170 likes | 475 Views
การเข้าเว็บไซต์การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำอินทรีย์. http://www.fisheries . go.th. เลือก เว็บไซต์กรมประมง. เลือกโครงการต่าง ๆ ของกรมฯ แล้วเลือก โครงการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำอินทรีย์. หลักการเกษตรอินทรีย์ของ IFOAM. หลักการด้านสุขภาพ (Principle of health) เพิ่มพูนสุขภาพทั้งของดิน พืช สัตว์ คน และของโลก
E N D
การเข้าเว็บไซต์การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำอินทรีย์การเข้าเว็บไซต์การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำอินทรีย์ http://www.fisheries.go.th เลือก เว็บไซต์กรมประมง เลือกโครงการต่าง ๆ ของกรมฯ แล้วเลือก โครงการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำอินทรีย์
หลักการเกษตรอินทรีย์ของ IFOAM • หลักการด้านสุขภาพ (Principle of health) เพิ่มพูนสุขภาพทั้งของดิน พืช สัตว์ คน และของโลก • หลักการด้านนิเวศวิทยา (Principle of ecology) อยู่บนพื้นฐานระบบนิเวศที่หมุนเวียนเป็นวัฏจักรไม่หยุดนิ่ง • หลักการด้านความเป็นธรรม (Principle of fairness) มีการแบ่งปันใช้ประโยชน์จากสิ่งแวดล้อมซึ่งเป็นของส่วนรวม ให้คนและสัตว์ได้รับโอกาสในชีวิต • หลักการด้านความดูและเอาใจใส่ (Principle of care) มีการจัดการอย่างระมัดระวัง รับผิดชอบในการป้องกันสุขภาพและความเป็นอยู่ของชนรุ่นปัจจุบันและอนาคต
ข้อกำหนดที่สำคัญสำหรับสัตว์น้ำอินทรีย์ข้อกำหนดที่สำคัญสำหรับสัตว์น้ำอินทรีย์ • ห้ามใช้ยาปฏิชีวนะ • อนุญาตให้ใช้สารบางชนิดในการผลิตและการแปรรูป • ใช้ระบบจัดการผลิตแบบองค์รวม (holistic) • ห้ามใช้ปุ๋ยเคมี • ห้ามใช้ฮอร์โมนสังเคราะห์ • ห้ามใช้สิ่งมีชีวิตหรือวัตถุที่ได้จากการดัดแปรพันธุกรรม (GMOs) • มีสวัสดิภาพสำหรับสัตว์ (animal welfare) • มีการจดบันทึกข้อมูลเพื่อตรวจสอบย้อนกลับ
มาตรฐานหน่วยรับรองระบบงาน(Accreditation Body, AB) • มาตรฐานขั้นต่ำของสหพันธ์เกษตรอินทรีย์นานาชาติ (IBS) • ข้อกำหนดของสภาสหภาพยุโรป EEC No. 2092/91 • แนวทางโครงการมาตรฐานอาหารระหว่างประเทศ (Codex) • มาตรฐานโครงการอินทรีย์แห่งชาติ ของอเมริกา (NOP/USDA) • มาตรฐานเกษตรอินทรีย์ของประเทศญี่ปุ่น (JAS) • มาตรฐานเกษตรอินทรีย์ของสำนักงานมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติ (มกอช.)
มาตรฐานหน่วยรับรอง(Certification Body, CB) • มาตรฐานที่อ้างอิงจาก IBS ตามหลักการ ต่ำกว่าไม่ได้แต่สูงกว่าได้ • มาตรฐานเกษตรอินทรีย์ 2003 สำนักงานมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ (มกท.) • Naturland เยอรมนี • Soil Association สหราชอาณาจักร • Bioagricert อิตาลี • Debio นอร์เวย์ • KRAV สวีเดน • BIO-GRO นิวซีแลนด์ • BIO SUISSE สวิสเซอร์แลนด์
มาตรฐานหน่วยรับรอง (ต่อ)(Certification Body, CB) • มาตรฐานที่อ้างอิงจากข้อกำหนดสภาสหภาพยุโรป • ERNTE ออสเตรีย • มาตรฐานที่อ้างอิง IBS และ Codex • มาตรฐานการผลิตพืชอินทรีย์ของประเทศไทย • มาตรฐานการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำอินทรีย์ของประเทศไทย • มาตรฐานปศุสัตว์อินทรีย์ • มาตรฐานเกษตรอินทรีย์สุรินทร์ ฯลฯ
ลักษณะพิเศษของมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ลักษณะพิเศษของมาตรฐานเกษตรอินทรีย์ • หน่วยรับรองระบบ (CB) ต้องได้รับการรับรองระบบงานจาก AB ตาม ISO/IEC Guide 65หรือ EN 45011 • ต้องมีการเทียบมาตรฐาน(Harmonize) • หน่วยรับรอง (CB)ต้องได้รับการยอมรับจากประเทศผู้นำเข้า • การรับรองมาตรฐานเป็นการรับรองตลอดกระบวนการไม่ใช่ผลผลิต/ผลิตภัณฑ์สุดท้าย • ผู้ตรวจประเมิน (Auditor)ต้องไม่ทำหน้าที่ส่งเสริมหรือให้คำแนะนำ
มาตรฐานสัตว์น้ำอินทรีย์ของกรมประมงมาตรฐานสัตว์น้ำอินทรีย์ของกรมประมง 1. มาตรฐานทั่วไป - มาตรฐานการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำอินทรีย์ของประเทศไทย 2. มาตรฐานเฉพาะ - มาตรฐานผลิตภัณฑ์กุ้งทะเลอินทรีย์จากการเพาะเลี้ยงของประเทศไทย - มาตรฐานผลิตภัณฑ์กุ้งก้ามกรามอินทรีย์จากการเพาะเลี้ยงของประเทศไทย - มาตรฐานการเลี้ยงสัตว์น้ำจืดอินทรีย์ของประเทศไทย
Main Organic Aquaculture Production TROUT/CARP SALMON MUSSEL TILAPIA SHRIMP SHRIMP SALMON MUSSEL
ผลผลิตจากการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำอินทรีย์ ปี 2546 • ปลาแซลมอน 5,000 ตัน • ปลาไนและปลาเทราท์ 500 ตัน • กุ้งแวนนาไม 1,000 ตัน กุ้งกุลาดำ 500 ตัน • สาหร่าย หอยแมลงภู่ ปลากะพง 500 ตัน รวม 7,500 ตัน
กุ้งกุลาดำอินทรีย์ของประเทศไทยกุ้งกุลาดำอินทรีย์ของประเทศไทย • กุ้งกุลาดำอินทรีย์รุ่นแรกของประเทศไทย กรมส่งเสริมการส่งออก กระทรวงพาณิชย์จ้างบริษัท Bioagricertประเทศอิตาลีรับรองมาตรฐาน ในปี 2546 ผลิตได้เพียง 2 ตัน ไม่มีการส่งออกไปจำหน่ายต่างประเทศเนื่องจากสินค้าไม่เต็มตู้คอนเทนเนอร์
การผลิตกุ้งทะเลอินทรีย์การผลิตกุ้งทะเลอินทรีย์ ใช้พันธุ์จากโรงเพาะฟัก GAP หรือ CoC ตามหลักการแล้วต้องใช้พันธุ์จากโรงเพาะฟักอินทรีย์ ใช้อาหารที่ได้รับการรับรองมาตรฐานอินทรีย์ การจดบันทึกข้อมูลเป็น สิ่งสำคัญในการตรวจสอบและรับรองมาตรฐาน กระบวนการแปรรูปต้องแยกออกจากกุ้งทั่วไป ที่ไม่ใช่กุ้งอินทรีย์
ข้อจำกัดของการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำอินทรีย์ข้อจำกัดของการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำอินทรีย์ 1. พันธุ์สัตว์น้ำ - การใช้ฮอร์โมน Suprefactร่วมกับ Domperidone - การใช้ฮอร์โมนสังเคราะห์แปลงเพศปลา - การเพาะพันธุ์กุ้งทะเลโดยวิธีตัดตา/บีบตา - การใช้ปุ๋ยเคมีเพาะแพลงก์ตอนเป็นอาหารลูกกุ้ง 2. อาหารสัตว์น้ำ - กากถั่วเหลืองที่นำเข้าเป็น GMOs - ห้ามใช้วัตถุดิบอาหารสัตว์น้ำที่ได้จากการสกัดด้วยตัวทำละลาย - ห้ามใช้เปลือกกุ้งในส่วนผสมของอาหารกุ้ง
ข้อจำกัดของการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำอินทรีย์(ต่อ)ข้อจำกัดของการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำอินทรีย์(ต่อ) - ให้ลดการใช้ปลาป่น / น้ำมันปลาแล้วทดแทนด้วยเศษเหลือ (by - product) จากขบวนการแปรรูป 50 % - ใช้ปลาป่นจากแหล่งภูมิศาสตร์เดียวกันกับชนิดสัตว์น้ำที่เลี้ยง และเป็นปลาป่น ที่ได้จากการทำการประมงที่ยั่งยืน 3. การรักษาโรค - บางมาตรฐานอนุญาตให้ใช้ยาได้แต่ระยะการหยุดยาต้องนาน เป็น 2 เท่า - บางมาตรฐานไม่อนุญาต หากมีการใช้ยาจะหมดสภาพการเป็น สัตว์น้ำอินทรีย์