470 likes | 649 Views
คณะที่ 4 การบังคับใช้กฎหมาย และการคุ้มครองผู้บริโภค. -การตรวจสอบเฝ้า ระวังและแก้ไขปัญหา -การพัฒนาศักยภาพผู้บริโภค -การพัฒนาบุคลากรที่เกี่ยวข้อง - การประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง. ตัวชี้วัด : (401) ระดับความสำเร็จของการจัดการปัญหาผลิตภัณฑ์สุขภาพ.
E N D
คณะที่ 4 การบังคับใช้กฎหมาย และการคุ้มครองผู้บริโภค
-การตรวจสอบเฝ้าระวังและแก้ไขปัญหา-การตรวจสอบเฝ้าระวังและแก้ไขปัญหา -การพัฒนาศักยภาพผู้บริโภค -การพัฒนาบุคลากรที่เกี่ยวข้อง -การประสานหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ตัวชี้วัด :(401) ระดับความสำเร็จของการจัดการปัญหาผลิตภัณฑ์สุขภาพ
- การตรวจสอบเฝ้าระวังด้านยาและวัตถุเสพติด - การกำกับดูแลสถานประกอบการ ตัวชี้วัด :(401)ระดับความสำเร็จของการจัดการปัญหาผลิตภัณฑ์สุขภาพ
การพัฒนาบุคลากรที่เกี่ยวข้องการพัฒนาบุคลากรที่เกี่ยวข้อง ๑. ทำหนังสือราชการขอความร่วมมือในการจำหน่ายยาที่อาจมีความเสี่ยง ๒. ประชุมสัมมนาผู้ประกอบการด้านยา 1/120 ครั้ง/คน ๓. ประชาสัมพันธ์ผ่านช่องทางสื่อสาร Social network Facebookของชมรมร้านยา และชมรมเภสัชกรจังหวัดยโสธร ๔. กำกับ ดูแล โรงพยาบาลต่างๆในสังกัดจัดระบบการควบคุมการใช้ยาเสพติด
การกำกับดูแลและแก้ปัญหาการกำกับดูแลและแก้ปัญหา • การแก้ไขปัญหาเสตียรอยด์ • มีการดำเนินการตำบลต้นแบบในการแก้ไขปัญหาเสตียรอยด์ • อำเภอละ 1 ตำบล
การกำกับดูแลผลิตภัณฑ์ด้านอาหารการกำกับดูแลผลิตภัณฑ์ด้านอาหาร 1.การพัฒนากลุ่มคลัสเตอร์ปลาส้ม มีการประชุม 3 / 30 ครั้ง / คน มีการจัดตั้ง CDA คณะกรรมการ มีผู้ประกอบการเข้าร่วม 13 ราย
ข้อมูลกลุ่ม/ชุมชนผลิต ผลิตภัณฑ์สุขภาพชุมชน
2.การส่งเสริมและพัฒนาสินค้าอาหารหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์(OTOP)2.การส่งเสริมและพัฒนาสินค้าอาหารหนึ่งตำบลหนึ่งผลิตภัณฑ์(OTOP) การเก็บตัวอย่างส่งตรวจคุณภาพ
แผนงาน/โครงการปี 57 - ประชุมคณะทำงาน 2/15 ครั้ง/คน - อบรมกลุ่ม/ชุมชนผลิต 1/160 ครั้ง/คน
การกำกับดูแลเครื่องสำอางการกำกับดูแลเครื่องสำอาง แสดงการยื่นขอจดแจ้งเครื่องสำอางในจังหวัดยโสธร ปีงบประมาณ ๒๕๕๗
แสดงผลดำเนินการตรวจสอบเฝ้าระวังการวางจำหน่ายเครื่องสำอางแสดงผลดำเนินการตรวจสอบเฝ้าระวังการวางจำหน่ายเครื่องสำอาง
ตัวชี้วัด ยุทธศาสตร์ที่ 2 บริการเฉพาะ ข้อที่ 25 ร้อยละความสำเร็จของข้อร้องเรียนของผู้บริโภค ด้านผลิตภัณฑ์สุขภาพและบริการสุขภาพ ได้รับการแก้ไขภายในระยะเวลาตามที่กำหนด เป้าหมาย ร้อยละ 98 ผลการดำเนินงาน ในปีงบประมาณ ๒๕๕๗ ได้รับข้อร้องเรียนที่เกี่ยวกับผลิตภัณฑ์สุขภาพ จำนวน ๓ เรื่อง ดังนี้ - ดำเนินการแล้วเสร็จ จำนวน ๑ เรื่อง - อยู่ระหว่างดำเนินการ จำนวน ๒ เรื่อง
เรื่องที่ 1 การร้องเรียนด้านเครื่องสำอาง เรื่องที่ 2การร้องเรียนการทำแท้งเถื่อน (อยู่ระหว่างดำเนินการ) เรื่องที่ 3การร้องเรียนการจัดฟันแฟชั่นโดยไม่ได้รับอนุญาต (อยู่ระหว่างดำเนินการ)
ภารกิจที่ 1 การรับเรื่องร้องเรียน 1.1 การประชาสัมพันธ์ให้ทราบ -แหล่งร้องเรียน -เรื่องที่ร้องเรียน 1.2 การส่งเสริม สนับสนุนให้มีแหล่งร้องเรียน - รพสต.ทุกแห่ง - ที่ทำการ อปท.ทุกแห่ง(อบต.,เทศบาล,อบจ. 1.3 การกำหนดแนวทางในการดำเนินการแก้ไข 1.3.1 ขั้นตอนรับเรื่องและวิเคราะห์เรื่องร้องเรียน 1.3.2 ขั้นตอนการเจรจาไกล่เกลี่ย 1.3.3 ขั้นตอนการดำเนินการตามระเบียบกฎหมาย
ภารกิจที่ 1 การรับเรื่องร้องเรียน 1.1 การประชาสัมพันธ์ให้ทราบ -แหล่งร้องเรียน -เรื่องที่ร้องเรียน 1.2 การส่งเสริม สนับสนุนให้มีแหล่งร้องเรียน - รพสต.ทุกแห่ง - ที่ทำการ อปท.ทุกแห่ง(อบต.,เทศบาล,อบจ. ภารกิจที่ 2 การดำเนินการแก้ไข การกำหนดแนวทางในการดำเนินการแก้ไข 2.1 ขั้นตอนรับเรื่องและวิเคราะห์เรื่องร้องเรียน 2.2 ขั้นตอนการเจรจาไกล่เกลี่ย 2.3 ขั้นตอนการดำเนินการตามระเบียบกฎหมาย
ภารกิจที่ 3 การดำเนินการไม่ให้มีเรื่องร้องเรียน 1.1 การเฝ้ารระวังโดยอาศัยเครือข่าย -เครือข่าย อย.น้อย “เผยแพร่ความรู้ เฝ้าระวังปัญหา เป้นที่พึ่องพาของสังคม” - เครือข่าย อสม. “ อสม.เชี่ยวชาญด้านการคุ้มครองผู้บริโภค” - เครือข่ายภาคประชาชน “สมาคมผู้บริโภคจังหวัดยโสธร” นายเศรษฐี สุรศิลป์ “เครือข่ายภาคประชาชนเพื่อการคุ้มครองผู้บริโภค” 1.2การเฝ้ารระวังโดยอาศัยพหุภาคีหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง - คณะอนุกรรมการคุ้มครองผู้บริโภคจังหวัด - คณะทำงานผู้เชี่ยวชาญด้านเภสัชกรรม - คณะกรรมการอาหารปลอดภัย - คณะอนุกรรมการสถานพยาบาล
1.3 การดำเนินแผนงาน/โครงการเพื่อป้องกันปัญหาก่อนมีเรื่องร้องเรียน ๑. โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรด้านการคุ้มครองผู้บริโภค ๒. โครงการเฝ้าระวังการโฆษณาในสื่อวิทยุชุมชนกลุ่มเสี่ยง ๑อำเภอ ๑คลื่น ๓. โครงการเฝ้าระวังความปลอดภัยผลิตภัณฑ์อาหาร ๔. โครงการสัมมนาเครือข่ายและแกนนำคุ้มครองผู้บริโภคจังหวัดยโสธร ๕. โครงการส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการจัดการเครื่องสำอางอันตราย ๖. โครงการ อย.น้อย ปี๒๕๕๗ ๗. โครงการเวทีภาคประชาชน นักวิชาการ นักกฎหมาย และ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ปัญหาข้อจำกัดในการดำเนินการปัญหาข้อจำกัดในการดำเนินการ ๑. เจ้าหน้าที่ขาดทักษะด้านกฎหมายในการดำเนินงานเรื่องร้องเรียน ๒. การปฏิบัติงานมีความเสี่ยง
สรุปผลการติดตามประเมินคุณภาพของตลาดประเภทที่ 2 และแจ้งผลแก่ อปท. ขั้นที่ 5 ขั้นที่ 4 ดำเนินการตรวจแนะนำ และตรวจประเมินคุณภาพของตลาดประเภทที่ 2 จัดทำฐานข้อมูลตลาดประเภทที่ 2 ในพื้นที่รับผิดชอบ ขั้นที่ 3 ตัวชี้วัด :(402)ร้อยละของจำนวนตลาดประเภทที่ 2 ตามกฎกระทรวงว่าด้วยสุขลักษณะของตลาด พ.ศ. 2551 ได้รับการติดตามประเมินคุณภาพ จัดทำแผนปฏิบัติการติดตามประเมินคุณภาพของตลาดประเภทที่ 2 ในพื้นที่รับผิดชอบ ขั้นที่ 2 กำหนดผู้รับผิดชอบดำเนินการติดตามประเมินคุณภาพของตลาด ประเภทที่ 2 ตามกฎกระทรวงว่าด้วยสุขลักษณะของตลาด พ.ศ. 2551 ขั้นที่ 1 ผ ผลงานปัจจุบัน :ทั้ง 9 อำเภอ ดำเนินการในขั้นตอนที่ 1-3 เสร็จเรียบร้อยแล้วครอบคลุมจำนวนตลาดประเภทที่ 2 ทั้งสิ้น 19 แห่ง
ตัวชี้วัด : (403) ร้อยละของจำนวนข้อร้องเรียนเรื่องเหตุรำคาญตามพระราชบัญญัติการสาธารณสุข พ.ศ. 2535 ได้รับการจัดการตามขั้นตอนที่กำหนด การจัดทำแผนผังแสดงขั้นตอนการปฏิบัติงานในการจัดการข้อร้องเรียนเรื่องเหตุรำคาญ ขั้นที่ 2 กำหนดผู้รับผิดชอบดำเนินการกำหนดผู้รับผิดชอบดำเนินการจัดการข้อร้องเรียนเรื่องเหตุรำคาญ ขั้นที่ 1 ผลงานปัจจุบัน :ทั้ง 9 อำเภอ ดำเนินการในขั้นตอนที่ 1 - 2 เสร็จเรียบร้อยแล้ว
ผลการจัดการข้อร้องเรียนฯ แยกรายอำเภอ จังหวัดยโสธร (ต.ค. 2556 –ก.พ. 2557) ผลงานปัจจุบัน:มีข้อร้องเรื่อง 1 ที่อ.คำเขื่อนแก้ว ดำเนินครบตามขั้นตอน
การตรวจราชการแบบบูรณาการการตรวจราชการแบบบูรณาการ
นโยบายรัฐบาล: ครัวไทยสู่ครัวโลก • 1.โครงการพัฒนามาตรฐานการผลิตอาหารแปรรูปที่บรรจุในภาชนะพร้อมจำหน่ายเข้าสู่มาตรฐาน Primary GMP ความเป็นมา • จังหวัดยโสธร มีสถานที่ผลิตอาหารแปรรูปที่บรรจุในภาชนะพร้อมจำหน่าย ที่เข้าข่าย Primary GMP มีทั้งหมดประมาณ 110 แห่ง ได้รับอนุญาตเพียง 25 แห่ง • ขาดงบประมาณในการปรับปรุง พัฒนา และมีการแสดงฉลากที่ไม่ถูกต้อง • ในปีงบประมาณ 2557 มีผู้ประกอบการผลิตอาหารแปรรูปที่บรรจุในภาชนะพร้อมจำหน่าย ที่เข้าข่าย Primary GMP มายื่นขออนุญาตเพียง 3 ราย และได้รับอนุญาตทั้ง 3 ราย
ความเป็นมา (ต่อ) • ในปีงบประมาณ 2557 รัฐบาลได้มีนโยบาย ครัวไทยสู่ครัวโลก โดยกำหนดให้มีการพัฒนามาตรฐานการผลิตอาหารแปรรูปที่บรรจุในภาชนะพร้อมจำหน่าย เข้าสู่มาตรฐาน Primary GMP • จังหวัดจะต้องมีการสร้างทีม Primary GMP ระดับอำเภอ ในการพัฒนามาตรฐานการผลิตอาหารแปรรูปที่บรรจุในภาชนะพร้อมจำหน่าย โดยมีองค์ประกอบหลักที่มาของ 3 หน่วยงาน ได้แก่ กระทรวงสาธารณสุข (พัฒนามาตรฐานการผลิต) กระทรวงมหาดไทย(พัฒนาและส่งเสริมตลาด) และกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (ยกระดับมาตรฐานการผลิตสินค้าเกษตร) มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาสถานประกอบการอาหารแปรรูปที่บรรจุในภาชนะพร้อมจำหน่ายร่วมกันของทีม Primary GMP ระดับอำเภอ และภาคีเครือข่าย
การดำเนินงานในระดับจังหวัดการดำเนินงานในระดับจังหวัด 1. ประชุมฯชี้แจงการดำเนินงานให้ผู้ที่เกี่ยวข้องทราบ 2. เป็นพี่เลี้ยง ดูแลแนะนำด้านวิชาการ ให้คำปรึกษา กับทีม Primary GMP ระดับอำเภอ 3. ประสานงานกับระดับกรม เพื่อสนับสนุนการดำเนินงานของทีม Primary GMP ระดับอำเภอ 4. สนับสนุนงบประมาณในการจัดอบรม 5. รวบรวมฐานข้อมูลสถานที่ผลิตอาหารที่เข้าข่าย Primary GMP ทุกอำเภอ
การดำเนินงานของทีม Primary GMP ระดับอำเภอ 1. แต่งตั้งคณะทำงานทีม Primary GMP ระดับอำเภอ (ที่ประกอบด้วย 3 หน่วยงาน) 2. กำหนดเป้าหมายและวางแผนการดำเนินงาน 3. ดำเนินงานตามแผนงานและเป้าหมาย 4. รวบรวมและจัดทำฐานข้อมูลสถานที่ผลิตอาหารแปรรูปที่บรรจุในภาชนะพร้อมจำหน่าย 5. สรุปและประเมินผลการดำเนินงานของทีม 6. ประชาสัมพันธ์ให้ผู้ประกอบการทราบ
แนวทาง/มาตรการจัดการและการกำหนดค่าดัชนีความเสี่ยงตามหลักธรรมาภิบาลของหน่วยรับตรวจแนวทาง/มาตรการจัดการและการกำหนดค่าดัชนีความเสี่ยงตามหลักธรรมาภิบาลของหน่วยรับตรวจ 1. การสร้างทีมงานเพื่อพัฒนาสถานประกอบการตามมาตรฐาน Primary GMP ระดับอำเภอ ที่มีองค์ประกอบหลัก จาก 3 หน่วยงาน • ผลการประเมินความเสี่ยง พบว่ามีค่าดัชนีความเสี่ยงอยู่ในระดับที่ยอมรับได้ (9) ซึ่งจังหวัดยโสธร ได้มีแนวทางในการจัดการความเสี่ยง โดยได้ประชุมชี้แจงคณะทำงานที่เกี่ยวข้อง ทั้ง 3 หน่วยงาน ในระดับจังหวัดและระดับอำเภอ ในวันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2557
แนวทาง/มาตรการจัดการและการกำหนดค่าดัชนีความเสี่ยงตามหลักธรรมาภิบาลของหน่วยรับตรวจ (ต่อ) 2. การจัดทำฐานข้อมูลสถานที่ผลิตอาหารที่เข้าข่าย Primary GMP และข้อมูลการพิจารณาอนุญาต • ผลการประเมินความเสี่ยง พบว่ามีค่าดัชนีความเสี่ยงอยู่ในระดับที่ยอมรับได้ (4) ซึ่งจังหวัดยโสธร ได้มีแนวทางในการจัดการความเสี่ยง โดย ได้มีการจัดทำฐานข้อมูลสถานที่ผลิตอาหารที่เข้าข่าย Primary GMP และข้อมูลการพิจารณาอนุญาต
แนวทาง/มาตรการจัดการและการกำหนดค่าดัชนีความเสี่ยงตามหลักธรรมาภิบาลของหน่วยรับตรวจ (ต่อ) 3. การส่งเสริมและพัฒนาสถานประกอบการอาหารให้ได้มาตรฐาน Primary GMP • ผลการประเมินความเสี่ยง พบว่ามีค่าดัชนีความเสี่ยงอยู่ในระดับที่ยอมรับได้ (8) ซึ่งจังหวัดยโสธร ได้มีแนวทางในการจัดการความเสี่ยง โดย ทีม Primary GMP ระดับอำเภอ มีแผนการดำเนินงานในระดับอำเภอ โดยกำหนดเป้าหมาย แผนการดำเนินงานแบบบูรณาการ และสรุปผลการดำเนินงาน
แนวทาง/มาตรการจัดการและการกำหนดค่าดัชนีความเสี่ยงตามหลักธรรมาภิบาลของหน่วยรับตรวจ (ต่อ) 4. มาตรการการกำกับและนิเทศงานการส่งเสริมและพัฒนาสถานประกอบการอาหารให้ได้มาตรฐาน Primary GMP • ผลการประเมินความเสี่ยง พบว่ามีค่าดัชนีความเสี่ยงอยู่ในระดับที่ยอมรับได้ (9) ซึ่งจังหวัดยโสธร ได้มีแนวทางในการจัดการความเสี่ยง โดย จังหวัดยโสธรมีการแต่งตั้งคณะทำงาน ในการกำกับ นิเทศติดตามงาน สรุปและประเมินผล ปีละ 2 ครั้ง
มีโรงพยาบาลที่ผ่านการรับรอง จำนวน 3 แห่ง (รพท.ยโสธร รพช.คำเขื่อนแก้ว และ รพช. มหาชนะชัย ) จากทั้งหมด 9 แห่ง ร้อยละ 33.33 • ผลการพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาลปี 2557 2. การพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาล ด้วยกระบวนการ HA
สถานการณ์การพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาลจังหวัดยโสธรสถานการณ์การพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาลจังหวัดยโสธร
สนับสนุน ส่งเสริมโรงพยาบาลที่เหลือทั้ง 6 แห่ง โดยกระบวนการพัฒนาสถานพยาบาลด้วยระบบพี่เลี้ย ( Quality Learning Network; QLN) เพื่อเป็นการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในลักษณะพี่ช่วยน้อง และยกระดับการพัฒนาให้มุ่งสู่การรับรองคุณภาพโรงพยาบาลสู่ HA กลไกการขับเคลื่อนระดับจังหวัด
1. มีคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาลและ ผู้เยี่ยมสำรวจระดับจังหวัด2. มีแผนปฏิบัติงานเยี่ยมสำรวจเครือข่าย โดยมีโรงพยาบาล ทรายมูลเป็นผู้จัดการเครือข่าย3. ดำเนินการตามแผนยี่ยมสำรวจเพื่อเตรียมความพร้อมใน การพัฒนาสู่การรับรองคุณภาพ จำนวน 4โรงพยาบาล(รพ.ป่าติ้ว รพร.เลิงนกทารพ.ทรายมูล รพ.มหาชนะชัย) ผลการดำเนินงานด้วย QLN
1. โรงพยาบาลที่ส่งขอ Pre-Survey เพื่อ เตรียมความพร้อมในการขอการรับรอง 2 แห่ง คือ รพช.ทรายมูล และ รพช.ป่าติ้ว 2. โรงพยาบาลที่ต้องทำการต่ออายุการรับรองRe-Accredit 3 แห่ง คือ รพท. ยโสธร รพช.มหาชนะชัย และ รพช.คำเขื่อนแก้ว 3. โรงพยาบาลที่ต้องเพิ่มระดับค่าคะแนนเพื่อขอรับการ รับรองภายในปี 2557 1 แห่ง คือ รพร.เลิงนกทา เป้าหมายการพัฒนาในปี 2557
3. การดำเนินงานแรงงานต่างด้าว
ผลการตรวจสุขภาพแรงงานต่างด้าว แยกตามสัญชาติ จังหวัดยโสธร ปีงบประมาณ ๒๕๕๖ (ก่อนออกใบอนุญาตทำงาน) หมายเหตุ โรคที่พบ วัณโรค 1 ราย สัญชาติลาว ซิฟิลิส 1 ราย สัญชาติลาวไม่พบโรคที่ห้ามทำงาน
การดำเนินงาน 1.การขึ้นทะเบียน 1.1 ดำเนินการประชุมสัมมนาแนวทางการดำเนินงานแรงงานต่างด้าวทั่วไป อนามัยแม่และเด็กปีงบประมาณ 2556 ขึ้นโดยมุ่งหวังให้อาสาสมัครสาธารณสุข ช่วยค้นหาแรงงานต่างด้าวที่หลบหนีเข้าเมือง 3 สัญชาติได้แก่ พม่า กัมพูชาและลาว ให้มาขึ้นทะเบียนและเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงานประกันสุขภาพ ได้ทราบแนวทางการการดำเนินงาน(กลุ่มเป้าหมายผู้เข้าประชุม 150 คน) 1.2 ขึ้นทะเบียนบัตรประกันสุขภาพแรงงานต่างด้าว จังหวัดยโสธรจัดให้มีการขึ้นทะเบียนใน 3 โรงพยาบาล ได้แก่โรงพยาบาลยโสธร โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชเลิงนกทาและโรงพยาบาลคำเขื่อนแก้ว
การดำเนินงาน (ต่อ) 1.3 จัดทำโครงการประชุมสัมมนาแนวทางการดำเนินงานแรงงานต่างด้าว ปี พ.ศ.2557 ขึ้นโดยมุ่งหวังให้ผู้นำชุมชนช่วยค้นหาแรงงานต่างด้าวที่หลบหนีเข้าเมือง 3 สัญชาติได้แก่ พม่า กัมพูชาและลาว ให้มาขึ้นทะเบียนบัตรประกันสุขภาพ และเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงานประกันสุขภาพ ได้ทราบแนวทางการการดำเนินงาน (กลุ่มเป้าหมายผู้เข้าประชุม 150 คน) 1.4 มีการประสานข้อมูลกับกระทรวงมหาดไทย กระทรวงแรงงาน เพื่อประกอบการดำเนินงานเกี่ยวกับแรงงานต่างด้าว
การดำเนินงาน (ต่อ) 2.การรักษาพยาบาล 2.1 การรักษาพยาบาลแรงงานต่างด้าวสามารถเข้ารับการรักษาได้ทุกสถานบริการในเขตจังหวัดยโสธร และเรียกเก็บจากโรงพยาบาลที่รับขึ้นทะเบียน 2.2 การควบคุมกำกับคุณภาพการบริการทั้งภาครัฐและภาคเอกชนดำเนินการในระบบปกติของกระทรวงสาธารณสุข ในการตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐานและนิเทศติดตาม 3. ด้านส่งเสริมสุขภาพควบคุมป้องกันโรค ด้านส่งเสริมสุขภาพควบคุมป้องกันโรคในแรงงานต่างด้าวตามสิทธิประโยชน์ของการประกันสุขภาพ จะดำเนินงานขั้นต้นโดยการตรวจสุขภาพก่อนซื้อบัตร จากนั้นจะดำเนินงานในชุมชนเช่นเดียวกับประชาชนในพื้นที่
ปัญหาอุปสรรคและแนวทางการแก้ไขปัญหาอุปสรรคและแนวทางการแก้ไข • มีคนต่างด้าวสัญชาติลาว พม่า และกัมพูชา ในพื้นที่จำนวนหนึ่งยังไม่เข้าสู่ระบบประกันสุขภาพ • คนต่างด้าวสัญชาติอื่นนอกจากลาว พม่า และกัมพูชาในการดูแลสุขภาพยังไม่มีนโยบายที่ชัดในการดำเนินงาน รวมทั้งกลุ่มนักท่องเที่ยว • การลงรายงานทางโปรแกรมของกระทรวงสาธารณสุขไม่เสถียร เปลี่ยนแปลงบ่อยข้อมูลบางส่วนไม่ครบถ้วน ครอบคลุม