1 / 6

โรงพยาบาลทุกแห่ง ในจังหวัด(ภาครัฐและเอกชน)

แผนผังการรายงานของเครือข่ายเฝ้าระวังโรคไข้หวัดนกระดับอำเภอ ( เขตตรวจราชการสาธารณสุขที่ 10 และ 12 ) แนวทางการดูแลผู้ป่วยสำหรับโรงพยาบาล เมื่อพบผู้ป่วยที่ต้องเฝ้าระวัง. โรงพยาบาลทุกแห่ง ในจังหวัด(ภาครัฐและเอกชน). รายงานทันทีที่พบผู้ป่วยต้องสงสัย (ตามแบบ AI.1).

Download Presentation

โรงพยาบาลทุกแห่ง ในจังหวัด(ภาครัฐและเอกชน)

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. แผนผังการรายงานของเครือข่ายเฝ้าระวังโรคไข้หวัดนกระดับอำเภอ( เขตตรวจราชการสาธารณสุขที่ 10 และ 12 )แนวทางการดูแลผู้ป่วยสำหรับโรงพยาบาล เมื่อพบผู้ป่วยที่ต้องเฝ้าระวัง โรงพยาบาลทุกแห่งในจังหวัด(ภาครัฐและเอกชน) รายงานทันทีที่พบผู้ป่วยต้องสงสัย (ตามแบบ AI.1) สอบสวนโรคเบื้องต้น(ตามแบบ AI.2) สำนักงานสาธารณสุขจังหวัด  รายงานทันทีตามแบบ AI.1 ทางโทรศัพท์/โทรสาร  ส่งแบบสอบสวนโรค AI.2 ภายใน 24 ชั่วโมง  ส่งแบบติดตามผู้ป่วยทุกวันจนจำหน่ายผู้ป่วย  รายงานทันทีตามแบบ AI.1 ทางโทรสาร หรือ โทรศัพท์  ส่งแบบสอบสวนโรค AI.2 ภายใน 24 ชั่วโมง สำนักระบาดวิทยาโทรศัพท์ : 0-2590-1882 , 0-2590-1895โทรสาร : 0-2591-8579 , 0-2590-1784E-Mail : outbreak@health.moph.go.th สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 6โทรศัพท์ : 0-4322-2818 - 9โทรสาร : 0-4322-6164E-Mail : epid6 @yahoo.com ส่งแบบติดตามผู้ป่วยทุกวัน • นำเสนอสถานการณ์ไข้หวัดนกในคน และสถานการณ์ในสัตว์ผ่านทางinternet http:// dpc6.ddc.moph.go.th. สรุปรายงานสถานการณ์โรคทุกวัน ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุขเขต 10, 12 โทรศัพท์ : 0-1848-8641(ผู้ประสานงานเขต 10,12)โทรสาร : 0-2591-8527E-Mail : boonlert@hss.moph.go.th, keeree@hss.moph.go.th. http://dpc6.ddc.moph.go.th.โทร 0-4322-2818 - 9 www.dpc.7.netโทร 045-245108

  2. รายละเอียดการรักษาและการส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการรายละเอียดการรักษาและการส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ  การรักษาด้วยยาต้านไวรัส ผู้ใหญ่ Oseltamivir (Tamiflu)(75 mg) 1 เม็ด เช้า-เย็น หลังอาหาร นาน 5 วัน เด็ก Oseltamivir (Tamiflu) น้ำหนักน้อยกว่า 15 กก. ให้ 30 mg. เช้า-เย็น นาน 5 วัน น้ำหนักตัว 16-23 กก. ให้ 45 mg. เช้า-เย็น นาน 5 วัน น้ำหนักตัว 24-40 กก. ให้ 60 mg. เช้า-เย็น นาน 5 วัน น้ำหนักตัวมากกว่า 40 กก. ให้ 75 mg. เช้า-เย็น นาน 5 วัน • การส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ1. Nasopharyngeal Aspiration หรือ Nasopharyngeal Swab ใส่ไว้ใน Viral Transport Media นำส่งในกระติกน้ำแข็งที่มีน้ำแข็ง หรือ Ice pack เพื่อรักษาอุณหภูมิให้ได้ 2 - 4 องศาเซลเซียส และให้ส่งถึงห้องปฏิบัติการกรมวิทยาศาสตร์การแพทย์หรือศูนย์ วิทยาศาสตร์เขตภายใน 48 ชั่วโมง 2. Clotted Blood 5 มิลลิลิตร(cc.) เก็บ 2 ครั้ง ครั้งแรกเมื่อพบผู้ป่วย ครั้งที่สองเก็บหลังจากครั้งแรกอย่างน้อย 14 วันขึ้นไป และให้ส่งถึงห้องปฏิบัติการ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์หรือศูนย์วิทยาศาสตร์เขต ภายใน 48 ชั่วโมง ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์อุดรธานี โทร.0-4220-7364-6 ต่อ 110โทรสาร 0 – 4220 - 7367  ศูนย์วิทยาศาสตร์การแพทย์ขอนแก่น โทร.0-4324-2871-3 โทรสาร 0 – 4324 - 6156 กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ โทร.01-9891978, Call Center :9510000-11 (กรุณาติดตาม สถานการณ์การเปลี่ยนแปลงแนวทางการเฝ้าระวัง การรักษาที่ dpc6.ddc.moph.go.th. โทร 0 – 4322 -2818 - 9 http:// dpc6.ddc.moph.go.th.โทร 0-4322-2818 - 9 www.dpc.7.netโทร 045-245108

  3. แผนภูมิ แนวทางการดูแลผู้ป่วยที่เข้าข่ายเฝ้าระวังโรคไข้หวัดนก/ไข้หวัดใหญ่ระดับสถานีอนามัย(เขตตรวจราชการสาธารณสุขที่ 10 และ 12 ) ผู้ป่วยไข้(มากกว่า 38oc) + อาการ URI เช่น ไอหรือมีน้ำมูก หรือมีเสมหะ หรือหายใจเร็ว หรือ เหนื่อยหอบ สถานีอนามัย  ประวัติสัมผัสสัตว์ปีกป่วย/ตายภายใน 7 วันก่อนมีอาการผิดปกติครั้งนี้ หรือ สัมผัสผู้ป่วยปอดบวมในช่วง10 วันก่อนมีอาการผิดปกติครั้งนี้ หรือ อาศัยอยู่ในพื้นที่ที่มีสัตว์ป่วย/ตาย ในช่วง 14 วันก่อนมีอาการผิดปกติครั้งนี้ จุกคัดกรอง(แยกจากผู้ป่วยทั่วไป) ซักประวัติเสี่ยง ไม่มีประวัติเสี่ยง มีประวัติเสี่ยงข้อใดข้อหนึ่ง Refer ทันที รักษาตามอาการ โรงพยาบาลชุมชน http://dpc6.ddc.moph.go.th.โทร 0-4322-2818 - 9

  4. แผนผังการรายงานของเครือข่ายเฝ้าระวังโรคไข้หวัดนก ระดับสถานีอนามัย(เขตตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุขที่ 10และ12) • ประวัติสัมผัสสัตว์ปีกป่วย/ตายภายใน 7 วันก่อนมีอาการผิดปกติครั้งนี้ หรือ สัมผัสผู้ป่วยปอดบวมในช่วง 10 วันก่อนมีอาการผิดปกติครั้งนี้ หรือ อาศัยอยู่ในพื้นที่ที่มีสัตว์ป่วย/ตาย ในช่วง 14 วันก่อนมีอาการผิดปกติครั้งนี้ • ไข้(มากกว่า 38 oc) + อาการ URIเช่น ไอหรือมีน้ำมูก หรือมีเสมหะ หรือหายใจเร็ว หรือ เหนื่อยหอบ ผู้ป่วยเข้าข่ายเฝ้าระวัง สัตว์ปีกป่วย/ตายผิดปกติ หมู่บ้าน ประธานอสม. อสม./อาสาสมัครปศุสัตว์ สถานีอนามัย รวบรวมข้อมูลสัตว์ปีกป่วย/ตาย ตำบล คัดกรองผู้ป่วยสงสัยที่มีประวัติเสี่ยง/น่าจะเป็น Refer ทันที AI.1 ศูนย์ระบาดวิทยาอำเภอ(รพช./สสอ.) ประสาน อำเภอ ปศุสัตว์อำเภอ โรงพยาบาลชุมชน AI.1 ศูนย์ระบาดวิทยาจังหวัด(สสจ.) จังหวัด ประสาน ปศุสัตว์จังหวัด AI.1/AI.2/แบบติดตามผู้ป่วยส่ง สคร.6และสำนักระบาด http:// dpc6.ddc.moph.go.th.โทร 0-4322-2818 - 9

  5. แนวทางคัดกรองเพื่อเฝ้าระวังโรคไข้หวัดนก/ไข้หวัดใหญ่(Pandemic) ระยะเริ่มแรกสำหรับแพทย์และบุคลากรสาธารณสุข(เขตตรวจราชการสาธารณสุขที่ 10 และ 12) ผู้ป่วยเฝ้าระวังในโรงพยาบาล กลุ่มที่ 1 มาด้วยอาการไข้(มากกว่า 38oc) + อาการโรคติดเชื้อ เฉียบพลันระบบหายใจ เช่น ไอหรือมีน้ำมูก หรือมีเสมหะ หรือหายใจเร็ว หรือ เหนื่อยหอบและมีประวัติข้อใดข้อหนึ่ง  สัมผัสสัตว์ปีกที่ป่วย/ตาย ในช่วง 7 วันก่อนมีอาการผิดปกติครั้งนี้ หรือ สัมผัสผู้ป่วยปอดบวม ในช่วง 10 วันก่อนมีอาการผิดปกติครั้งนี้ หรือ อาศัยในหมู่บ้านที่มีสัตว์ปีกป่วย ตายผิดปกติ หรือ อยู่ในพื้นที่ที่มีการระบาดของเชื้อH5N1 ในสัตว์ปีก ตามประกาศของกรมปศุสัตว์ในช่วง 14 วันที่ผ่านมา กลุ่มที่ 2 ผู้ป่วยปอดบวมรุนแรง โดยหาสาเหตุไม่ได้ (ที่ต้องนอนโรงพยาบาล)ผู้ป่วยปอดบวมตั้งแต่ 2 รายขึ้นไปที่มีประวัติ เกี่ยวเนื่องกัน (Cluster of Pneumonia Patient) ผู้ป่วยปอดบวมที่เป็นบุคลากรทางการแพทย์ • แผนกเวชระเบียน • คัดกรอง ประวัติผู้ป่วย  CXR Rapid Test (for Flu.A & B) เก็บตัวอย่าง Nasopharyngeal Swab และเลือด ส่งตรวจที่กรมวิทย์ฯ หรือศูนย์วิทย์ฯเขต ห้องตรวจแยกผู้ป่วย แพทย์ซักประวัติ ตรวจร่างกาย Investigate อย่างน้อย ดังนี้ Rapid test ผลลบ (CXR ปกติ) Rapid test Flu B + (CXR ปกติ/ปอดอักเสบ) Rapid test Flu A + (CXR ปกติ/ปอดอักเสบ) Rapid test ผลลบ (CXR ปอดอักเสบ) อาการรุนแรง อาการไม่รุนแรง * ให้การรักษาตามแนวทางปกติ* ให้กลับบ้านดูแลตนเอง* แนะนำข้อปฏิบัติตัว ติดตาม ผลการรักษา* นัดติดตามผลการรักษา หลังจำหน่าย 48 ชั่วโมง * Admit ห้องแยก* ให้ Antiviral Rx* รักษาตามอาการอย่างใกล้ชิด* นัดติดตามผลการรักษาหลัง จำหน่าย 48 ชั่วโมง * ให้ Antiviral* รักษาตามความเหมาะสม* นัดติดตามผลการรักษาหลัง จำหน่าย 48 ชั่วโมง * Admit ห้องแยก * รักษาตามแนวทางปฏิบัติ และ * พิจารณาให้ Antiviral RX ตามความเหมาะสม * นัดติดตามผลการรักษาหลังจำหน่าย 48 ชั่วโมง http://dpc6.ddc.moph.go.th.โทร 0-4322-2818 - 9

  6. แนวทางการดำเนินงานในชุมชนเมื่อมีรายงานผู้ป่วยที่เข้าข่ายเฝ้าระวังโรคไข้หวัดนก/ไข้หวัดใหญ่/พื้นที่ที่มีสัตว์ปีกตายผิดปกติ(เขตตรวจราชการสาธารณสุขที่ 10 และ 12 ) พื้นที่ที่มีรายงานผู้ป่วย พื้นที่ที่มีรายงานสัตว์ปีกป่วย/ ตายผิดปกติแต่ไม่มีรายงานผู้ป่วย อาการไม่รุนแรง ประวัติสัมผัสไม่ชัดเจน ผู้ป่วยมีไข้หรือPuemonia มีประวัติเสี่ยงชัดเจน *ศวรประสานข้อมูลกับประศุสัตว์ในพื้นที่ *ประสานงานกับสถานบริการในพื้นที่ เพื่อเฝ้าระวังในคน และรายงานสสจ. ทันที่ที่พบผู้ป่วยเข้าข่ายเฝ้าระวังตามแบบรายงาน AI1 และรายงานสคร.ในลำดับต่อไป • ศวร.จังหวัด ประสานกับสสจ. • ออกสอบสวนติดตาม • ผู้สัมผัสร่วมบ้าน • ประสานกับปศุสัตว์ในพื้นที่ • ดำเนินการป้องกันควบคุมโรค สคร. ออกสอบสวน ติดตาม ผู้ป่วยร่วมกับสวร.จังหวัด และ SRRT ในพื้นที่ http://dpc6.ddc.moph.go.th.โทร 0-4322-2818 - 9

More Related