150 likes | 340 Views
โครงการอบรมหลักสูตร ความรู้พื้นฐานตามภารกิจ 4 ด้าน หลักสูตรธรรมาภิบาลธุรกิจ. โดยสำนักกฎหมายและคดี. วิสัยทัศน์ พันธกิจ และยุทธศาสตร์ ปี 2553-2555. ธรรมาภิบาลธุรกิจ ( Good Corporate Governance ). ความเป็นมา. - เกิดวิกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจ ในปี 2540
E N D
โครงการอบรมหลักสูตร ความรู้พื้นฐานตามภารกิจ 4 ด้าน หลักสูตรธรรมาภิบาลธุรกิจ โดยสำนักกฎหมายและคดี
วิสัยทัศน์ พันธกิจ และยุทธศาสตร์ ปี 2553-2555
ธรรมาภิบาลธุรกิจ (Good Corporate Governance) ความเป็นมา - เกิดวิกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจ ในปี 2540 - รัฐบาลให้ความสำคัญกับการยกระดับบรรษัทภิบาลในตลาดทุน โดยกำหนดให้ปี 2545 เป็นปีเริ่มต้นแห่งการรณรงค์การมีบรรษัทภิบาลที่ดีและเพื่อให้มาตรการในเรื่องการสร้างระบบบรรษัทภิบาลที่ดีมีการดำเนินการอย่างเป็นรูปธรรม มีความต่อเนื่องและครอบคลุมทั้งระบบ - คณะรัฐมนตรีได้มีมติเมื่อวันที่ 5 กุมภาพันธ์ 2545 จัดตั้ง “คณะกรรมการบรรษัทภิบาลแห่งชาติ” โดยมี ฯพณฯ นายกรัฐมนตรี เป็นประธาน ซึ่งคณะกรรมการฯมีนโยบายจัดเรื่องนี้ให้เป็นวาระแห่งชาติ (National Agenda)
ธรรมาภิบาลธุรกิจ (Good Corporate Governance) เพื่อให้การดำเนินงานของคณะกรรมการบรรษัทบาลแห่งชาติเป็นไปด้วยความรวดเร็ว รอบคอบ และมีประสิทธิภาพ คณะกรรมการบรรษัทภิบาลแห่งชาติได้มีคำสั่งแต่งตั้งคณะอนุกรรมการ 4 คณะ ดังนี้ 1. คณะอนุกรรมการพิจารณาแนวปฏิบัติที่ดีของบริษัทจดทะเบียน (ในตลาดหลักทรัพย์) 2. คณะอนุกรรมการยกระดับ Corporate Governanceด้านธนาคาร พาณิชย์ บริษัทเงินทุน และบริษัทประกันภัย 3. คณะอนุกรรมการยกระดับ Corporate Governance ด้านบริษัทหลักทรัพย์และผู้ประกอบธุรกิจสัญญาซื้อขายล่วงหน้า 4. คณะอนุกรรมการสร้างความรู้ความเข้าใจและการประชาสัมพันธ์การดำเนินการเกี่ยวกับ Corporate Governance ในประเทศไทย
พค. กับ ธรรมาภิบาลธุรกิจ 1. นโยบาย ของ รมช.อลงกรณ์ พลบุตร - ให้กรมพัฒนาธุรกิจการค้า ศึกษาแนวทางในการนำระบบธรรมาภิบาลภาคธุรกิจที่ดี (Good CorporateGovernance) มาใช้ในการปฏิบัติงานของกรมพัฒนาธุรกิจการค้า เพื่อเสริมสร้างให้ธุรกิจมีธรรมาภิบาลในการประกอบธุรกิจ ซึ่งจะเป็นผลดีต่อองค์กรธุรกิจเอง รวมทั้ง นักลงทุนและประชาชนทั่วไปซึ่งเป็นผู้บริโภค และจะส่งผลดีต่อความมั่นคงทางด้านเศรษฐกิจของประเทศโดยรวม โดยเห็นว่าภาพรวมการประกอบธุรกิจในปัจจุบันตามที่เป็นข่าวในสื่อหนังสือพิมพ์และทีวี มีการประกอบธุรกิจที่ขาดธรรมาภิบาลธุรกิจจำนวนมาก
พค. กับ ธรรมาภิบาลธุรกิจ ส่งเสริม พัฒนามาตรฐาน การกำกับดูแลธรรมาภิบาลธุรกิจ กำกับดูแล และตรวจสอบธุรกิจให้ปฏิบัติถูกต้องตามกฎหมาย • 1. ตรวจสอบด้านทะเบียนธุรกิจ • ตรวจสอบความถูกต้องก่อนและหลังการจดทะเบียน • 2. ตรวจสอบด้านบัญชี • ตรวจสอบบัญชี และวิเคราะห์งบการเงิน • 3. ตรวจสอบด้านการประกอบธุรกิจของคนต่างด้าว • ตรวจสอบนิติบุคคลต่างด้าว และการถือหุ้นแทนคนต่างด้าว • 4. ตรวจสอบข้อร้องเรียน และนโยบายของกรมฯ • ตรวจสอบแสวงหาข้อเท็จจริง 1. อบรม แนะนำนิติบุคคลให้ปฏิบัติถูกต้อง ตามกฎหมาย 2. สร้างเครือข่ายเชื่อมโยงข้อมูล/ความ ร่วมมือในการตรวจสอบธุรกิจ กับภาค ส่วน ต่างๆ 3. ศึกษา วิเคราะห์ ประเมินผลการตรวจสอบ ธุรกิจและกำกับดูแลธุรกิจเพื่อวางแนวทาง 4. ปรับปรุงกฎหมาย กฎเกณฑ์ ให้เหมาะสม 2. บทบาทและภารกิจด้านธรรมาภิบาลของกรม • กำกับดูแล ป้องกัน และป้องปรามมิให้ธุรกิจหลีกเลี่ยง หรือผ่าฝืนการปฏิบัติตามกฎหมาย • คุ้มครองผู้มีส่วนได้เสียให้ได้รับความเป็นธรรม • เพิ่มศักยภาพและขีดความสามารถในการแข่งขันด้านข้อมูลธุรกิจ • สร้างความตระหนัก ความเข้าใจแก่ภาคธุรกิจ • มีเครือข่ายความร่วมมือกับหน่วยงานต่างๆ • การตรวจสอบ และกำกับดูแลธุรกิจ รวมถึงความถูกต้องของข้อมูลมีประสิทธิภาพ น่าเชื่อถือ สร้างความเชื่อมั่นในข้อมูลธุรกิจของประเทศ ผู้ประกอบธุรกิจปฏิบัติถูกต้องตามกฎหมาย สร้างเครือข่ายความร่วมมือ และคุ้มครองผู้มีส่วนได้เสียให้ได้รับความเป็นธรรม กำกับดูแลธุรกิจให้มีธรรมาภิบาล และมีการปฏิบัติตามกฎหมาย
หน้าที่และความรับผิดชอบหน้าที่และความรับผิดชอบ • สำนักกฎหมายและคดี - รับผิดชอบงานด้านกฎหมายตามกฎหมายที่อยู่ในความรับผิดชอบของกรมและกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้อง งานด้านนิติกรรมสัญญา งานด้านคดี และงานศึกษา วิเคราะห์พัฒนากฎหมาย
- ปฏิบัติงานธุรการ - ปฏิบัติงานด้านงบประมาณและการพัสดุ - ติดตามประสานงานกับหน่วยงานอื่น ฝ่ายบริหารทั่วไป • สำนักกฎหมายและคดี
- ศึกษา วิเคราะห์พัฒนากฎหมาย - ยกร่าง แก้ไข ปรับปรุง กฎหมาย กฎ ระเบียบ ประกาศ คำสั่ง ข้อบังคับ - วินิจฉัยปัญหา ให้ความเห็น และตอบข้อหารือปัญหาข้อกฎหมาย • สำนักกฎหมายและคดี - ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ว่าด้วยหุ้นส่วนและบริษัท - พ.ร.บ. กำหนดความผิดเกี่ยวกับห้างหุ้นส่วนจดทะเบียน ห้าหุ้นส่วนจำกัด บริษัทจำกัด สมาคม และมูลนิธิ พ.ศ. 2499 - พ.ร.บ.ทะเบียนพาณิชย์ พ.ศ. 2499 - พ.ร.บ. บริษัทมหาชนจำกัด พ.ศ. 2535 - พ.ร.บ.การประกอบธุรกิจของคนต่างด้าว พ.ศ. 2542) กลุ่มกฎหมายทะเบียนธุรกิจ
สำนักกฎหมายและคดี กลุ่มกฎหมายการค้า - ศึกษา วิเคราะห์พัฒนากฎหมาย - ยกร่าง แก้ไข ปรับปรุง กฎหมาย กฎ ระเบียบ ประกาศ คำสั่ง ข้อบังคับ - วินิจฉัยปัญหา ให้ความเห็น และตอบข้อหารือปัญหาข้อกฎหมาย - พ.ร.บ.การบัญชี พ.ศ. 2543 - พ.ร.บ.วิชาชีพบัญชี พ.ศ. 2547 - พ.ร.บ.สมาคมการค้า พ.ศ. 2509 - พ.ร.บ.หอการค้า พ.ศ. 2509
สำนักกฎหมายและคดี กลุ่มกฎหมายปกครองและคดี -พิจารณาวินิจฉัยปัญหาให้ความเห็นและตอบข้อหารือปัญหาข้อกฎหมายอื่นๆที่ไม่ได้อยู่ในความรับผิดชอบของกลุ่มงานอื่น -ตรวจร่างนิติกรรมและสัญญา -ดำเนินการด้านคดี
สำนักกฎหมายและคดี พันธสัญญา (Commitments) ด้านที่ 3 สร้างธรรมาภิบาลและพัฒนากฎหมาย (พัฒนากฎหมายให้เอื้อต่อการประกอบธุรกิจ) 1. เสนอร่างพระราชบัญญัติส่งเสริมและพัฒนาธุรกิจ ให้บริการโลจิสติกส์ (ก.ค. 54) 2. เสนอร่างพระราชบัญญัติการประกอบธุรกิจแฟรนไชส์ (ก.ค. 54)
สำนักกฎหมายและคดี ร่างกฎหมายที่อยู่ระหว่างการพิจารณาของ สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา - ร่างพ.ร.บ. แก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... - ร่างพ.ร.บ. บริษัทมหาชนจำกัด (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... - ร่างพ.ร.บ. หลักประกันทางธุรกิจ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ....- ร่างกฎกระทรวงกำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการว่าด้วยการซื้อหุ้นคืน การ จำหน่ายหุ้นที่ซื้อคืน และการตัดหุ้นที่ซื้อคืนของบริษัท (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... - ร่างกฎกระทรวงกำหนดรายการย่อที่ต้องมีในรายงานประจำปีตามมาตรา 115 (5) ออกตามความในพ.ร.บ. บริษัทมหาชนจำกัด (พ.ศ. 2535) พ.ศ. ....
สำนักกฎหมายและคดี ร่างกฎหมายที่อยู่ระหว่างเสนอครม. ให้ความเห็นชอบ - ร่างกฎกระทรวงกำหนดอัตราค่าธรรมเนียมการจดทะเบียน การขอตรวจเอกสาร การขอสำเนาเอกสารพร้อมคำรับรอง และค่าธรรมเนียมอื่นที่เกี่ยวกับห้างหุ้นส่วนและบริษัทจำกัด (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... - ร่างกฎกระทรวงกำหนดอัตราค่าธรรมเนียมการจดทะเบียน การขอตรวจเอกสาร การขอสำเนาเอกสารพร้อมคำรับรอง และค่าธรรมเนียมอื่นที่เกี่ยวกับบริษัทมหาชนจำกัด (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ....