1 / 41

DIGITAL NERVE to Operation Center ศูนย์ปฏิบัติการระดับต่างๆ

DIGITAL NERVE to Operation Center ศูนย์ปฏิบัติการระดับต่างๆ. PMOC MOC DOC POC. ดัดแปลงจากข้อมูล :- นายอังสุมาล ศุนาลัย รองเลขาธิการสถิติแห่งชาติ ห้องรามา 1 โรงแรม ปรินซ์พาเลซ มหานาค กทม. มิถุนายน 2548 และเอกสาร www.nectec.or.th. ลักษณะของนโยบายไอซีที. นโยบายระดับมหภาค.

sun
Download Presentation

DIGITAL NERVE to Operation Center ศูนย์ปฏิบัติการระดับต่างๆ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. DIGITAL NERVE to Operation Center ศูนย์ปฏิบัติการระดับต่างๆ • PMOC • MOC • DOC • POC ดัดแปลงจากข้อมูล :- นายอังสุมาล ศุนาลัยรองเลขาธิการสถิติแห่งชาติ ห้องรามา 1 โรงแรม ปรินซ์พาเลซ มหานาค กทม. มิถุนายน 2548 และเอกสาร www.nectec.or.th

  2. ลักษณะของนโยบายไอซีทีลักษณะของนโยบายไอซีที นโยบายระดับมหภาค National ICT Policy ICT Master Plan บูรณาการ และความสอดคล้องของนโยบาย นโยบายเฉพาะเรื่อง Reduction of Digital Divide Internet Strategy Human Resource Development

  3. กรอบนโยบาย IT2000 (๒๕๓๙-๒๕๔๓) กรอบนโยบาย IT2010 (๒๕๔๔-๒๕๕๓) แผนแม่บท ICT ของประเทศไทย พ.ศ.๒๕๔๕-๒๕๔๙ การตั้งกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร(ตุลาคม พ.ศ.๒๕๔๕) แผนปฏิบัติ ปีงบประมาณ ๒๕๔๙-๒๕๕๐ เส้นทางเวลาของ นโยบายเทคโนโลยีสารสนเทศ และ แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทย แผนพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๙ แผนพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ ๑๐ ปี พ.ศ. ๓๙ ๔๐ ๔๑ ๔๒๔๓๔๔๔๕๔๖ ๔๗ ๔๘ ๔๙ ๕๐ ๕๑ ๕๒ ๕๓ ๕๔ ๕๕

  4. IT2000 - National IT Policy SUSTAINABLE ECONOMIC POWER IN SOUTHEAST ASIA SOCIAL EQUITY & PROSPERITY ENVIRONMENT FRIENDLY SOCIETY IT-ENABLED THAILAND NATIONAL INFORMATION INFRASTRUCTURE HUMAN RESOURCE GOOD GOVERNANCE

  5. การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ระยะ ๒๕๔๔-๒๕๕๓ที่มา : คณะกรรมการเทคโนโลยีสารสนเทศแห่งชาติ ๑๑ มิ.ย. ๔๕ เศรษฐกิจ สังคม e-Industry e-Commerce services/agriculture/and tourism e-Society e-Education e-Government นวัตกรรม, วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี,การวิจัยและพัฒนา,ความรู้ การพัฒนาสารสนเทศ, ทักษะพื้นฐานของประชาชน และบุคลากรด้านไอที โครงสร้างพื้นฐานโทรคมนาคม ปริมาณ คุณภาพ * http://www.nitc.go.th/itpolicy.html

  6. กรอบนโยบายเพื่อการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทยระยะ พ.ศ. 2544-2553 • IT2010พิจารณาและเห็นชอบโดยคณะกรรมการเทคโนโลยีสารสนเทศแห่งชาติ เมื่อ ๓ ตุลาคม ๒๕๔๔ • พิจารณาและเห็นชอบโดยคณะรัฐมนตรี เมื่อ ๑๙ มีนาคม ๒๕๔๕

  7. การนำเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์มาใช้ในการบริหารราชการแผ่นดินและพัฒนาฐานข้อมูลของส่วนราชการต่างๆ ทุกระดับให้เชื่อมโยงกัน เพื่อที่จะให้หน่วยงานของรัฐสามารถให้บริการประชาชนได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ นโยบายรัฐบาลด้านไอซีที

  8. แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศไทยพ.ศ. ๒๕๔๕ - ๒๕๔๙ ยุทธศาสตร์๑ : การพัฒนาอุตสาหกรรม ICT เพื่อให้เป็นผู้นำในภูมิภาค ยุทธศาสตร์๒ : การใช้ ICT เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของคนไทยและสังคมไทย ยุทธศาสตร์๓ : การปฏิรูปและการสร้างศักยภาพการวิจัยและพัฒนา ICT ยุทธศาสตร์๔ : การยกระดับศักยภาพพื้นฐานของสังคมไทยเพื่อการแข่งขันในอนาคต ยุทธศาสตร์๕ : การพัฒนาศักยภาพของผู้ประกอบการเพื่อมุ่งขยายตลาดต่างประเทศ ยุทธศาสตร์๖ : การส่งเสริมผู้ประกอบการขนาดกลางและขนาดย่อมใช้ ICT ยุทธศาสตร์๗ :การนำ ICT มาใช้ประโยชน์ในการบริหารและการให้บริการของภาครัฐ

  9. ความสัมพันธ์ ระหว่าง ยุทธศาสตร์เร่งด่วน และการผลักดันขับเคลื่อน การกระจายตัวเพื่อความยั่งยืน ศักยภาพ และการแข่งขัน ผลลัพธ์ทางเศรษฐกิจใหม่ ผลลัพธ์ในภาคเศรษฐกิจอื่น 5. พัฒนาศักยภาพผู้ประกอบการ 2. ยกระดับคุณภาพชีวิต และสังคมไทย 1. การพัฒนาอุตสาหกรรม ICT 7. ICT กับการบริหารงานภาครัฐ 6. ICT เพื่อ SMEs 3. การปฏิรูปการวิจัยและพัฒนา 4. ยกระดับพื้นฐานสังคมไทยเพื่อการแข่งขัน ลำดับของการดำเนินการตามยุทธศาสตร์ 2 เริ่มต้นจากวงจรการพัฒนา ICTและมีผลลัพธ์ทางเศรษฐกิจในระยะต้น 1 ขยายเป็นวงจรการพัฒนาเพื่อความยั่งยืน

  10. แผนยุทธศาสตร์กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร(พ.ศ. 2547-2551) 23 มีนาคม 2547

  11. ภาพรวมโครงสร้างพื้นฐานทางระบบเครือข่ายสารสนเทศของประเทศไทยยังด้อยพัฒนาเมื่อเปรียบเทียบกับประเทศที่พัฒนาแล้วในภูมิภาคภาพรวมโครงสร้างพื้นฐานทางระบบเครือข่ายสารสนเทศของประเทศไทยยังด้อยพัฒนาเมื่อเปรียบเทียบกับประเทศที่พัฒนาแล้วในภูมิภาค ความสามารถในการแข่งขันของประเทศไทย ในด้านการให้บริการทาง ICT ICT Infrastructure Chart ไทย สิงค์โปร์ มาเลเซีย เกาหลี Networked Readiness Index42(38) 3(2) 33(26) 16(20) จำนวนโทรศัพท์พื้นฐาน /100 คน 1046 19 48 จำนวนโทรศัพท์เคลื่อนที่ /100 คน 26 79 38 68 Penatration rateBroadband Internet/100 คน 0.054 5.5 0.44 23.17 Computer/ ประชากร(%) 17 50 15 31 Internet Usage Cost rank 34 14 38 23 IT training quality rank 35 5 37 28 ต่ำ/ ขาดการพัฒนา สูง/ มีศักยภาพสูง

  12. ซึ่งในปัจจุบันการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศอื่นๆในภูมิภาคมีการพัฒนาโดยเน้นด้วยองค์ประกอบหลักหลายด้านซึ่งในปัจจุบันการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของประเทศอื่นๆในภูมิภาคมีการพัฒนาโดยเน้นด้วยองค์ประกอบหลักหลายด้าน Private Sector Initiatives e-Commerce Promotion of Software Industry Network Securities and IPR Promotion of ICT Ventures Local Content Development Development of Infrastructure Bridging Digital Divide e-Government Services Telecom Regulations Development of Telecommunication Application ICT Resource Capacity Building National IT Agenda

  13. เป้าหมายหลักของการพัฒนา ICT ของแต่ละประเทศในภูมิภาค ไทย สิงค์โปร์ มาเลเซีย เกาหลี ญี่ปุ่น Animation & Multi media center Digital Hub Animation & Multi media center E- Korea “Informatization” E- Japan “World leader in R & D in IT Area” Differentiate Leadership Focus Leadership Focus

  14. Enhance ICTKnowledgeWorker WorldAnimationand Multimedia BroadbandInternet Society National e-learning Citizen DigitalOpportunityfor All Review Law and Regulations Innovative Nationwith Knowledgebased Economy เป้าหมายสูงสุด (Ultimate Outcome) ของกระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารคือการสนับสนุน ส่งเสริม และผลักดันศักยภาพของประเทศไทยให้ก้าวไปสู่ผู้นำด้าน ICT ภูมิภาคอาเซียนภายในปี 2551

  15. As Industry e-Government e-Education e-Commerce For Industry e-Industry e-Society Content Application กรอบการพัฒนา ICT ของประเทศอาจมองการพัฒนาจาก 3 มิติ มิติของคนในอุตสาหกรรม • IT Operation Back Office • Call Center Operation • Marketplace In Industry มิติของผู้ส่งเสริมอุตสาหกรรม • Mobile Application • Multimedia Animation • Content Developers • Software Developers • IT Services Digital Content มิติของผู้ผลิตอุตสาหกรรม • Telecommunications • Broadcast • Solution Providers • System Integrators • Hardware Providers Digital Infrastructure Infrastructure Telecommunication Communication Broadcast

  16. e-Government e-Education Interactivity e-Commerce e-Industry Digital Content e-Society Digital Infrastructure กรอบการพัฒนา ICT มองลูกค้าอยู่ 2 กลุ่มหลัก Primary customerคือ Digital Content และ InfrastructureSecondarycustomerคือกลุ่ม 5e Primary Customer Secondary Customer เป้าหมาย เป้าหมาย • พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานอุตสาหกรรม Software Application เพื่อ ผลักดันบริการ IT Services บุคลากร Application • พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้าน ICT เชื่อมโยง Stakeholder ในแต่ละด้าน • สร้างขีดความสามารถในการแข่งขันในแต่ละด้านโดยใช้ ICT Connectivity

  17. e-Government e-Education Digital Content e-Commerce e-Industry e-Society Digital Infrastructure Agenda หลักในการพัฒนายุทธศาสตร์ของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร Research & Development andServices 1 Network Infrastructure 2 Institutional Framework Regulation and Law 3 Promotion and Campaign 4

  18. Call Center • DOC/MOC สถานภาพการให้บริการในปัจจุบันของไทย* หน่วยงานส่วนใหญ่ยังอยู่ ณ ขั้นตอนนี้ Information Interaction Transaction Integration Intelligence การประสานงานระหว่างหน่วยงานของรัฐ การให้บริการธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ของรัฐ การให้บริการ ณ จุดเดียว“Single Point” เว็บไซต์ของหน่วยงาน • e-Revenue • e-Customs • e-Auction *กระทรวงไอซีที 7 มิ.ย. 47

  19. การบริการของภาครัฐฯ ที่ประชาชนต้องการใช้บริการมากที่สุด10 อันดับแรก 64.2 บริการชำระค่าไฟฟ้า 63.5 บริการชำระค่าน้ำประปา บริการข้อมูลท่องเที่ยว 62.8 บริการชำระค่าโทรศัพท์ 58.9 บริการข้อมูลทะเบียนราษฏร์ 58.8 บริการยื่นแบบกรมสรรพากร 55.0 บริการข้อมูลด้านแรงงาน 55.0 บริการข้อมูลการประกันตน 48.2 บริการด้านไปรษณีย์ 47.6 ร้อยละ 47.5 รายงานสภาพอากาศ 0 20 40 60 80 ที่มา : สำนักงานสถิติฯ หมายเหตุ รวมผู้ที่เคยใช้ และไม่เคยใช้อินเทอร์เน็ต

  20. การบริการครอบคลุมถึงวิถีการดำเนินชีวิตประชาชนการบริการครอบคลุมถึงวิถีการดำเนินชีวิตประชาชน Birth Birth certificate Adoption Paternity notification Paternity recognition Change name Banks Accountants Job Agency Association Fiscal information Tax declaration Property’s est. income Education Studies info. School/U. info. Admission criteria Admission test Enrolment Educational aids Foreign study Public jobs opportunity Job search Transport Marriage certificate Foreign marriage Marriage settlement Certificate of domicile Job Insurance HCO Tax Car Driving school Driving test Driving licence Car registration Public transport Marriage Car Dealer Insurance Driving Schools NHS inscription Medical expenses refund Insurance contributions payment House Health Culture and Sport Building license Property certificate Architecture impact certificate Rent aid Renovation finance Travel Bank Real Estate Association Pension Request for home assistance Request for rest home Request for servant Death By Gartner *กระทรวงไอซีที 7 มิ.ย. 47

  21. ภาพรวมผลสำรวจเว็บไซต์หน่วยงานภาครัฐ ครั้งที่ 1* * โดยเนคเทค สำรวจหน่วยงานระดับกรมหรือเทียบเท่า จำนวน 267 หน่วยงาน สำรวจระหว่างวันที่ 14 มกราคม – 31 มีนาคม 2547 (ที่มา : รายงานการวิจัย “ผลการสำรวจเว็บไซต์ภาครัฐ ครั้งที่ 1” ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ , มิถุนายน 2547)

  22. เกณฑ์การจัดประเภท • 1. Information : มีเว็บไซต์ให้บริการข้อมูลข่าวสารสู่ประชาชน • 2. Interaction : มีเว็บไซต์สามารถสร้างปฏิสัมพันธ์กับประชาชน เช่นมีบริการสืบค้นข้อมูล Web board เป็นต้น • 3. InterchangeTransaction : เว็บไซต์สามารถดำเนินธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ได้โดยสมบูรณ์ในตัวเอง • 4. Integration : มีการบูรณาการแนวราบของงานบริการ (Collaboration) ระหว่างเว็บไซต์หน่วยงาน • 5. Intelligence : เว็บไซต์สามารถเรียนรู้พฤติกรรมของประชาชนที่มาใช้บริการ

  23. ข้อสังเกตที่น่าสนใจ • หน่วยงานภาครัฐ มีความพร้อมในการให้บริการข้อมูลพื้นฐานที่จำเป็นบนเว็บไซต์ • หน่วยงานภาครัฐมีการบูรณาการข้อมูลข้ามหน่วยงาน ในระดับที่ไม่สูงมากนัก • หน่วยงานภาครัฐ เพียงส่วนน้อยเท่านั้นที่มีคุณสมบัติตาม W3C • หน่วยงานภาครัฐให้ความสำคัญในการประเมินผลและติดตามความนิยมของเว็บไซต์ (Counter / True Hits)ในระดับสูงถึง ร้อยละ 78 ของหน่วยงานทั้งหมด

  24. ตารางแสดงความก้าวหน้าการให้บริการอิเล็กทรอนิกส์ภาครัฐตารางแสดงความก้าวหน้าการให้บริการอิเล็กทรอนิกส์ภาครัฐ

  25. ICT Indicators Number of Telephone Lines (1999-2004)

  26. ICT Indicators Number of Mobile Users (2000-2004)

  27. Percentage of Households with Computers (2001-2004) ICT Indicators

  28. Thailand Domestics Internet Traffic Volume (1998-2004) ICT Indicators

  29. ICT Indicators Total Domestic Exchange Bandwidth (End of Period) (1998-2004)

  30. แนวทางการประยุกต์ใช้ไอซีทีกับการบริหารราชการแนวใหม่และปัจจัยสู่ความสำเร็จแนวทางการประยุกต์ใช้ไอซีทีกับการบริหารราชการแนวใหม่และปัจจัยสู่ความสำเร็จ

  31. OPDC’s diamond • การปรับโครงสร้างระบบราชการ ( รวมถึงการพัฒนาระบบ บริหารงานของกลุ่มภารกิจ และการทำงานแบบเมตริกซ์ ) • การจัดองค์กรรูปแบบใหม่( องค์การ มหาชนและหน่วยบริการรูปแบบพิเศษ ) • การสอบทานการใช้จ่ายเงิน และบทบาทภารกิจ • การเปิดโอกาสให้เอกชน/องค์กรที่ไม่ใช่ภาคราชการเข้ามา แข่งขันในการให้บริการสาธารณะ(Contestability) • การคำนวณต้นทุนฐานกิจกรรมและการเรียกเก็บค่าธรรมเนียม ในการถือครองทรัพย์สินของหน่วยงานในภาครัฐ • การมีส่วนร่วมของประชาชน • การตรวจสอบภาคประชาชน ( People’s Audit ) • Lay Board • การสร้างเครือข่ายการพัฒนาระบบราชการ ปรับบทบาท ภารกิจ และขนาดให้มี ความหมาะสม การพัฒนาระบบ ราชการเพื่อประโยชน์สุข ของประชาชน พัฒนาคุณภาพ การให้บริการ ประชาชนที่ดีขึ้น พัฒนาระบบ ราชการให้เป็น ระบบเปิด • การบริหารงานเชิงยุทธศาสตร์ - การวางยุทธ์ศาสตร์และการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์สู่การปฏิบัติ - ระบบประเมินผล(Performance Scorecard) - การจัดทำคำรับรองการปฏิบัติราชการ - มาตรการสร้างแรงจูงใจ • มาตรฐานการให้บริการภาครัฐ • การออกแบบกระบวนการทำงานใหม่ • การปรับปรุงแก้ไขกฎหมาย และระเบียบ ขั้นตอนที่เป็นอุปสรรค • การให้บริการทางอิเล็กทรอนิกส์ (e-Service) • call center 1111 • ศูนย์บริการร่วม (Service Link) ยกระดับขีด ความสามารถและ มาตรฐานการทำงาน ให้อยู่ระดับสูง • การบริหารการเปลี่ยนแปลง • ผู้นำการเปลี่ยนแปลง /ทีมงานบริหารการเปลี่ยนแปลง • การเรียนรู้ผ่านสื่อทางอีเล็กทรอนิกส์ เพื่อการเปลี่ยนแปลง • วิทยากรตัวคูณการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ : I AM READY • นักบริหารที่มีความสำคัญเชิงยุทธศาสตร์ • นักบริหารการเปลี่ยนแปลงยุคใหม่ • การปรับปรุงเงินเดือนและค่าตอบแทน • รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ (E-Government) • การเปลี่ยนระบบการบริหารการเงินการคลังภาครัฐสู่ ระบบอิเล็กทรอนิกส์(GFMIS)

  32. ปัจจัยแห่งความสำเร็จ • โครงสร้างพื้นฐาน ระบบเครือข่าย (Network) ทั่วถึง • อุปกรณ์ การติดต่อสื่อสาร (Equipment) ราคาถูก ใช้ง่าย • ระบบบริหารจัดการสารสนเทศร่วมภาครัฐมีความพร้อม(Government Gateway) • กฎหมาย กฎ ระเบียบ • บุคลากร ภาครัฐพร้อม • ความตระหนัก การยอมรับ และ ความเชื่อมั่น ของประชาชน • ภาครัฐได้รับการจัดสรร งบประมาณ อย่างเหมาะสม • มี องค์กรกลาง พัฒนา และ ดูแลระบบ • มี แผนแม่บท และ แผนปฏิบัติการ ชัดเจน

  33. นโยบายของรัฐบาล PMOC/MOC/DOC/POC แผนพัฒนาฉบับที่ 9 พ.ร.ฏ.การบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 มาตรา40 IT 2010 ยุทธศาสตร์ กท.ไอซีที ความพร้อมของ NSO ยุทธศาสตร์งบประมาณ 2547 หลักการและเหตุผลในการจัดตั้ง NIC ความต้องการระบบบริหารจัดการฐานข้อมูลในการบริหารงานของรัฐบาล ความสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ ศูนย์สารสนเทศแห่งชาติ (National Information Center)

  34. การจัดตั้ง NIC • มติ ครม.วันที่ 12 ตุลาคม 2547 มอบหมายให้สำนักงานสถิติแห่งชาติ ดำเนินการจัดตั้ง “ศูนย์สารสนเทศแห่งชาติ (National Information Center)” • วัตถุประสงค์เพื่อเป็นศูนย์กลางในการดำเนินการบริหารจัดการสารสนเทศ สำหรับการบริหารราชการแผ่นดิน โดยเป็นแหล่งอ้างอิงและบูรณาการข้อมูลสารสนเทศ ทั้งในระดับประเทศและระดับจังหวัด ตลอดจนทำหน้าที่เชื่อมโยงและแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างหน่วยงานภาครัฐ

  35. บทบาทหน้าที่ของ NIC • จัดทำแผนโครงข่ายสารสนเทศของประเทศ • ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง • บริหารจัดการระบบข้อมูล • นำเสนอข้อมูลและสารสนเทศที่มีความถูกต้อง • ให้คำปรึกษาและสนับสนุนการดำเนินงานด้านการบริหารข้อมูลและสารสนเทศ

  36. บทบาทหน้าที่ของ NSO • จัดทำและส่งเสริมให้มีการใช้มาตรฐานสถิติตามหลักสากล • ผลิตและวิเคราะห์ข้อมูลสถิติพื้นฐานทางด้านเศรษฐกิจและสังคมในระดับมหภาค ด้วยวิธีสำมะโน/สำรวจและให้บริการข้อมูลสถิติทุกสาขาของประเทศ • ให้คำปรึกษาแนะนำในการจัดทำข้อมูลสถิติให้กับหน่วยสถิติของประเทศ • ประสานงานกับองค์กรระหว่างประเทศในด้านวิชาการสถิติ • ผลิตและวิเคราะห์ข้อมูลสถิติที่ใช้ในการสนับสนุนนโยบายเร่งด่วนของรัฐ • ข้อมูลสถิติที่สำคัญที่ไม่มีหน่วยสถิติใดจัดทำ • ปฏิบัติงานอื่นใดตามที่กฎหมายกำหนดให้เป็นหน้าที่ของ NSO หรือตามที่นายกรัฐมนตรีหรือคณะรัฐมนตรีมอบหมาย

  37. Function Base A r e a B a s e การพัฒนาสังคมและความมั่นคง ของมนุษย์ การท่องเที่ยว และการกีฬา สำนักนายก รัฐมนตรี วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม การต่างประเทศ เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร คมนาคม กลาโหม พาณิชย์ พลังงาน เกษตรและสหกรณ์ มหาดไทย ยุติธรรม ศึกษาธิการ สาธารณสุข อุตสาหกรรม การคลัง แรงงาน วัฒนธรรม การต่าง ประเทศและ เศรษฐกิจ ระหว่าง ประเทศ บริหาร จัดการ ทรัพยาก รธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม พัฒนากฎหมาย และส่งเสริมการบริหาร กิจการบ้านเมืองที่ดี ยุทธศาสตร์ ประเทศ ปรับโครงสร้าง เศรษฐกิจให้สมดุล และแข่งขันได้ ส่งเสริม ประชาธิปไตย และกระบวนการ ประชา สังคม พัฒนาคน และสังคม ที่มีคุณภาพ รักษาความ มั่นคง ของ รัฐ รองรับ การเปลี่ยน แปลง และ พลวัตร โลก ขจัดความ ยากจน 2 3 D a t a C L u s t e r s ข้อมูลสถิติ ตามสาขา ประชากรและเคหะ แรงงาน การศึกษาฝึกอบรมศาสนา วัฒนธรรมและสื่อสารมวลชน สุขภาพ สวัสดิการสังคม เกี่ยวกับชายและหญิง รายได้และรายจ่ายของครัวเรือน ด้านสังคมอื่นๆ บัญชีประชาชาติ การเกษตรการป่าไม้ และการประมง อุตสาหกรรมและเหมืองแร่ พลังงาน ค้าส่งค้าปลีกและ การค้าระหว่างประเทศ การขนส่ง สื่อสารและโทรคมนาคม การท่องเที่ยว Prototype for a section of the PriministerTaksin's Mindmap การเงินการธนาคาร การประกันภัยและดุลการชำระเงิน DB DW สนับสนุนพื่อขจัดความยากจน การคลัง หนี้สิน สถิติราคา DW Data Dict. DW Data Dict. DB DB วิทยาศาสตร์เทคโนโลยี และสิทธิบัตร รายได้ ด้านเศรษฐกิจอื่นๆ DW DB DW DB ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม Software รายจ่าย สถิติอุตุนิยมวิทยา PMOC Business Information Networks MOC MOC MOC MOC MOC MOC MOC Others DOCDOC DOC EOC DOC DOC POCDOC DOCEOC DOCEOC DOC Public&Citizens DOCDOC EOC DOC POC POCDOC DOCEOC POC POC DOCEOC DOC National Infrastructure Information Government Information Networks

  38. เครือข่ายข้อมูลและสารสนเทศของประเทศเครือข่ายข้อมูลและสารสนเทศของประเทศ เครือข่ายข้อมูลและสารสนเทศภาครัฐ Government Information Network (GIN) เครือข่ายข้อมูลอื่นๆ National Information Center (NIC) ศูนย์ข้อมูล NSO: ข้อมูลโครงสร้าง ของประเทศ - National Information System - National Database Management System - Government Data Exchange ข้อมูลจาก ประเทศอื่นๆ จังหวัดบูรณาการ กลุ่มยุทธศาสตร์จังหวัด ข้อมูลภาคเอกชน POC ข้อมูลการตรวจสอบ จากประชาชน POC POC DOC DOC ข้อมูลอื่นๆ DOC หน่วยงานระดับกรม หน่วยงานในพื้นที่ สำนักงานสถิติจังหวัด PMOC EIS, DSS กลุ่มภารกิจกระทรวง MOC MOC MOC

  39. แนวทางการดำเนินงานของ NIC • การจัดทำแผนโครงข่ายข้อมูลและสารสนเทศของประเทศ • การวิเคราะห์ระบบข้อมูลครอบคลุม 3 มิติ ได้แก่ มิติด้านระเบียบวาระแห่งชาติ (Agenda Base) มิติด้านหน้าที่งานของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง (Function Base) และ มิติด้านพื้นที่ (Area Base) • การจัดทำมาตรฐานข้อมูลและการเชื่อมโยงข้อมูล • การจัดวางระบบและการจัดหาอุปกรณ์ • การรวบรวมข้อมูล และนำเข้าข้อมูล • การบริหารระบบสารสนเทศ

  40. BACK HOME to Outlines Information Strategy จบ สวัสดี

More Related