330 likes | 664 Views
งานวิจัย มหาวิทยาลัยบูรพา. ศ.ดร.สมศักดิ์ พันธุวัฒนา รองอธิการบดีฝ่ายวิจัย. นโยบายและแนวทางการวิจัยของมหาวิทยาลัย.
E N D
งานวิจัย มหาวิทยาลัยบูรพา ศ.ดร.สมศักดิ์ พันธุวัฒนา รองอธิการบดีฝ่ายวิจัย
นโยบายและแนวทางการวิจัยของมหาวิทยาลัยนโยบายและแนวทางการวิจัยของมหาวิทยาลัย • มหาวิทยาลัยทั่วไป มุ่งส่งเสริมการวิจัยที่สนับสนุนนโยบายและแนวทางการวิจัยของชาติเป็นหลัก โดยเน้นการวิจัยที่มีศักยภาพและเป็นไปตามความจำเป็นของชุมชน สร้างเสริมสุขภาพและคุณภาพชีวิตของประชาชน รวมทั้งช่วยลดปัญหาต่าง ๆ ที่จะมีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม สุขภาพอนามัย และวิถีชีวิตของประชาชนในเวทีโลก ใช้มาตรฐานของความรู้จากการวิจัยและพัฒนาเพื่อสร้างความรู้และนวัตกรรมใหม่ ๆ
วิสัยทัศน์ • มหาวิทยาลัยบูรพา เป็นมหาวิทยาลัยชั้นนำ จัดการเรียนรู้และการวิจัย ที่ได้มาตรฐานในระดับนานาชาติ เป็นที่พึ่งทางวิชาการแก่สังคม โดยมุ่งสู่การเป็นมหาวิทยาลัยวิจัย
นโยบายและแนวทางการวิจัยของมหาวิทยาลัยบูรพานโยบายและแนวทางการวิจัยของมหาวิทยาลัยบูรพา • มหาวิทยาลัยบูรพา มุ่งส่งเสริมการวิจัยที่สนับสนุนนโยบายและแนวทางการวิจัยของชาติเป็นหลัก โดยเน้นการวิจัยที่มีศักยภาพและเป็นไปตามความจำเป็นของชุมชนภาคตะวันออก สร้างเสริมสุขภาพและคุณภาพชีวิตของประชาชน รวมทั้งช่วยลดปัญหาต่าง ๆ ที่จะมีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม สุขภาพอนามัย และวิถีชีวิตของประชาชนในเวทีโลก ใช้มาตรฐานของความรู้จากการวิจัยและพัฒนาเพื่อสร้างความรู้และนวัตกรรมใหม่ ๆ
การจัดการงานวิจัย • แยกงานวิจัยออกเป็น 3 ประเภท • งานวิจัยประเภท ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ของรายบุคคล หรือรายกลุ่ม • งานวิจัยเพื่อการใช้ประโยชน์ โดยมีผู้ใช้ประโยชน์ในภาคการผลิต หรือ ใช้ประโยชน์ในเชิง นโยบาย • งานวิจัยเพื่อพัฒนางานประจำ ปรับปรุงคุณภาพงานประจำ
วิจัยช่วยส่งเสริมการเข้าสู่ตำแหน่งวิชาการวิจัยช่วยส่งเสริมการเข้าสู่ตำแหน่งวิชาการ • การเข้าสู่ตำแหน่งวิชาการ ช่วยเกื้อหนุนและจูงใจการผลิตผลงานวิชาการ-วิจัย เพื่อรับใช้ หรือ ตอบสนองสังคมไทย โดยแยกงานและผลงานวิชาการ-วิจัย ออกเป็น 2 สาย • สายวิชาการนานาชาติ • สายวิชาการประยุกต์สังคมไทย ใช้ประโยชน์ ก่อผลเชิงเศรษฐกิจหรือเชิงสังคมแก่ชุมชน ท้องถิ่น
ปรัชญาและมาตรฐานวิชาการและวิชาชีพปรัชญาและมาตรฐานวิชาการและวิชาชีพ • เน้นการพัฒนานักวิชาการ และวิชาชีพ ที่มีความสามารถระดับสูง ในสาขาวิชาต่าง ๆ โดยกระบวนการวิจัย เพื่อ ให้สามารถบุกเบิกแสวงหาความรู้ใหม่ ได้อย่างมีอิสระ รวมทั้งมีความสามารถในการสร้างสรรค์ จรรโลงความก้าวหน้าทางวิชาการ เชื่อมโยงและบูรณาการศาสตร์ที่ตนเชี่ยวชาญ กับศาสตร์อื่นได้อย่างต่อเนื่อง มีคุณธรรมและจรรยาบรรณ ทางวิชาการและวิชาชีพ
วัฒนธรรมเกี่ยวกับการวิจัยวัฒนธรรมเกี่ยวกับการวิจัย • สร้างและส่งเสริม บรรยากาศของการแลกเปลี่ยนทางวิชาการ • ส่งเสริมการวิจัยข้ามศาสตร์ ข้าม สถาบัน ส่งเสริม ความร่วมมือ และการใช้ประโยชน์ร่วมกันระหว่าง สถาบันและระหว่างประเทศของนักวิจัย • ถือว่านักศึกษาและอาจารย์คือผู้ร่วมเรียนรู้ ไม่ใช่อาจารย์ถ่ายทอด ความรู้ข้างเดียว
การวิจัยและการสนับสนุน ทรัพยากร • เป้าหมายด้านการวิจัย • พัฒนามหาวิทยาลัยสู่การเป็นมหาวิทยาลัยวิจัย มุ่งเน้นการวิจัยเพื่อสร้างองค์ความรู้ และ การวิจัยเชิงบูรณาการ
แผนยุทธศาสตร์ด้านการวิจัยแผนยุทธศาสตร์ด้านการวิจัย • การวิจัยเพื่อสร้างองค์ความรู้ และ การบูรณาการ • เชื่อมโยงการวิจัยให้ครอบคลุมทุกพันธกิจ • จัด ทรัพยากรสนับสนุนการวิจัย และการเผยแพร่ผลการวิจัย ตลอดจนการจดสิทธิบัตร • กำหนดแผนการวิจัยของมหาวิทยาลัย
การสร้างระบบการจูงใจในการทำวิจัยการสร้างระบบการจูงใจในการทำวิจัย • สร้างนักวิจัยทุกสาขา ทุกระดับ โดยแสวงหาแหล่งทุน และจัดสรรทุนวิจัย • สร้าง บรรยากาศในการวิจัย • ปรับหลักเกณฑ์ด้านการวิจัยให้ เกิดความคล่องตัว • กำหนดมาตรการให้มีการวิจัยต่อเนื่อง สำหรับนักวิจัยที่มีตำแหน่งทางวิชาการ
การสร้างระบบการจูงใจในการทำวิจัย(ต่อ)การสร้างระบบการจูงใจในการทำวิจัย(ต่อ) • จัดหาทรัพยากรสนับสนุนการวิจัย และ เผยแพร่ ผลงานวิจัย • สนับสนุนให้มีการนำเสนอผลงานวิจัย อย่างต่อเนื่อง • เพิ่มทุนวิจัยระดับบัณฑิตศึกษา
เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษา ๒๕๔๘ ระดับปริญญาโท แผน ก และระดับปริญญาเอก ผลงานและวิทยานิพนธ์ จะต้องได้รับการตีพิมพ์ หรืออย่างน้อยดำเนินการให้ผลงาน หรือ ส่วนหนึ่งของผลงานได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ในวารสาร หรือสิ่งพิมพ์ทางวิชาการ หรือเสนอต่อที่ประชุมวิชาการที่มีรายงานการประชุม(Proceedings)
แหล่งทรัพยากรที่ให้การสนับสนุนการวิจัยแหล่งทรัพยากรที่ให้การสนับสนุนการวิจัย • สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา • ผู้ว่าราชการจังหวัดบูรณา การ (ผู้ว่า CEO) • โดยเน้นลักษณะโครงการวิจัยตาม • ยุทธศาสตร์ ชาติ • ยุทธศาสตร์ ภาค • ยุทธศาสตร์ กลุ่มจังหวัด • ยุทธศาสตร์ จังหวัด
งบประมาณการวิจัย ม.บูรพา(2547) • โครงการวิจัยจากงบประมาณแผ่นดิน 28 โครงการ งบประมาณ 29,486,900 บาท • โครงการวิจัยจากเงินรายได้ 61 โครงการ งบประมาณ 5,382,963 บาท • โครงการวิจัยจากแหล่งทุนอื่น 35 โครงการ งบประมาณ 7,193,920 บาท • โครงการวิจัยที่ทำร่วมกับหน่วยงานอื่น 13 โครงการ งบประมาณ 14,928,946 บาท • รวม 137 โครงการ เป็นเงิน 56,992,729 บาท
เครือข่าย บริหารการวิจัยภาคกลางฝั่งตะวันออก • วิทยาลัยอาชีว ศึกษา ชลบุรี • วิทยาลัยชุมชน สระแก้ว
เครือข่าย บริหารการวิจัยภาคกลางฝั่งตะวันออก • สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง วิทยาเขต ระยอง • สถาบันเทคโนโลยีพระนครเหนือ วิทยาเขต ปราจีนบุรี • มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ วิทยาเขตชลบุรี • มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตจันทบุรี • มหาวิทยาลัยบูรพา วิทยาเขตสระแก้ว • สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล บางพระ
เครือข่าย บริหารการวิจัยภาคกลางฝั่งตะวันออก • สถาบันแม่ข่าย มหาวิทยาลัยบูรพา • มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหานคร • วิทยาลัย เซนต์หลุยส์ • มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิม พระเกียรติ • สถาบันราชภัฏ ราชนครินทร์ • สถาบันราชภัฏ รำไพพรรณี • สถาบันราชภัฏ ธนบุรี
(สกอ.) ภาคกลางตะวันออก • จังหวัดสมุทรปราการ จังหวัดนครนายก • จังหวัดปราจีนบุรี จังหวัดสระแก้ว • จังหวัดฉะเชิงเทรา จังหวัดชลบุรี • จังหวัดระยอง จังหวัดจันทบุรี • จังหวัดตราด
สร้างเครือข่ายการวิจัยสร้างเครือข่ายการวิจัย • เครือข่าย บริหารการวิจัยภาคใต้ตอนล่าง (11 สถาบัน) • เครือข่าย บริหารการวิจัยภาคกลางตอนบน • (56 สถาบัน) • เครือข่าย บริหารการวิจัยภาคกลางตอนล่าง • (22 สถาบัน) • เครือข่าย บริหารการวิจัยภาคกลางฝั่งตะวันออก • (14 สถาบัน)
สร้างเครือข่ายการวิจัยสร้างเครือข่ายการวิจัย • เครือข่าย บริหารการวิจัยภาคเหนือตอนบน ( 20 สถาบัน) • เครือข่าย บริหารการวิจัยภาคเหนือตอนล่าง • ( 17 สถาบัน) • เครือข่าย บริหารการวิจัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ • (41 สถาบัน) • เครือข่าย บริหารการวิจัยภาคใต้ตอนบน (14 สถาบัน)
แหล่งทุนวิจัยและพัฒนาแหล่งทุนวิจัยและพัฒนา • งบประมาณแผ่นดินแหล่งทุนภายนอก • กระทรวง ทบวง กรม (ภาครัฐ) องค์กรเอกชน • องค์กรเชิงยุทธศาสตร์ชาติ ความช่วยเหลือจาก • ( 5 clusters) จากต่างประเทศ • ยุทธศาสตร์ cluster จังหวัด • ผู้ว่าCEO • องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
นโยบายเก้าประการ(ต่อ) • พัฒนากฎหมายและส่งเสริมการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี • ส่งเสริมประชาธิปไตยและกระบวนการประชาสังคม • รักษาความมั่นคงของรัฐ • ตามแนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ
นโยบายเก้าประการ(๒๓มี.ค.๔๘)นโยบายเก้าประการ(๒๓มี.ค.๔๘) • ขจัดความยากจน • พัฒนาคนและสังคมที่มีคุณภาพ • ปรับโครงสร้างเศรษฐกิจให้สมดุลและแข่งขันได้ • บริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม • การต่างประเทศและเศรษฐกิจระหว่างประเทศ
โครงการบูรณาการที่ได้ทำไว้ 2548 • สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ 5 ด้าน • จากข้อเสนอการวิจัยทางวิชาการ • จำนวน 4,399 โครงการ • งบประมาณ 11,937.85 ล้านบาท • จากทั้งหมด 137 หน่วยงานในระดับกรม
การบริหารจัดการงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงาน(ต่อ)การบริหารจัดการงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงาน(ต่อ) • Performance based budgeting • งานวิจัยโดยรวมมีเป้าหมายและทิศทางที่ชัดเจน เน้นให้เกิดการวิจัยแบบบูรณาการ เกิดความเชื่อมโยงทั้งระบบ ลดการซ้ำซ้อน เชื่อมโยงสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติตามการจัดลำดับความสำคัญ มุ่งเน้นการวิจัยเป็นกลุ่มกิจกรรม (Cluster) ที่ก่อผลเป็นรูปธรรม เกิดผลลัพท์ (Outcome) ที่เกิดประโยชน์ต่อประเทศอย่างชัดเจนและทันที
การบริหารจัดการงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงานการบริหารจัดการงบประมาณแบบมุ่งเน้นผลงาน • Performance based budgeting • เชื่อมโยงระบบการวิจัยตามแผนยุทธศาสตร์ของรัฐบาล และเชื่อมต่อระหว่างยุทธศาสตร์ชาติ เพื่อให้ระบบการวิจัยของประเทศปรับตัวให้สามารถตอบสนองกับความต้องการของสังคมและก้าวทันความเปลี่ยนแปลงของโลก
โครงการบูรณาการที่ได้ทำไว้ 2548 • แบ่งเป็น • 13 Cluster • 57 เรื่อง • จาก 19 กระทรวง 104 กรม • งบประมาณ 6,394.36 ล้านบาท
ยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด “Cluster” และ ยุทธ ศาสตร์จังหวัด • คณะรัฐมนตรีมีมติให้ ความเห็นชอบ ยุทธศาสตร์ กลุ่มจังหวัด โดยมีรองนายกรัฐมนตรีกำกับดูแล • จังหวัดต้องนำเสนอแผนงาน/โครงการให้สอดคล้องกับ ยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัด • กลุ่มจังหวัดมีทั้งสิ้น 19 กลุ่ม
นโยบายการวิจัยบูรณาการ(ต่อ)นโยบายการวิจัยบูรณาการ(ต่อ) สถาบันอุดมศึกษาจะต้องพัฒนาไปสู่การเป็นมหาวิทยาลัยวิจัย มีการประเมินเพื่อจัดระบบใหม่ เพื่อเตรียมเข้าสู่สังคมฐานความรู้ การวิจัยต้องสอดคล้องเชื่อมโยงกับนโยบายของรัฐบาลและแผนบริหารราชการแผ่นดิน และต้องมีการปรับเปลี่ยนและผลักดันงานวิจัยให้เกิดขึ้นเป็นระบบและเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาประเทศ
นโยบายการวิจัยบูรณาการ(๒๓มี.ค.๔๘)นโยบายการวิจัยบูรณาการ(๒๓มี.ค.๔๘) • รองนายกรัฐมนตรี (นายจาตุรนต์ ฉายแสง) ในฐานะกำกับดูแลงานด้านการวิจัยของประเทศ ได้ให้นโยบายเกี่ยวกับการวิจัยบูรณาการของประเทศ สรุปได้คือ • - ต้องกำหนดทิศทางงานวิจัยของประเทศให้ชัดเจน มีการพัฒนาระบบงานวิจัยให้เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาประเทศ • - ต้องใช้ประโยชน์จากงานวิจัย โดยใช้ผลงานวิจัยเป็นเครื่องมือในการบริหารและต้องทำวิจัยในการทำงาน โดยการกำหนดนโยบายของรัฐในด้านต่างๆ ต้องมีงานวิจัยรับรอง