1 / 39

การหลอมรวมภาควิชา ประสบการณ์จาก คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

การหลอมรวมภาควิชา ประสบการณ์จาก คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. โดย รศ.อรวรรณ ทิตย์วรรณ. สถานภาพ. คณะเล็ก การบริหารจัดการแบบรวมศูนย์ (ส่วนใหญ่) งบประมาณ การจัดซื้อ จัดจ้าง การจัดตารางการเรียนการสอน ห้องเรียน ห้องประชุม ห้องทำงาน (อาจารย์) ห้องเครื่องมือ.

Download Presentation

การหลอมรวมภาควิชา ประสบการณ์จาก คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การหลอมรวมภาควิชา ประสบการณ์จาก คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ โดย รศ.อรวรรณ ทิตย์วรรณ

  2. สถานภาพ • คณะเล็ก • การบริหารจัดการแบบรวมศูนย์ (ส่วนใหญ่) • งบประมาณ การจัดซื้อ จัดจ้าง • การจัดตารางการเรียนการสอน • ห้องเรียน • ห้องประชุม • ห้องทำงาน (อาจารย์) • ห้องเครื่องมือ

  3. ข้อมูลเกี่ยวกับภาควิชา (ก่อนการหลอมรวม) 1.ภาควิชาเภสัชเวท คณาจารย์ 12 คน ผศ.วีรศักดิ์ เชื้อมโนชาญ 2.ภาควิชาเภสัชเคมี คณาจารย์ 20 คน รศ.บุญสม เหลี่ยวเรืองรัตน์ 3.ภาควิชาเทคโนโลยีเภสัชกรรม คณาจารย์ 20 คน รศ.วัชรี เนติสิงหะ

  4. 4.ภาควิชาชีวเภสัชกรรม คณาจารย์ 14 คน อาจารย์วินัย สินประเสริฐ 5.ภาควิชาเภสัชชุมชน คณาจารย์ 11 คน ผศ.ปริยา ตันติพัฒนานันท์ 6.ภาควิชาบริหารเภสัชกิจ คณาจารย์ 10 คน ผศ.สุเชต ลีฬหาชีวะ

  5. ข้อมูลเกี่ยวกับหลักสูตร (ก่อนการหลอมรวม) ระดับปริญญาตรี 1 หลักสูตร ระดับปริญญาโท เฉพาะสาขา 4 หลักสูตร เภสัชเวท เภสัชเคมี เทคโนโลยีเภสัชกรรม ชีวเภสัชกรรม สาขาร่วม 2 หลักสูตร สาธารณสุขศาสตร์ เทคโนโลยีชีวภาพ

  6. ระดับปริญญาเอก สาขาร่วม 1 หลักสูตร เทคโนโลยีชีวภาพ

  7. หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต (2538) ลักษณะ • ผลิตเภสัชกรทั่วไป (เน้น product) • หน่วยกิตรวม 188 หน่วยกิต • เน้นเฉพาะทาง 9หน่วยกิต • ชุมชน • อุตสาหกรรม • วิชาการ

  8. ปัจจัยกระทบจากภายนอก (ก่อนการหลอมรวม) กระแสการเปลี่ยนแปลงวิชาชีพ (WHO,US) การปรับเปลี่ยนระบบการศึกษาเภสัชศาสตร์

  9. สมัชชาเภสัชศาสตร์แห่งชาติ ครั้งที่ 1 (2537) เภสัชกรเฉพาะทาง เน้นเภสัชกรรมปฏิบัติในร้านยาและโรงพยาบาล (เสนอแนะวิเคราะห์ความเป็นไปได้ Pharm D)

  10. โครงการพัฒนาอาจารย์สาขาเภสัชศาสตร์โครงการพัฒนาอาจารย์สาขาเภสัชศาสตร์ (ศศภท) ความร่วมมือกับต่างประเทศ Thai-US Consortium • โครงการวางแผนการผลิต และพัฒนาอาจารย์ (ศศภท) โดยดูความต้องการเภสัชกรของประเทศ • มหาวิทยาลัยนเรศวรเป็นแกนนำในการเสนอหลักสูตร Pharm D (2538) • หลักสูตรปริญญาโทเภสัชกรรมคลินิก (ร่วม 4 มหาวิทยาลัย) • ประกันคุณภาพการศึกษา (ทบวงมหาวิทยาลัย)

  11. ปัจจัยกระทบจากภายใน การปรับปรุงหลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต (ในปี 2539) เภสัชกร (Product Oriented) เภสัชกรทั่วไป ที่แยกเน้นความเฉพาะทาง แผน2 Patient Oriented แผน1 Product Oriented

  12. หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต (2541) หน่วยกิตรวม 185หน่วยกิต

  13. แผน 1 วิทยาศาสตร์เภสัชกรรม (Product Oriented) • ภาควิชาเภสัชเวท • ภาควิชาเภสัชเคมี • ภาควิชาเทคโนโลยีเภสัชกรรม แผน 2 บริบาลเภสัชกรรม (Patient Oriented) • ภาควิชาชีวเภสัชกรรม • ภาควิชาเภสัชชุมชน • ภาควิชาบริหารเภสัชกิจ

  14. หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต (2541) • เอื้อให้นักศึกษาได้เลือกเรียนตามความสนใจ และสร้างทักษะที่ตรงกับความถนัด • ปี 1 ปี 3 เรียนร่วมกัน • ปี 4 เริ่มแยกเรียนตามความสนใจ • ปี 5 เพิ่มพูนทักษะเฉพาะทาง (2แผน)

  15. ปัญหา • จำเป็นต้องบูรณาการ และลดความซ้ำซ้อน • จำเป็นต้องปรับเปลี่ยนการบริหารจัดการให้รองรับหลักสูตรที่ปรับปรุงใหม่

  16. มหาวิทยาลัยตั้งเป้าหมายมหาวิทยาลัยตั้งเป้าหมาย มหาวิทยาลัยในกำกับ2543 การประกันคุณภาพการศึกษา (2539) กำหนดภาระงานสอนอาจารย์ 6 หน่วยชั่วโมง/ สัปดาห์/ภาคการศึกษา

  17. การดำเนินการ พ.ย. 2541 ฝ่ายวิชาการ นำเสนอต่อ คณะกรรมการวิชาการคณะฯ เรื่อง การบริหารวิชาการให้เหมาะสม กับสถานการณ์ที่เปลี่ยนไป

  18. สถานการณ์ที่เปลี่ยนไปสถานการณ์ที่เปลี่ยนไป หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต (2541) • เอื้อต่อการใช้หลักสูตรใหม่ ที่มีเป้าหมายเปิดโอกาสให้นักศึกษาเลือกเรียนได้ตามความสนใจ และสมัครใจ • เอื้อต่อการปรับปรุง โดยเพิ่มบูรณาการ และลดความซ้ำซ้อน • เอื้อต่อการปรับเปลี่ยน ยืดหยุ่นตามแนวโน้มวิชาชีพ

  19. นโยบายของมหาวิทยาลัย • ผลักดันให้เป็นมหาวิทยาลัยในกำกับ ปี 2543 • กำหนดให้จัดตั้ง ยุบเลิก รวม หน่วยงานเพื่อประสิทธิภาพและประสิทธิผล และความเป็นเลิศ • ภาควิชามีหน้าที่เฉพาะสอน และวิจัย • ให้มีการประกันคุณภาพอย่างเข้มแข็ง

  20. สรุปเสนอ 4 รูปแบบ • โครงสร้างเดิม ทำงานข้ามภาควิชาได้ • ยุบรวมเหลือ 2 สายวิชา • ไม่มีภาควิชา • อื่นๆ

  21. ม.ค 2542 ฝ่ายวิชาการ นำเสนอกรรมการประจำฯ สรุปมติ เลือก ยุบรวม 2สายวิชา สายวิชาวิทยาศาสตร์เภสัชกรรม สายวิชาบริบาลเภสัชกรรม  ให้รับฟังความคิดเห็นคณาจารย์

  22. ต้น 2542 การสัมมนาผู้บริหารมหาวิทยาลัย เชียงใหม่ จัดบรรยายโดยวิทยากรต่างประเทศ มิ.ย 2542 จัดบรรยาย เรื่อง นโยบายการปรับ เปลี่ยนเป็นมหาวิทยาลัยในกำกับ มิ.ย2542 สำรวจความคิดเห็น สรุปความเห็น ผู้ตอบ 67% เห็นด้วย 80% (2 สายวิชา)

  23. ก.ค 2542 กรรมการประจำคณะฯ เห็นชอบ 2 สายวิชา (23ภาค) ก.ย 2542 อ.ก.ม. กำหนดภาระงานสอนขั้นต่ำ ในฐานะอาจารย์ผู้สอน 6หน่วยช.ม/ สัปดาห์/ภาคการศึกษา

  24. ก.ย 2542 กรรมการประจำคณะฯ มีมติดำเนินการยุบรวมเป็นทางการ • ภาควิชาเภสัชเวท • ภาควิชาเภสัชเคมี • ภาควิชาเทคโนโลยีเภสัชกรรม สายวิชาวิทยาศาสตร์ เภสัชกรรม • ภาควิชาชีวเภสัชกรรม • ภาควิชาเภสัชชุมชน • ภาควิชาบริหารเภสัชกิจ สายวิชาบริบาล เภสัชกรรม

  25. อนุมัติตัวบุคคลในการย้ายสังกัดอนุมัติตัวบุคคลในการย้ายสังกัด ตามรายชื่อที่นำเสนอ • เห็นชอบให้จัดทำโครงการเสนอมหาวิทยาลัยต่อไป • เห็นชอบให้มีการดำเนินการเป็นการภายในก่อน (ระหว่างรออนุมัติ)

  26. ต.ค. 2542 เสนอมหาวิทยาลัย ธ.ค. 2542 ผ่านสภามหาวิทยาลัย ก.ค. 2544 ทบวงมหาวิทยาลัยอนุมัติยุบรวม (ทางการ) สายวิชาวิทยาศาสตร์เภสัชกรรม 44คน สายวิชาบริบาลเภสัชกรรม 37คน

  27. การดำเนินการภายใน คณะกรรมการบริหารสายวิชา (ภายใน) ประธาน (หัวหน้าภาควิชาที่ได้รับเลือก) กรรมการ (หัวหน้าภาควิชาที่เหลือ) ผู้ทรงคุณวุฒิ (อาจารย์ 2-3 ท่านจากภาควิชา) เลขานุการ

  28. หน้าที่ บริหารจัดการการเรียนการสอนร่วมกันหน้าที่ บริหารจัดการการเรียนการสอนร่วมกัน  อาจารย์  บุคลากร  ครุภัณฑ์

  29. ปี 2543 เปิดหลักสูตรดุษฎีบัณฑิต (เภสัชศาสตร์) (สหวิทยาการ) • เอื้อต่อการทำงานวิจัยเชิงบูรณาการ และทำวิจัยครบวงจร • เอื้อต่อการรองรับการเปลี่ยนแปลงวิทยาการ และองค์ความรู้ • เปิดโอกาสให้อาจารย์ทำงานวิจัย/วิชาการ ร่วมกันมากขึ้น

  30. ปี 2544 ยุบรวมหลักสูตรปริญญาโท 4 สาขา เภสัชเวท เภสัชเคมี เทคโนโลยีเภสัชกรรม ชีวเภสัชกรรม 1 สาขา วิทยาศาสตร์เภสัชกรรม

  31. การบริหารวิชาการ(หลังการหลอมรวม)การบริหารวิชาการ(หลังการหลอมรวม) • หัวหน้าสายวิชา (เทียบเท่าหัวหน้าภาควิชา) • คณะกรรมการบริหารประจำสายวิชา • คณะกรรมการวิชาการประจำสายวิชา • คณะกรรมการฝึกงานประจำสายวิชา

  32. ผลดีในการหลอมรวม การบริหารจัดการ (ประสิทธิภาพและประสิทธิผล)  สถานที่  คน (เกลี่ยอาจารย์-ข้าราชการ)  เครื่องมือ (ครุภัณฑ์)

  33. ผลดีในการหลอมรวม • มีความร่วมมือมากขึ้น เพิ่มความเข้มแข็งทางวิชาการ • การเรียนการสอน (ลดความซ้ำซ้อน เพิ่มบูรณาการ) • วิจัย (หลากหลาย ครบวงจร) • บริการวิชาการ • อาจารย์ได้ใช้ศักยภาพมากขึ้น

  34. 5ปี หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต (2547) หน่วยกิตรวม 178หน่วยกิต

  35. หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต (2547)สาขาบริบาลเภสัชกรรม รับผิดชอบโดย สายวิชาบริบาลเภสัชกรรม 6ปี

  36. ปัญหา-อุปสรรค • ความสับสน การบริหารจัดการในระยะแรก • ทักษะการบริหารของหัวหน้าสายวิชา • แรงจูงใจ (ของหัวหน้าสายวิชา) • การสื่อสารภายในสายวิชา (ใหญ่)

  37. มติสภามหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (กรกฎาคม 2545) โครงสร้างของคณะ ภาควิชา ที่ไม่เหมาะสมกับ ภาวะการณ์ปัจจุบัน ให้พิจารณาการรวม ยุบ เลิก คณะหรือภาควิชา เพื่อความเป็นเลิศทางวิชาการ

  38. คณะเทคนิคการแพทย์ 7 ภาควิชา 4ภาควิชา คณะศึกษาศาสตร์ 9 ภาควิชา 2ภาควิชา คณะบริหารธุรกิจ 4 ภาควิชา 2 ภาควิชา คณะอื่นๆ กำลังดำเนินการ

  39. ขอบคุณ สวัสดี

More Related