1 / 44

ผศ. ดร. ยุทธนา เศรษฐ ปราโมทย์

การพยากรณ์เศรษฐกิจ มห ภาค วิเคราะห์ผลกระทบเชิงนโยบายและปัจจัยเสี่ยง โดยตัวแบบ เศรษฐ มิ ติมห ภาคของ สถาบัน บัณฑิตพัฒ นบริหารศาสตร์. ผศ. ดร. ยุทธนา เศรษฐ ปราโมทย์. 3. 5. หัวข้อการบรรยาย. 1. ตัวแบบ เศรษฐ มิ ติมห ภาคของสถาบัน บัณฑิตพัฒ นบริหารศาสตร์. ผลการพยากรณ์เศรษฐกิจ มห ภาคปี 2555

Download Presentation

ผศ. ดร. ยุทธนา เศรษฐ ปราโมทย์

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การพยากรณ์เศรษฐกิจมหภาค วิเคราะห์ผลกระทบเชิงนโยบายและปัจจัยเสี่ยง โดยตัวแบบเศรษฐมิติมหภาคของ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ ผศ. ดร. ยุทธนา เศรษฐปราโมทย์

  2. 3 5 หัวข้อการบรรยาย 1 ตัวแบบเศรษฐมิติมหภาคของสถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ ผลการพยากรณ์เศรษฐกิจมหภาคปี 2555 และความแม่นยำของตัวแบบ 2 ผลกระทบของนโยบายเศรษฐกิจปี 2555 4 แนวโน้มเศรษฐกิจไทยปี 2556 ปัจจัยเสี่ยงที่มีผลต่อเศรษฐกิจไทยปี 2556

  3. ที่มา และความสำคัญ

  4. NIDA Macro Model

  5. วัตถุประสงค์ของโครงการวิจัยวัตถุประสงค์ของโครงการวิจัย • ปรับปรุงตัวแบบเศรษฐมิติมหภาคให้มีความทันสมัย • นำเสนอผลการพยากรณ์ตัวแปรทางเศรษฐกิจมหภาคของไทยสู่สาธารณชน • ประเมินผลของปัจจัยเสี่ยงต่างๆ ของเศรษฐกิจไทยที่มีต่อแนวโน้มเศรษฐกิจไทย รวมถึงผลกระทบของนโยบายเศรษฐกิจมหภาคที่สำคัญ

  6. ขอบเขตของการศึกษาวิจัยขอบเขตของการศึกษาวิจัย • พยากรณ์แนวโน้มเศรษฐกิจไทยทุก 3 เดือนโดยเผยแพร่ผ่านเวปไซด์ www.forecast.nida.ac.thและ facebookwww.facebook.com/NIDAMacroForecast • วิเคราะห์ผลของนโยบายเศรษฐกิจประกอบด้วยนโยบายการเงิน นโยบายการคลัง และนโยบายค่าจ้างแรงงานขั้นต่ำ • ประเมินผลของปัจจัยเสี่ยงทางเศรษฐกิจที่สำคัญได้แก่ ราคาน้ำมันดิบ มูลค่าการค้าโลก และค่าเงินบาท

  7. ผลการพยากรณ์เศรษฐกิจมหภาคในปี 2555

  8. ผลการพยากรณ์เศรษฐกิจมหภาคในปี 2555 GDP Growth ปี 2555 เท่ากับ 6.4%

  9. ค่าความคลาดเคลื่อนการพยากรณ์รายปีค่าความคลาดเคลื่อนการพยากรณ์รายปี

  10. ค่าความคลาดเคลื่อนการพยากรณ์รายปีค่าความคลาดเคลื่อนการพยากรณ์รายปี

  11. ค่าความคลาดเคลื่อนการพยากรณ์รายไตรมาสค่าความคลาดเคลื่อนการพยากรณ์รายไตรมาส

  12. ค่าความคลาดเคลื่อนการพยากรณ์รายไตรมาสค่าความคลาดเคลื่อนการพยากรณ์รายไตรมาส

  13. ค่าความคลาดเคลื่อนการพยากรณ์รายไตรมาสค่าความคลาดเคลื่อนการพยากรณ์รายไตรมาส

  14. สรุปผลการประเมินความแม่นยำของตัวแบบสรุปผลการประเมินความแม่นยำของตัวแบบ • การพยากรณ์รายปีและรายไตรมาส • ค่าพยากรณ์ของ NIDA มีความแม่นยำใกล้เคียงกับค่าพยากรณ์ของ ธปท., สศค. และ สศช. ทั้งเมื่อพิจารณาจากการพยากรณ์รายปีและรายไตรมาส โดยเฉพาะข้อมูลการส่งออกและการนำเข้า • ข้อมูลจากการประเมินความแม่นยำของตัวแบบนี้จะใช้เพื่อการปรับปรุงตัวแบบในการศึกษาระยะต่อไป

  15. การวิเคราะห์ผลของนโยบายการเงิน และการคลัง • ใช้ค่ากลไกการส่งผ่านนโยบายการเงินและนโยบายการคลังซึ่งคำนวณจากตัวแบบ NIDA Macro Model ในการศึกษาของ วุฒิเทพ อินทปัญญาและคณะ (2553) เป็นหลักในคำนวณ • ในการคำนวณผลกระทบต่อการขยายตัวทางเศรษฐกิจจะใช้การปรับผลกระทบตามขนาดการเปลี่ยนแปลงของอัตราดอกเบี้ยและการเพิ่มรายจ่ายรัฐบาล

  16. การวิเคราะห์ผลของนโยบายการเงินการวิเคราะห์ผลของนโยบายการเงิน

  17. ผลกระทบสะสมของการปรับลดอัตราดอกเบี้ยนโยบายการเงินลงร้อยละ 1.00 ต่อตัวแปรทางเศรษฐกิจมหภาคที่สำคัญ • ที่มา: วุฒิเทพ อินทรปัญญา และคณะ (2553)

  18. ผลกระทบของการปรับลดอัตราดอกเบี้ยนโยบายการเงินต่อการขยายตัวทางเศรษฐกิจในปี 2555-2556 • ที่มา: จากการคำนวณ

  19. สรุปผลของนโยบายการเงินสรุปผลของนโยบายการเงิน • ผลจากการลดดอกเบี้ยของคณะกรรมการนโยบายการเงินในปลายปี 2554 และปี 2555 มีไม่สูงมากเนื่องจากขนาดการลดไม่มาก และผลของการลดดอกเบี้ยมีระยะเวลาในการส่งผ่าน • ดังนั้นผลต่อ GDP Growth ในปี 2555 และ 2556จึงช่วยกระตุ้นเศรษฐกิจได้ร้อยละ 0.22 และ 0.24 ตามลำดับ

  20. การวิเคราะห์ผลของนโยบายการคลังการวิเคราะห์ผลของนโยบายการคลัง

  21. ผลกระทบสะสมของการเพิ่มรายจ่ายภาครัฐร้อยละ 10.00 ต่อตัวแปรทางเศรษฐกิจมหภาคที่สำคัญ • ที่มา: วุฒิเทพ อินทรปัญญา และคณะ (2553)

  22. ผลกระทบของการปรับเพิ่มรายจ่ายภาครัฐต่อการขยายตัวทางเศรษฐกิจในปี 2555-2556 • ที่มา: จากการคำนวณโดยการศึกษานี้

  23. สรุปผลของนโยบายการคลังสรุปผลของนโยบายการคลัง • พิจารณาจากส่วนต่างของการใช้จ่ายภาครัฐรวมในปี 2555 (ร้อยละ 7.8) และ 2556 (ร้อยละ 6.4) และค่าเฉลี่ยย้อนหลังในอดีต (ร้อยละ 3.2) • การเพิ่มรายจ่ายของรัฐในปี 2555 และที่คาดการณ์ต่อเนื่องยังปี 2556 ส่งผลให้ GDP สูงกว่าปกติรร้อยละ 1.0 และ 0.9 ในปี 2555 และ 2556 ตามลำดับ • ดังนั้น หากรัฐบาลมีการใช้จ่ายในอัตราปกติในปี 2555 GDP Growth จะอยู่ที่ร้อยละ 5.4

  24. การวิเคราะห์ผลของนโยบายค่าจ้างแรงงานขั้นต่ำการวิเคราะห์ผลของนโยบายค่าจ้างแรงงานขั้นต่ำ • รัฐบาลเพิ่มค่าจ้างแรงงานขั้นต่ำในเขตกรุงเทพฯ และปริมณฑล จาก 215 บาทต่อวันในปี 2554 เป็น 300 บาทต่อวันในไตรมาสที่ 2 ปี 2555 (อัตราการเพิ่มร้อยละ 39) • โดยตามทฤษฎีเศรษฐศาสตร์ ผลของการขึ้นอัตราค่าจ้างถือว่าเป็นปัจจัยสำคัญที่ส่งผลต่อเสถียรภาพด้านราคา เนื่องจากมีผลต่อต้นทุนการผลิตสินค้า

  25. สมมุติฐานค่าจ้างแรงงานขั้นต่ำที่ใช้ในการจำลองข้อมูลสมมุติฐานค่าจ้างแรงงานขั้นต่ำที่ใช้ในการจำลองข้อมูล

  26. ผลกระทบของการปรับเพิ่มค่าแรงขั้นต่ำต่ออัตราเงินเฟ้อผลกระทบของการปรับเพิ่มค่าแรงขั้นต่ำต่ออัตราเงินเฟ้อ • ที่มา: จากการคำนวณ

  27. สรุปผลของนโยบายค่าจ้างแรงงานขั้นต่ำสรุปผลของนโยบายค่าจ้างแรงงานขั้นต่ำ • การปรับเพิ่มค่าแรงขั้นต่ำส่งผลต่ออัตราเงินเฟ้อ ทั้งกรณีของอัตราเงินเฟ้อทั่วไป และอัตราเงินเฟ้อพื้นฐาน โดยส่งผลต่ออัตราเงินเฟ้อพื้นฐานสูงกว่า • พิจารณาจากปี 2555 อัตราเงินเฟ้อทั่วไปและอัตราเงินเฟ้อพื้นฐานอยู่ที่ร้อยละ 3.0 และ 2.1 ตามลำดับ • ดังนั้นหากการปรับค่าจ้างจาก 215 เป็น 226 (เพิ่มขึ้นร้อยละ 5) อัตราเงินเฟ้อพื้นฐานและเงินเฟ้อทั่วไปในปี 2555 จะเท่ากับร้อยละ 2.4 และ 1.3 ตามลำดับ

  28. แนวโน้มเศรษฐกิจไทยในปี 2556 - 2557 • การกำหนดสมมุติฐานเกี่ยวกับปัจจัยภายนอกที่สำคัญ (นโยบายรัฐบาล + ปัจจัยจากเศรษฐกิจโลก) • พยากรณ์ตัวแปรทางเศรษฐกิจมหภาคที่สำคัญในปี 2556 – 2557 • วิเคราะห์ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญ ได้แก่ ราคาน้ำมันดิบในตลาดโลก มูลค่าการค้าโลก และค่าเงินบาท

  29. ข้อสมมติหลักเกี่ยวกับตัวแปรภายนอกข้อสมมติหลักเกี่ยวกับตัวแปรภายนอก

  30. GDP GROWTH OUTLOOK: 2556 - 2557

  31. GDP GROWTH OUTLOOK: 2556 - 2557

  32. สรุปแนวโน้มเศรษฐกิจไทยปี 2556 - 2557 • เศรษฐกิจไทยในปี 2556 และ 2555 น่าจะขยายตัวได้อย่างต่อเนื่องในอัตราร้อยละ 5.3 และ 5.2 ตามลำดับแต่อัตราการขยายตัวจะลดลงจากปี 2555 • อัตราเงินเฟ้อยังคงไม่น่าเป็นห่วงมากนัก โดยในปี 2556 คาดว่าอัตราเงินเฟ้อทั่วไปจะประมาณ 2.9 เนื่องจากผลของการปรับเพิ่มค่าจ้างขั้นต่ำยังส่งผลต่อเนื่องและมีแนวโน้มลดลงในปี 2557 • คาดว่าการส่งออกในปี 2556 และ 2557 จะปรับตัวดีขึ้นและเป็นปัจจัยผลักดันเศรษฐกิจ แต่การนำเข้าก็จะปรับตัวสูงเช่นกันทำให้เศรษฐกิจมีการขยายตัวลดลง

  33. ปัจจัยเสี่ยงที่สำคัญในปี 2556 (Scenario Analysis) • สถานการณ์ 1.1: การเพิ่มขึ้นของราคาน้ำมันดิบ • สถานการณ์ 2.1: มูลค่าการค้าโลกขยายตัวแย่กว่าที่คาดการณ์ • สถานการณ์ 2.2:มูลค่าการค้าโลกขยายตัวดีกว่าที่คาดการณ์ • สถานการณ์ 3.1:ค่าเงินบาทปรับตัวแข็งค่า • สถานการณ์ 3.2: ค่าเงินบาทปรับตัวอ่อนค่า

  34. สถานการณ์ 1.1: การเพิ่มขึ้นของราคาน้ำมันดิบ

  35. สถานการณ์ 1.1: การเพิ่มขึ้นของราคาน้ำมันดิบ

  36. สถานการณ์ 2.1 มูลค่าการค้าโลกขยายตัวแย่สถานการณ์ 2.2 มูลค่าการค้าโลกขยายตัวดี

  37. สถานการณ์ 2.1 มูลค่าการค้าโลกขยายตัวแย่สถานการณ์ 2.2 มูลค่าการค้าโลกขยายตัวดี

  38. สถานการณ์ 3.1 ค่าเงินบาทแข็งค่าสถานการณ์ 3.2 ค่าเงินบาทอ่อนค่า

  39. สถานการณ์ 3.1 ค่าเงินบาทแข็งค่าสถานการณ์ 3.2 ค่าเงินบาทอ่อนค่า

  40. สรุปผลของปัจจัยเสี่ยงทางเศรษฐกิจสรุปผลของปัจจัยเสี่ยงทางเศรษฐกิจ • ความเสี่ยงของราคาน้ำมันดิบในตลาดโลกต่อเศรษฐกิจไทยในปี 2556 ไม่สูงมากเนื่องจากอัตราเงินเฟ้อที่ผ่านมายังอยู่ในระดับต่ำ • ความเสี่ยงของเศรษฐกิจโลกจะส่งผลต่อเศรษฐกิจไทยในระดับที่สูง โดยหากเศรษฐกิจโลกขยายตัวดี GDP Growth ของไทยมีโอกาสขยายตัวได้สูงกว่าร้อยละ 6 แต่หากเศรษฐกิจโลกยังมีปัญหาต่อเนื่องเศรษฐกิจไทยมีโอกาสขยายตัวลดลงเป็นประมาณร้อยละ 4

  41. สรุปผลของปัจจัยเสี่ยงทางเศรษฐกิจ (ต่อ) • ค่าเงินบาทเป็นอีกปัจจัยที่ควรจับตาเพราะเป็นปัจจัยที่มีผลต่อการส่งออก-นำเข้าของไทย โดยหากค่าเงินแข็งค่าเป็นประมาณ 29.3 บาทต่อดอลล่าร์สหรัฐฯ ตลอดปี GDP Growth อาจขยายตัวลดลงเป็นร้อยละ 4.6 ในปี 2555 แต่หากค่าเงินบาทอ่อนตัวลงเป็นเป็นประมาณ 31.9 บาทต่อดอลล่าร์สหรัฐฯ ตลอดปี GDP Growth อาจขยายตัวลดลงเป็นร้อยละ 5.5 • ดังนั้น ผลของมูลค่าการค้าโลกส่งผลต่อการส่งออกและ GDP growth สูงกว่าผลของค่าเงินบาท

  42. www.forecast.nida.ac.th

  43. www.facebook.com/NIDAMacroForecast

  44. จบการนำเสนอขอขอบคุณ

More Related