1 / 30

การประเมินและการนำสมรรถนะไปใช้ในการเลื่อนตำแหน่งและแต่งตั้ง

การประเมินและการนำสมรรถนะไปใช้ในการเลื่อนตำแหน่งและแต่งตั้ง. จุดมุ่งหมาย เพื่อหาผู้ที่จะทำงานได้ดีในตำแหน่งที่จะไปดำรงตำแหน่ง ประเมินผลงานในอดีต (ถ้าลักษณะงานคล้ายกันมีแนวโน้มว่าจะทำได้คล้ายกับที่เคยทำมาแล้ว) ประเมินความรู้, ทักษะ ประเมินสมรรถนะ (พฤติกรรม).

Download Presentation

การประเมินและการนำสมรรถนะไปใช้ในการเลื่อนตำแหน่งและแต่งตั้ง

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การประเมินและการนำสมรรถนะไปใช้ในการเลื่อนตำแหน่งและแต่งตั้งการประเมินและการนำสมรรถนะไปใช้ในการเลื่อนตำแหน่งและแต่งตั้ง • จุดมุ่งหมาย เพื่อหาผู้ที่จะทำงานได้ดีในตำแหน่งที่จะไปดำรงตำแหน่ง • ประเมินผลงานในอดีต (ถ้าลักษณะงานคล้ายกันมีแนวโน้มว่าจะทำได้คล้ายกับที่เคยทำมาแล้ว) • ประเมินความรู้, ทักษะ • ประเมินสมรรถนะ (พฤติกรรม)

  2. เกณฑ์การจัดกลุ่มงานในระบบราชการพลเรือนไทยเกณฑ์การจัดกลุ่มงานในระบบราชการพลเรือนไทย เกณฑ์การจัดกลุ่มงานใหม่สำหรับระบบราชการพลเรือนไทย จำเป็นต้องคำนึงถึงทิศทางการบริหารราชการไทยในอนาคตที่มุ่งเน้นการบริการภาครัฐ และมุ่งผลสัมฤทธิ์เป็นหลัก กรอบแนวคิดในการจัดกลุ่มงานจึงเริ่มจากการพิจารณา 1. กลุ่มลูกค้าผู้รับบริการ/ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย 2. กรอบผลลัพธ์/ผลสัมฤทธิ์ที่งานในภาคราชการพลเรือนจะต้องปฏิบัติให้บรรลุผลเพื่อสนับสนุนให้ภารกิจโดยรวมของภาครัฐบรรลุผล กลุ่มงาน (Job Families) กรอบผลลัพธ์/ผลสัมฤทธิ์ทางด้าน ... (Areas of Output/Outcome) งานค้นคว้าวิจัย (Research) งานบริหารองค์ความรู้สำคัญในภาครัฐ (Public Sector Knowledge Management) งานให้คำปรึกษา (Advisory) ลูกค้าภายในภาครัฐ งานนโยบายและวางแผน (Policy & Planning) งานบริหารระบบและทรัพยากรภาครัฐ (Public Sector Systems & Resources Management) งานผู้บริหารระดับสูง (Senior Executives) งานการปกครอง (Public Governance) งานความมั่นคงแห่งชาติ (National Security) งานสนับสนุนงานหลักทางเทคนิคเฉพาะด้าน (Support: Technical) งานสนับสนุนงานหลักทั่วไป (Support: General) งานความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ(International Relations) ลูกค้าผู้รับบริการ/ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย งานออกแบบเพื่อการพัฒนา (Developmental Design) งานสาธารณสุข (Public Health) งานข่าวกรองและสืบสวน (Intelligence) งานความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ (International Relations) งานบริการประชาชนด้านสุขภาพ และสวัสดิภาพ (Service: Caring) งานบริการภาครัฐเพื่อประชาชน (Public Services) งานบริการทางเทคนิคเฉพาะด้าน (Service: Technical) งานเสริมสร้างความเข้าใจและความร่วมมือระหว่างรัฐและประชาชน และงานพัฒนามวลชน (Public Understanding & Cooperation) งานสื่อสารและเผยแพร่ (Public Communications & Promotion) ลูกค้าภายนอกภาครัฐ งานส่งเสริมการศึกษา (Public Education) งานสวัสดิภาพและความปลอดภัยเพื่อประชาขน (Public Safety & Security) งานเอกสารราชการและทะเบียน (Registration) งานบังคับใช้กฎหมาย (Enforcement) งานอนุรักษ์มรดกแห่งชาติ งานวัฒนธรรม (Conservation: Cultural) (Conservation: Natural Resources & Environment) งานอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม

  3. ต้นแบบสมรรถนะ (Competency Model) จำแนกตามกลุ่มงาน ...

  4. การมุ่งผลสัมฤทธิ์ (Achievement Motivation-ACH) ตัวอย่างเหตุการณ์ที่ผู้ถูกประเมินปฏิบัติ ระดับที่ 0:ไม่แสดงสมรรถนะด้านนี้อย่างชัดเจน ระดับที่ 1: แสดงความมุ่งมั่นและกระตือรือร้นที่จะปฎิบัติราชการให้ดี • พยายามปฎิบัติราชการตามหน้าที่ให้ดีและถูกต้อง • มีความมานะอดทน ขยันหมั่นเพียร และตรงต่อเวลา • มีความรับผิดชอบในงานที่รับผิดชอบและสามารถส่งงานได้ตามกำหนดเวลาอย่างถูกต้อง • แสดงออกว่าต้องการปฎิบัติงานให้ได้ดีขึ้นหรือ แสดงความเห็นในเชิงปรับปรุงพัฒนาเมื่อประสบพบเห็นเหตุที่ก่อให้เกิดการสูญเปล่าหรือ หย่อนประสิทธิภาพในงาน ระดับที่ 2: สามารถกำหนดมาตรฐานหรือเป้าหมายในการปฏิบัติงานของตนเพื่อให้ได้ผลสัมฤทธิ์ที่ดีเยี่ยม • หมั่นติดตามและวัดผลการปฏิบัติงานของตนโดยใช้เกณฑ์ที่ตนกำหนดขึ้นเอง โดยไม่ได้ถูกผู้อื่นบังคับ • กำหนดเป้าหมายหรือขั้นตอนในการทำงานของตนให้สามารถบรรลุเป้าหมายที่ผู้บังคับบัญชากำหนดหรือเป้าหมายของ หน่วยงาน/กรม/กองที่รับผิดชอบ • มีความละเอียดรอบคอบเอาใจใส่ตรวจตราความถูกต้องของงานหรือข้อมูลที่รับผิดชอบเพื่อให้ได้ข้อมูลที่มีคุณภาพ ระดับที่ 3: ปรับปรุงและพัฒนาการปฏิบัติงานให้มีประสิทธิภาพขึ้น • เปลี่ยนแปลงและพัฒนาตนเอง ซึ่งอาจรวมถึง การทำงานได้ดีขึ้น เร็วขึ้น มีประสิทธิภาพมากขึ้น หรือมีการเพิ่มคุณภาพของงานที่ทำ • เสนอหรือทดลองวิธีการหรือขั้นตอนทำงานแบบใหม่ที่แน่นอนเที่ยงตรงกว่าหรือมีประสิทธิภาพมากกว่าเพื่อให้บรรลุเป้าหมายที่ผู้บังคับบัญชากำหนดหรือเป้าหมายของหน่วยงาน/กรม/กองที่รับผิดชอบ • พัฒนาหรือปรับเปลี่ยนระบบหรือวิธีการทำงานของหน่วยงานเพื่อให้ได้ผลสัมฤทธิ์ที่ดีและมีประสิทธิภาพสูงขึ้น ระดับที่ 4: กำหนดแผนและปฏิบัติเพื่อให้บรรลุเป้าหมายที่ท้าทาย • กำหนดเป้าหมายที่ท้าทายและเป็นไปได้ยากเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ใหม่ให้ดีขึ้นกว่า ผลงานเดิมอย่างเห็นได้ชัด • ลงมือกระทำการพัฒนาระบบ ขั้นตอน วิธีการ ปฏิบัติราชการเพื่อให้บรรลุมาตรฐานหรือผลสัมฤทธิ์ที่โดดเด่นและแตกต่างไม่เคยมีใครกระทำได้มาก่อน ระดับที่ 5: มีการคำนวณผลได้ผลเสียโดยชัดเจน • ตัดสินใจ แยกแยะระดับความสำคัญของงานต่างๆ ในหน้าที่ โดยคิดคำนวณผลได้ผลเสียที่จะเกิดขึ้นอย่างชัดเจน (เช่น กล่าวถึงการพิจารณาเปรียบเทียบประโยชน์ที่ข้าราชการหรือประชาชนจะได้รับเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับต้นทุนหรือรายจ่ายที่รัฐต้องเสียไป) • บริหารจัดการและทุ่มเทเวลาและทรัพยากรเพื่อให้ได้ประโยชน์สูงสุดต่อภารกิจของหน่วยงานตามที่คาดการณ์ไว้

  5. สายงาน วิศวกรสำรวจ ตำแหน่งและระดับ วิศวกรสำรวจ กลุ่มงาน ออกแบบเพื่อการพัฒนา 1. หน้าที่รับผิดชอบหลัก 1.1 ด้านปฏิบัติการ/งานเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน (Operation/Expertise) 1.1.1 สำรวจภูมิประเทศและวางโครงสร้างแผนที่โดยใช้วิธีการต่างๆ เพื่อเป็นข้อมูลประกอบการวางนโยบายและแผนพัฒนาพื้นที่ต่างๆ หรือประกอบการปฏิบัติงานอื่นๆตามภารกิจของหน่วยงาน 1.1.2 รวบรวมสถิติข้อมูลการสำรวจ และจัดทำรายงานผลการปฏิบัติงาน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการวางแผนการสำรวจ 1.2 ด้านวางแผน (Planning) 1.2.1 วางระบบและแผนการปฏิบัติงานของกลุ่ม เพื่อให้สามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด 1.3 ด้านการประสานงาน (Communication and Cooperation) 1.3.1 ประสานงานในระดับกลุ่ม กับหน่วยงานราชการและเอกชน หรือประชาชนทั่วไป เพื่อขอความช่วยเหลือและร่วมมือในงานวิศวกรรมสำรวจ 1.4 ด้านการบริการ (Service) 1.4.1ให้คำแนะนำ ตอบปัญหาและชี้แจง เกี่ยวกับงานวิศวกรรมสำรวจที่ตนมีความรับผิดชอบ เพื่อให้ผู้ที่สนใจได้ทราบข้อมูลและความรู้ต่างๆที่เป็นประโยชน์ 2. วุฒิการศึกษา ทักษะ และประสบการณ์ที่จำเป็นในงาน 2.1 วุฒิการศึกษาที่จำเป็นในงาน 2.1.1 ได้รับปริญญาตรีหรือเทียบเท่าไม่ต่ำกว่านี้ ทางวิศวกรรมหรือสาขาอื่นที่ ก.พ. กำหนดว่าใช้เป็นคุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่งนี้ได้ 2.1.2 ความรู้ความเชี่ยวชาญที่จำเป็นในงาน ระดับที่ 2 2.1.3 ความรู้เรื่องกฎหมายและกฎระเบียบราชการในระดับที่ 2 2.2 ทักษะที่จำเป็นในงาน 2.2.1 ทักษะการใช้คอมพิวเตอร์ ระดับที่ 3 2.2.2 ทักษะการใช้ภาษาอังกฤษ ระดับที่ 2 2.2.3 ทักษะการบริหารข้อมูลและจัดการ ระดับที่ 2 2.3 ประสบการณ์ที่จำเป็นในงาน 2.3.1 ระดับแรกเข้าไม่จำเป็นต้องมีประสบการณ์มาก่อน 3. สมรรถนะที่จำเป็นในงาน 3.1.1 สมรรถนะหลัก : การมุ่งผลสัมฤทธิ์ ระดับที่ 1/ จริยธรรม ระดับที่ 1/ บริการที่ดี ระดับที่ 2/ ความร่วมแรงร่วมใจ ระดับที่ 1/ การสั่งสมความเชี่ยวชาญในงานอาชีพ ระดับที่ 1 3.1.2 สมรรถนะประจำกลุ่มงาน : การมองภาพองค์รวม ระดับที่ 1/ ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ระดับที่ 1/ การสืบเสาะหาข้อมูล ระดับที่ 1

  6. การฝึกอบรมเพื่อสนองต่อเป้าหมายทางด้านคุณภาพ ความรับผิดชอบ ให้สิ่งจูงใจทีมีเป้าหมายต่างกัน พัฒนาให้มีความรู้สึกรับผิดชอบต่อคนไข้และญาติคนไข้ (e-Training e-Learning CBT) สร้างลักษณะเฉพาะให้ผลิตภัณฑ์ การพัฒนาสินค้าออกแบบให้ได้รับความเชื่อถือ และสามารถให้บริการได้ (การให้บริการบนรถ การให้บริการ ณ สถานที่ทำงาน จุดเกิดเหตุ การให้บริการที่โรงพยาบาลร่วมโครงการ) ระบบ MIS GFMIS e-Research e-Service สิ่งอำนวยความสะดวกพื้นฐานของบริษัท การบริหารจัดการทรัพยากรบุคคล การจัดหาได้ตามความต้องการใช้ ทันเวลา มีคุณภาพ การพัฒนาเทคโนโลยี,ออกแบบ การจัดหา การจัดส่งสินค้าให้แก่ลูกค้า การให้บริการ หลังการขาย การจัดซื้อวัตถุดิบเพื่อการผลิต กระบวนการผลิต การตลาด และ การขาย การผลิตอย่างรวดเร็วไม่สูญเสีย เป็นไปตามความต้องการของคนไข้ และญาติคนไข้ คุณภาพความน่าเชื่อถือของยาและเวชภัณฑ์ จัดส่งรวดเร็ว จัดการตามสั่งอย่างมีประสิทธิภาพ จัดการสต็อคยา เตียง อย่างมีประสิทธิภาพ การประชาสัมพันธ์การรักษา การป้องกัน การฟื้นฟู... การขายอย่างมีประสิทธิภาพ การจัดทำเอกสารการขาย ความเชี่ยวชาญการผลิตได้อย่างรวดเร็ว หลากหลาย (TQA)

  7. ข้อผิดพลาดเกี่ยวกับการคิดเชิงกลยุทธ์ (ไมเคิล พอร์เตอร์) • หนึ่งในความผิดอันยิ่งใหญ่ซึ่งบริษัทต่าง ๆ ทำผิดซ้ำแล้วซ้ำเล่าก็คือ บริษัทจำนวนมากพยายามใช้กลยุทธ์แบบครอบจักรวาล • กลยุทธ์ที่ดีต้องแสดงตำแหน่งที่โดดเด่น (ส่งมอบคุณค่าใดต่อกลุ่มเป้าหมาย)

  8. จุดเน้นของการวางแผนทรัพยากรบุคคลยุคใหม่จุดเน้นของการวางแผนทรัพยากรบุคคลยุคใหม่ • เชื่อมโยงกับผลการปฏิบัติงาน (Performance) มากขึ้น มุ่งเน้นการสรรหา คนดี และเก่งที่มีศักยภาพ (Talent) ระบบข้อมูลผู้มีศักยภาพสูง (Talent Inventory) • วัดผลสำเร็จของงานรายบุคคลที่เป็นรูปธรรม (Individual Performance Improvement Plan :IPIP) (Individual Scorecard : IS)

  9. การวัดสมรรถนะ : แนวทางการกำหนดสมรรถนะ โดย อ.ก.พ. กรม เป็นผู้ประกาศใช้

  10. การสร้างระเบียบวาระแห่งความสามารถหลักสำคัญการสร้างระเบียบวาระแห่งความสามารถหลักสำคัญ   อันดับ 1 + 10 (Premier plus 10) ความสามารถหลักสำคัญอย่างใหม่ ๆ อะไรที่เราต้องสร้างเพื่อใช้คุ้มครองและ ขยายสัมปทานของเราในตลาดเดิม โอกาสอันใหญ่หลวง (Mega-opportunities) ความสามารถหลักสำคัญอย่างใหม่ๆ อะไรที่เราต้องการสร้างขึ้นเพื่อจะ ใช้ในการเข้าร่วมในตลาดที่น่าตื่นเต้น มากที่สุดที่เราคิดจะทำในอนาคต ใหม่ ความสามารถหลัก สำคัญ   เติมช่องว่างให้เต็ม (Fill in blanks) โอกาสอย่างไหนที่เราจะใช้ปรับปรุง ตำแหน่งของเราในตลาดที่เรากำลัง จำหน่ายอยู่โดยการยกระดับ ความสามารถหลักสำคัญที่เรามีอยู่ให้ดีขึ้น พื้นที่สีขาว (White space) สินค้าหรือบริการใหม่อย่างใดที่เราสามารถสร้างขึ้น โดยการ “แปรขบวนใหม่” หรือผสมผสานใหม่ ด้วยวิธีการที่สร้างสรรค์จากความสามารถหลัก สำคัญที่เรามีอยู่แล้ว มีอยู่ในปัจจุบัน

  11. Work Sheet 1 การสร้างระเบียบวาระแห่งความสามารถหลักสำคัญ กลุ่มที่..............................ชื่อองค์กร........................................................ ความสามารถใหม่ตลาดใหม่ ความสามารถใหม่ตลาดเดิม 2 4 อันดับ 1 + 10 (Premier plus 10) ………………………. ………………………. ………………………. โอกาสอันใหญ่หลวง (Mega-opportunities) ความสามารถหลักสำคัญอย่างใหม่ๆ …………………………... …………………………... …………………………... ใหม่ ใหม่ ความสามารถหลักสำคัญ 3 1 เติมช่องว่างให้เต็ม (Fill in blanks) …………………………… …………………………… …………………………… พื้นที่สีขาว (White space) …………………………………. …………………………………. …………………………………. …………………………………. …………………………………. มีอยู่ในปัจจุบัน มีอยู่ในปัจจุบัน ยกระดับความสามารถเดิม สินค้าใหม่ความสามารถเดิม

  12. การกำหนดงานและกิจกรรมในการทำงานเพื่อกำหนดสมรรถนะการกำหนดงานและกิจกรรมในการทำงานเพื่อกำหนดสมรรถนะ ผลลัพธ์ขององค์การ ประชาชนพึงพอใจในการได้รับบริการไม่น้อยกว่า 80% ให้บริการแก่คนไข้ภายในตึก....... ตัวอย่างของงานที่รับผิดชอบ ตัวอย่างของงานหลักภาพรวม ปฎิบัติตาม ใบขอใช้บริการจากหน่วยงานต่างๆ ระบุ แจกแจงได้ถึงความจำเป็น ความต้องการและสิ่งที่คนไข้ต้องการ ตัวอย่างของกิจกรรมงานต่าง ๆ ทางเลือกในการกำหนดความสามารถ(Competency) ความเข้าใจคนไข้ การระบุได้ถึงปัญหาของคนไข้ การแก้ไขปัญหา และการให้ความเคารพต่อคนไข้ ผลสำเร็จของงาน การตอบสนองต่อความต้องการและคาดหวังของคนไข้

  13. Worksheet 2 ชื่อ................................................................ สายงาน........................................................ สถานที่ทำงาน............................................. การกำหนดงานและกิจกรรมในการทำงานเพื่อกำหนดสมรรถนะ 1..................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ผลลัพธ์ขององค์การ 2..................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ตัวอย่างของงานที่รับผิดชอบ 3..................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ตัวอย่างของงานหลักภาพรวม 4..................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ตัวอย่างของกิจกรรมงานต่าง ๆ 5..................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ทางเลือกในการกำหนดความสามารถ(Competency) 6..................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... ผลสำเร็จของงาน

  14. ประสบการณ์ที่มีคุณค่า (Powerful Experiences) • งานที่ไม่เคยทำมาก่อน • งานที่มีขอบเขตงานกว้างขวางกว่าเดิมมาก • งานที่เกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงกลยุทธ์ทางธุรกิจ • งานที่เกี่ยวข้องกับการลดขนาดองค์กรและกำลังคน • งานที่ได้รับผลกระทบจากปัจจัยภายนอก

  15. ประสบการณ์ที่มีคุณค่า (Powerful Experiences) • งานในหน่วยงานที่ประสบปัญหาด้านการเงินหรือได้รับผลกระทบอย่างมากจากภาวะเศรษฐกิจ • งานที่อยู่นอกเครือข่ายและไม่ได้รับการสนับสนุนจากผู้อื่น • งานที่ต้องดูแลพนักงานจำนวนมากและเป็นพนักงาน ที่มีปัญหาหลายด้าน • งานในสภาพแวดล้อมของต่างชาติ

  16. การเก็บข้อมูล Competency จากประสบการณ์จริง • ขอท่านเขียนบรรยายเหตุการณ์ที่เคยเกิดขึ้นจริงแก่ตัวท่านเองในหน้าที่ อันเป็นเหตุการณ์ลักษณะดังต่อไปนี้ • ท่านมีบทบาทสำคัญในเหตุการณ์นั้น และยังจำรายละเอียดสิ่งที่ท่านคิดและกระทำไปได้ดี (หากเป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นภายใน 18-24 เดือนที่ผ่านมาได้จะดีที่สุด) • เหตุการณ์นั้นเป็นเรื่องที่ประทับใจหรือฝังใจอย่างยิ่ง โดยอาจเป็นเหตุการณ์ที่ท่าน • ประสบความสำเร็จอย่างสูง หรือ • ผิดหวังไม่ประสบความสำเร็จในเรื่องหนึ่งๆดังที่ตั้งใจไว้ แม้จะได้พยายามอย่างสุดความสามารถแล้วก็ตาม

  17. การเก็บข้อมูล Competency จากประสบการณ์จริงของท่าน • ในการเขียนบรรยายเหตุการณ์ โปรดระบุรายละเอียดดังต่อไปนี้ • วัน เวลาและสถานที่ที่เกิดเหตุการณ์นั้น หรือระบุเวลาโดยประมาณ หากจำวันเวลาที่แน่นอนไม่ได้ • โปรดเล่าความเป็นมาของเหตุการณ์โดยย่อ (3-4 ประโยค) ว่าเดิมมีความเป็นมาอย่างไร มีเหตุใดนำให้เกิดเหตุการณ์ที่ท่านเข้าไปมีบทบาทสำคัญซึ่งจะเล่าต่อไป รวมทั้งมีใครอื่นร่วมอยู่ในเหตุการณ์นั้นๆ แต่ละคนมีบทบาทหน้าที่ใดบ้าง • โปรดเล่าว่าในเหตุการณ์นั้น ท่าน • กระทำการอะไรบ้าง • พูดอะไรกับใครบ้าง และคู่สนทนามีปฏิกิริยาโต้ตอบอย่างไร • ท่านมีความตั้งใจอย่างไรจึงกระทำการเช่นนั้น และคิดอะไรในขณะนั้น • ท่านรู้สึกอย่างไรในขณะนั้น • โปรดเล่าว่าเหตุการณ์จบลงอย่างไร และผลลัพธ์เป็นอย่างไร

  18. การเก็บข้อมูล Competency จากประสบการณ์จริงของท่าน • ข้อควรระวังในการเขียนบรรยายเหตุการณ์ • โปรดเล่าเรื่องที่เป็นเหตุการณ์ซึ่งท่านได้ประสบมาแล้วจริงในอดีต ไม่ใช่การคาดการณ์ไปในอนาคต หรือการวิจารณ์เหตุการณ์ย้อนหลัง เช่น “ถ้าวันนั้นข้าพเจ้าไม่ทำอย่างนั้น เรื่องราวก็คงไม่จบลงด้วยดีอย่างนี้หรอก …” • โปรดเล่าเหตุการณ์โดยเฉพาะเจาะจงว่าท่านได้กระทำการใดไปเมื่อใด มิใช่เหตุการณ์ปรกติวิสัยที่เกิดเป็นประจำทุกวัน เช่น “ทุกวันข้าพเจ้าจะมีถึงที่ทำงานเวลา 7:00 น. …” หรือ “ตามปรกติ ผมจะต้องติดต่อกับคุณ ก. ที่แผนก …” สิ่งที่ต้องการทราบโดยแน่ชัดคือ ในวันที่เกิดเหตุการณ์นั้นๆขึ้น ท่านกระทำการใดบ้างที่นำไปสู่เหตุการณ์ หรือคลี่คลายสู่ผลลัพธ์ในท้ายที่สุด • โปรดเล่าเหตุการณ์โดยมุ่งที่บทบาทของตัวท่านเองในเรื่องนั้น ทั้งในแง่ของสิ่งที่ท่านกระทำไป ตลอดจนความรู้สึกนึกคิดในขณะนั้น โปรดอย่าเลือกเรื่องที่ท่านมีบทบาทแต่เพียงส่วนน้อย เพราะข้อมูลจะไม่เป็นประโยชน์นักในการศึกษาครั้งนี้

  19. การเก็บข้อมูล Competency จากประสบการณ์จริงของท่าน : ตัวอย่าง

  20. Work Sheet 3 แบบบรรยายเหตุการณ์ประทับใจ ชื่อตำแหน่ง ความเป็นมา .................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... เหตุการณ์ ...................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... สรุป (เหตุการณ์นั้นจบลงอย่างไร) ลงชื่อ..............................................................ผู้บรรยายเหตุการณ์ วันที่.......................................................

  21. ตัวอย่างการบันทึกเหตุการณ์ตัวอย่างการบันทึกเหตุการณ์ • แบบฟอร์มบันทึกเหตุการณ์ • เหตุการณ์ที่ประทับใจ • 1) ดิฉันยืนรอคิวในแถวไม่นานก็ได้รับบริการ • 2) เมื่อผมไปถึงธนาคาร พนักงานให้บริการทันที • 3) พนักงานให้บริการด้วยความกระตือรือร้น • 4) สามารถนัดขอคำปรึกษาเจ้าหน้าที่ได้ตามเวลาที่ต้องการ • เหตุการณ์ที่ไม่ประทับใจ / ความคาดหวัง • 1) ฉันต้องยืนรอนานมาก กว่าจะมีพนักงานเข้ามาให้บริการ • 2) ผมกำลังรีบ แต่ต้องรอคิวอีกยาว • 3) พนักงานไม่สนใจดิฉัน แม้ว่าจะยืนอยู่นานแล้ว • 4) พนักงานพูดไม่สุภาพ

  22. การเรียนรู้หน่วยที่ 1. การประมวลผลข้อมูลจากแบบสำรวจสมรรถนะและแบบบรรยายเหตุการณ์ประทับใจ การลดทอนขนาดข้อมูลการสังเคราะห์ข้อมูลจากเอกสารเกี่ยวกับสมรรถนะต่างๆ • การทดลองปฏิบัติจากข้อมูลจริง • การเตรียมตนเองก่อนประมวลผล (ศึกษาองค์ความรู้เกี่ยวกับสมรรถนะ) (ทักษะการวิเคราะห์เนื้อหา การวิจัยทางสังคมศาสตร์ การวิจัยประเมินผล การวิจัยเชิงคุณภาพ การวิเคราะห์งาน การบริหารธุรกิจ การประเมินผลการปฏิบัติงาน การวางแผนเชิงกลยุทธ์ การพัฒนาคุณภาพงาน) • การประมวลผลข้อมูลจากแบบสำรวจฯ และแบบบรรยาย • การใช้ Affinity Diagram (แผนภูมิความสัมพันธ์)

  23. ฝึกปฏิบัติการทำ Affinity Diagram

  24. Work Sheet 4

  25. การเรียนรู้หน่วยที่ 2.    การกำหนดโมเดลสมรรถนะจากข้อค้นพบเบื้องต้น ตรวจสอบข้อค้นพบกับประเด็นต่าง ๆ ดังต่อไปนี้ 1. กลุ่มสมรรถนะ (Cluster of Competencies) • บริการที่ดี การทำงานเป็นทีม มุ่งผลสัมฤทธิ์ สั่งสมความเชี่ยวชาญในงานอาชีพ จริยธรรม 2. ชื่อสมรรถนะ (Competency Name) • หลัก/เฉพาะ(สมรรถนะหลัก “ความมุ่งมั่นทำงานให้สำเร็จ”) 3. นิยามสมรรถนะ (Definition) • ชัดเจน/มีขอบเขต(จดจ่อกับงานให้สำเร็จอย่างดียอดเยี่ยม และมุ่งปรับปรุงผลงาน) 4. พฤติกรรมบ่งชี้ หรือ พฤติกรรมหลัก (Key Behaviors) • วัดได้ สังเกตได้ ระบุหน่วยได้ (กำหนดนโยบาย/วางแผน/ประเมิน/ติดตาม/ปรับปรุงแก้ไขงาน/ให้ข้อแนะนำ) • (ต้องการทำงานให้ดี, สร้างเกณฑ์วัดงานที่ดีเยี่ยม.,ปรับปรุงผลงาน,ตั้งเป้าหมายที่ท้าทายและลงมีทำให้บรรลุเป้าหมาย, วิเคราะห์ผลได้ผลเสีย, เสี่ยงแบบกล้าได้กล้าเสียโดยเล็งผลไว้ล่วงหน้า) 5. ระดับสมรรถนะ (Proficiency Level) • พิจารณาจากโครงสร้างองค์กรประกอบ (ฝึกหัด/สูง/เชี่ยวชาญ หรือ เริ่มต้น/ประยุกต์ใช้/ชำนาญการ/นำ

  26. หลักเกณฑ์ในการกำหนดสมรรถนะหลักเกณฑ์ในการกำหนดสมรรถนะ • เลือก สมรรถนะที่รองรับ ปรัชญา ค่านิยม วิสัยทัศน์ พันธกิจ .........ขององค์กร • เลือกสมรรถนะที่สร้างความแตกต่างระหว่าง High Performer กับ Average Performer • เลือกสมรรถนะที่ทำให้งานนั้นประสบความสำเร็จ และมีผลงานดีเยี่ยม • การกำหนดระดับของพฤติกรรมที่แสดงออก ของผู้ปฏิบัติงานในแต่ละกลุ่มอาชีพ ควรได้มาจากการศึกษาพฤติกรรมของผู้มีผลงานดีเยี่ยมในแต่ละสายงาน ในแต่ละกลุ่มอาชีพ

  27. สมรรถนะที่พบว่าเหมือนกับ พจนานุกรมที่ ก.พ. กำหนด • สมรรถนะที่มีความถี่สูงและคาดว่าจะนำไปใช้ • สมรรถนะใหม่ที่ค้นพบ

  28. การกำหนดระดับและประเมินการกำหนดระดับและประเมิน

  29. การคำนวณคะแนนประเมินผลการปฏิบัติงานการคำนวณคะแนนประเมินผลการปฏิบัติงาน ตัวอย่าง

More Related