวัดปริมาณไอโอดีน

  28. การควบคุมคุณภาพการผลิตเกลือเสริมไอโอดีนการควบคุมคุณภาพการผลิตเกลือเสริมไอโอดีน 2.1สัดส่วนเกลือต่อสารละลายไอโอดีน 2.1.1การเทสารละลายไอโอดีน สัดส่วนสารละลายไอโอดีน : เกลือ = 1 : 100 ตัวอย่าง : ต้องการผสมเกลือ 10กิโลกรัม จะต้องใช้สารละลายไอโอดีน เท่าไร ตอบ : เกลือ 100 กิโลกรัม ใช้สารละลาย 1ลิตร ดังนั้น เกลือ 10กิโลกรัม จะใช้สารละลาย 10 x 1 = 0.01ลิตร = 100ซีซี 100

  29. การควบคุมคุณภาพการผลิตเกลือเสริมไอโอดีนการควบคุมคุณภาพการผลิตเกลือเสริมไอโอดีน จดบันทึก !! 2.1สัดส่วนเกลือต่อสารละลายไอโอดีน เทให้ถึงระดับ 400 2.1.1การเทสารละลายไอโอดีน : ผสมมือ หรือ 400 400 เทใส่กระบอกฉีด/ อุปกรณ์ปล่อยสารละลาย เทใส่อุปกรณ์ปล่อยสารละลายที่มีการแสดงเลขปริมาตร

  30. การควบคุมคุณภาพการผลิตเกลือเสริมไอโอดีนการควบคุมคุณภาพการผลิตเกลือเสริมไอโอดีน 2.1สัดส่วนเกลือต่อสารละลายไอโอดีน 2.1.1การเทสารละลายไอโอดีน : ใช้เครื่องผสม จดบันทึก !! เทใส่อุปกรณ์ปล่อยสารละลายที่มีการแสดงเลขปริมาตร

  31. การควบคุมคุณภาพการผลิตเกลือเสริมไอโอดีนการควบคุมคุณภาพการผลิตเกลือเสริมไอโอดีน 2.1สัดส่วนเกลือต่อสารละลายไอโอดีน 2.1.1 การชั่งเกลือ จดบันทึก !! ชั่งน้ำหนักภาชนะ แล้วจดไว้ = ชั่งเกลือ 20 กิโลกรัม 1 21

  32. การควบคุมคุณภาพการผลิตเกลือเสริมไอโอดีนการควบคุมคุณภาพการผลิตเกลือเสริมไอโอดีน สารละลายไอโอดีน 400 มิลลิลิตร 2.2การคลุก/ผสมไอโอดีน ฉีดพ่นสารละลายไอโอดีน400มิลลิลิตร และคลุกเคล้า ผสมให้ทั่ว เกลือ 40 กิโลกรัม 800 600 2.2.1ผสมมือ : 400 200 หรือ ฉีดพ่นสารละลายไอโอดีนจนหมดกระบอกฉีด และคลุกเคล้า ผสมให้ทั่ว

  33. การควบคุมคุณภาพการผลิตเกลือเสริมไอโอดีนการควบคุมคุณภาพการผลิตเกลือเสริมไอโอดีน 2.3การสุ่มตัวอย่าง 2.3.1ผสมมือ : สุ่มตัวอย่าง 5จุด จุดละ 100 กรัม ด้านบน ด้านข้าง

  34. การควบคุมคุณภาพการผลิตเกลือเสริมไอโอดีนการควบคุมคุณภาพการผลิตเกลือเสริมไอโอดีน 2.3การสุ่มตัวอย่าง 2.3.2ใช้เครื่องผสม : กรณีผสมแบบกะสุ่ม5จุด 1 2 3 1 2 3 X 4 5 4 ด้านบน ด้านข้าง 5 จุดละ 100 กรัม

  35. การควบคุมคุณภาพการผลิตเกลือเสริมไอโอดีนการควบคุมคุณภาพการผลิตเกลือเสริมไอโอดีน 2.3การสุ่มตัวอย่าง 2.3.2ใช้เครื่องผสม : กรณีผสมแบบต่อเนื่อง ช่วงแรก : สุ่มตัวอย่างจนกว่าจะได้ค่าคงที่ ช่วงหลัง : สุ่มตัวอย่างทุก 15หรือ 30นาที จุดละ 100 กรัม X 1 2 3 3 X X 1, 4 2 ,5 4 5 ด้านบน ด้านข้าง

  36. วางสันมีดให้ตั้งฉากกับข้อน แล้วปาดให้เรียบ การควบคุมคุณภาพการผลิตเกลือเสริมไอโอดีน ช้อนตักตัวอย่าง 2.4 การตรวจวัดปริมาณไอโอดีน 2.4.1การใช้ช้อนตักเกลือเพื่อทำการทดสอบ ถ้าเป็นเกลือเม็ด จะต้องบดก่อน เขย่าให้เข้ากัน

  37. การควบคุมคุณภาพการผลิตเกลือเสริมไอโอดีนการควบคุมคุณภาพการผลิตเกลือเสริมไอโอดีน 2.4การตรวจวัดปริมาณไอโอดีน 2.4.2 การตรวจวัดปริมาณไอโอดีน : - ไอ-คิท - ไอ-รีดเดอร์

  38. การควบคุมคุณภาพการผลิตเกลือเสริมไอโอดีนการควบคุมคุณภาพการผลิตเกลือเสริมไอโอดีน 2.4 การตรวจวัดปริมาณไอโอดีน 2.4.2.1 การตรวจวัดปริมาณไอโอดีน : ไอ-คิท ข้อควรระวัง น้ำยาไอ-คิท 1 3 หยด เกลือ 1 ช้อน

  39. การควบคุมคุณภาพการผลิตเกลือเสริมไอโอดีนการควบคุมคุณภาพการผลิตเกลือเสริมไอโอดีน 2.4การตรวจวัดปริมาณไอโอดีน 2.4.2.1การตรวจวัดปริมาณไอโอดีน : ไอ-คิท จดบันทึก !! 3 2 ใช้ด้ามช้อนตักตัวอย่างคน ขนาดเท่าฝาขวดน้ำยา แถบสีมาตรฐาน

  40. การสนับสนุนและพัฒนาผู้ประกอบการโดย อย. เป้าหมาย เพื่อให้ผู้ประกอบการสามารถผลิตเกลือที่ได้คุณภาพมาตรฐานและสามารถปฏิบัติตามกฎหมายได้ ระบบที่ดีในการผลิตเกลือบริโภคภายในปี 2556 • ความรู้ผู้ประกอบการ • ระบบควบคุมคุณภาพ • เครื่องมือที่ใช้ในการผลิต

  41. แนวทางการส่งเสริมและสนับสนุนการผลิตและการควบคุมคุณภาพแนวทางการส่งเสริมและสนับสนุนการผลิตและการควบคุมคุณภาพ 1. โครงการพัฒนาผู้ประกอบการเกลือเสริมไอโอดีนรายเล็กและกลาง • ร่วมกับสถาบันโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล • สร้างศูนย์การเรียนรู้ 3 ศูนย์ • น่าน อุดรธานี เพชรบุรี เป้าหมาย : เพื่อพัฒนาแนวทางการควบคุมคุณภาพการผลิตเกลือเสริมไอโอดีนที่เหมาะสมกับ ศักยภาพของผู้ผลิตรายเล็กและกลาง

  42. แนวทางการส่งเสริมและสนับสนุนการผลิตและการควบคุมคุณภาพแนวทางการส่งเสริมและสนับสนุนการผลิตและการควบคุมคุณภาพ 2. แนวทางการสนับสนุนผู้ประกอบการในการลงทุนเครื่องผสมเกลือไอโอดีนแบบริบบอน • ร่วมกับสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง พัฒนาเครื่องต้นแบบ • ขอรับการสนับสนุนการลงทุนค่าเครื่องผสมเกลือไอโอดีน 50%ของราคาเครื่องจากรัฐบาล 1 ส่วนประกอบ: 1. ชุดถังผสม และ 2. ชุดควบคุมการเติมสารละลาย โพแทสเซียมไอโอเดต วัสดุ: สแตนเลส เบอร์ 316 ขนาดถังผสม: 40และ 100 กิโลกรัม เวลาที่ใช้ในการผสม: 8-15นาที การกระจายตัวของไอโอดีน: 24-36มก./กก. (20%) 2 เป้าหมาย :เพื่อให้ผู้ประกอบการมีเครื่องผสมเกลือไอโอดีนที่ได้คุณภาพหรือมาตรฐาน

  43. แนวทางการส่งเสริมและสนับสนุนการผลิตและการควบคุมคุณภาพแนวทางการส่งเสริมและสนับสนุนการผลิตและการควบคุมคุณภาพ เงื่อนไขการขอรับการสนับสนุน 1. ต้องชำระเงินส่วนที่เหลืออีก 50% ของราคาเครื่องผสมเกลือบริโภคนับแต่วันที่ดำเนินการสั่งผลิตเครื่อง 2. ห้ามจำหน่าย หรือเปลี่ยนแปลงการครอบครองเครื่องให้กับผู้อื่นภายใน ระยะเวลา 5 ปี 3. ห้ามดัดแปลง แก้ไข หรือประยุกต์เครื่องไม่ว่ากรณีใด ๆ 4. รับประกันคุณภาพ 1 ปี คุณสมบัติของผู้ประกอบการ 1. เป็นผู้ประกอบการรายเดิม 2. เป็นสมาชิกของชมรมและผลิตภัณฑ์ได้รับเลขสารบบอาหาร (เลข อย.) แล้ว 3. ต้องได้รับการรับรองจากเจ้าหน้าที่สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด

  44. แนวทางการส่งเสริมและสนับสนุนการผลิตและการควบคุมคุณภาพแนวทางการส่งเสริมและสนับสนุนการผลิตและการควบคุมคุณภาพ 3. แนวทางการสนับสนุนสารโพแทสเซียมไอโอเดต • ขอรับการสนับสนุนงบประมาณค่าสารโพแทสเซียมไอโอเดตจากสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) • ร่วมกับองค์การเภสัชกรรมและสำนักงานสาธารณสุขจังหวัด เป้าหมาย :ผู้ประกอบการผลิตเกลือบริโภคและผลิตภัณฑ์ปรุงรสเสริมไอโอดีนสามารถเข้าถึง สารโพแทสเซียมไอโอเดตที่มีคุณภาพ

  45. ขอบคุณ Thai Food and Drug Administration http://www.fda.moph.go.th

More Related