970 likes | 1.76k Views
สมดุลเคมีและสมดุลไอออน. 2H 2 + O 2 2H 2 O. Zn + 2H + Zn 2+ + H 2. C + O 2 CO 2. III) การเกิดปฏิกิริยาเคมี. ปฏิกิริยาเคมี. ปฏิกิริยาไปข้างหน้าอย่างเดียว หรือ ปฏิกิริยาสมบูรณ์ (Irreversible reaction). ปฏิกิริยาที่สารตั้งต้นทำปฏิกิริยากัน
E N D
สมดุลเคมีและสมดุลไอออนสมดุลเคมีและสมดุลไอออน
2H2 + O2 2H2O Zn + 2H+ Zn2+ + H2 C + O2 CO2 III) การเกิดปฏิกิริยาเคมี ปฏิกิริยาเคมี • ปฏิกิริยาไปข้างหน้าอย่างเดียว หรือ • ปฏิกิริยาสมบูรณ์ (Irreversible reaction) • ปฏิกิริยาที่สารตั้งต้นทำปฏิกิริยากัน จนหมด เกิดเป็นผลิตภัณฑ์อย่างสมบูรณ์ โดยไม่ย้อนกลับ
NO2 + NO2 N2O4 2. ปฏิกิริยาแบบมีสมดุล หรือปฏิกิริยาไม่สมบูรณ์ • ปฏิกิริยาที่สารตั้งต้นทำปฏิกิริยากัน เกิด ผลิตภัณฑ์และขณะเดียวกันผลิตภัณฑ์บาง ส่วนทำปฏิกิริยากันกลับเป็นสารตั้งต้นใหม่ ทำให้ปฏิกิริยาเกิดไม่สมบูรณ์ไม่ว่าจะใช้ เวลานานเท่าใดก็ตาม • เรียกว่า ปฏิกิริยาผันกลับได้ (Reversible reaction) สีน้ำตาลแก่ ไม่มีสี
ตัวอย่าง การเปลี่ยนแปลงของระบบใดต่อไปนี้ผันกลับ ได้ ก. ถ้วยใส่น้ำแข็งวางไว้ในห้อง ข. น้ำโซดาในขวดปิดฝา ค. เกล็ด I2ในขวดชมพู่ปิดฝา ง. ละลายน้ำตาลในน้ำจนอิ่มตัวมีน้ำตาลเหลือ ในบิกเกอร์ จ. ผสม NaOH กับ NH4Cl ในบิกเกอร์ที่ไม่ได้ ปิดฝา
KNO3(s) K+(aq) + NO3- (aq) ของแข็ง ของเหลว ก๊าซ การเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับได้ การเปลี่ยนแปลงของระบบที่ผันกลับได้ก่อให้เกิด สมดุลเคมีได้มี 3 ประเภท I) การละลายเป็นสารละลาย II) การเปลี่ยนสถานะของสาร
ภาวะสมดุล (Equilibrium state) • ภาวะของระบบที่อัตราเร็วของการเปลี่ยนแปลง • ไปข้างหน้าเท่ากับอัตราเร็วของการเปลี่ยนแปลง • ย้อนกลับ - ที่สมดุลความเข้มข้นของสารตั้งต้นและ สารผลิตภัณฑ์คงที่ เงื่อนไขของการเกิดภาวะสมดุลเคมี 1. อยู่ในระบบปิด 2. สมบัติของระบบคงที่ 3. เป็นการเปลี่ยนแปลงที่ผันกลับได้
2Fe3+ + 2I- 2Fe2+ + I2 4. อัตราการเปลี่ยนแปลงไปข้างหน้าเท่ากับ อัตราการเปลี่ยนแปลงย้อนกลับ 5. ระบบนั้นต้องมีสารตั้งต้นเหลือ และสารผลิต ภัณฑ์เกิดขึ้น สารทุกชนิดในระบบต้องมี ปริมาณคงที่ ภาวะสมดุลในปฏิกิริยาเคมี เมื่อระบบคงที่เอาสารละลายมาทดสอบสารแต่ละ ชนิดในระบบ
2Fe2+ + I22Fe3+ + 2I- 2Fe3+ + 2I- 2Fe2+ + I2 พบว่าทดสอบพบสารทุกชนิด - I2ทดสอบด้วยน้ำแป้ง ให้สีน้ำเงิน - Fe2+ทดสอบด้วย [Fe(CN)6]3- ให้ตะกอนสีน้ำเงิน - Fe3+ทดสอบด้วย SCN- ให้สารละลายสีแดง เลือดนก - I-ทดสอบด้วย AgNO3ให้ตะกอนสีเหลืองอ่อน สรุป
ในปฏิกิริยาผันกลับใดๆ ที่เกิดขึ้น จะมีการ • เปลี่ยนแปลงของปฏิกิริยาจนถึงภาวะหนึ่ง • ที่การเปลี่ยนแปลงของสารตั้งต้นและผลิต • ภัณฑ์คงที่ เรียกว่า ภาวะสมดุล สมดุลไดนามิก (Dymamic Equilibrium) • เป็นขบวนการที่ระบบมีการเปลี่ยนแปลงตลอด • เวลาไม่หยุดนิ่ง โดยการเปลี่ยนแปลงไปข้างหน้า • และย้อนกลับเกิดขึ้นในอัตราที่เท่ากัน • สมดุลเคมี เป็นสมดุลพลวัต (dymamic • equilibrium)
N2O4 2NO2 NO2 N2O4 ตัวอย่าง ไม่มีสี สีน้ำตาลแก่
N2 + 2H2 2NH3 CH3COOH + CH3CH2OH CH3COOCH2CH3 + H2O PbO + Sn Pb + SnO CH3COOH CH3COO- + H+ Fe2+ Fe3+ + e ประเภทของสมดุลไดนามิก 1.สมดุลเคมีเนื้อเดียว (Homogeneouschemical equilibrium) • สมดุลที่สารทุกชนิดอยู่ในสถานะเดียวกันหมด
CaCO3 CaO + CO2 AgCl Ag+ + Cl- H2 + Br2 2HBr 2.สมดุลเคมีเนื้อผสม (Heterogeneouschemical equilibrium) • สมดุลที่มีสารต่างๆมากกว่า 2 สถานะอยู่ • ในระบบเดียวกัน
O O O O N N N N O O O O N2O4 NO2 การดำเนินเข้าสู่ภาวะสมดุลของระบบ • ปฏิกิริยาสามารถเริ่มจากด้านใดก็ได้ - ผลที่ได้จะมีลักษณะเช่นเดียวกัน
N2O4 N2O4 ความเข้มข้น ความเข้มข้น N2O4 ความเข้มข้น NO2 NO2 NO2 เวลา เวลา เวลา เริ่มต้นมี NO2 อย่างเดียว เริ่มต้นมี N2O4 อย่างเดียว เริ่มต้นมี N2O4 และ NO2 ที่สมดุลความเข้มข้นของ NO2 และ N2O4 ไม่เท่ากัน
X2 + 2Y2 2XY2 X2 + 2Y2 2XY2 X2 + 2Y2 2XY2 อัตราการเกิดปฏิกิริยา 2XY2 X2 + 2Y2 เวลา (s) กราฟของสมดุลเคมี 1. กราฟอัตรากับเวลา
X Y [Y] ความเข้มข้น [X] เวลา 2.กราฟระหว่างความเข้มข้นกับเวลา ก. สารตั้งต้นเหลือน้อยกว่าผลิตภัณฑ์ [X] < [Y]
X Y ความเข้มข้น [X] [Y] เวลา ข. สารตั้งต้นเหลือมากกว่าผลิตภัณฑ์ [X] > [Y]
X Y ความเข้มข้น [X] [Y] เวลา ค. สารตั้งต้นเหลือเท่ากับผลิตภัณฑ์ [X] > [Y]
N2 + 3H2 2NH3 ตัวอย่าง กำหนดสมดุลของปฏิกิริยา เริ่มต้นใส่ก๊าซ N2 1.0 โมล และก๊าซ H2 0.8 โมล ในภาชนะ 1 dm3ให้ทำปฏิกิริยากัน เกิดก๊าซ NH3 ที่อุณหภูมิหนึ่ง โดยอัตราไปข้างหน้าลดลงช้า แต่ อัตราการเกิดปฏิกิริยาย้อนกลับเพิ่มขึ้น เมื่อเข้าสู่ สมดุลพบว่ามีก๊าซ NH3 เกิดขึ้น 0.4 โมล ที่เวลา 30 วินาที จงเขียนกราฟแสดงสมดุล
อัตราการเกิดปฏิกิริยาอัตราการเกิดปฏิกิริยา N2 + 3H2 2NH3 N2 + 3H2 2NH3 30 เวลา (s) 2NH3 N2 + 3H2 1. กราฟอัตรากับเวลา
[N2] ความเข้มข้น [NH3] [H2] เวลา (s) 30 2.กราฟระหว่างความเข้มข้นกับเวลา
2. ค่าคงที่สมดุล พิจารณาผลการทดลองปฏิกิริยาการเปลี่ยน แปลง N2O4----- NO2ที่ 25 ๐c
aA + bB cC + dD K = [C]c[D]d [A]a[B]b พบว่าที่สมดุล[NO2]2/[N2O4] มีค่าคงที่ \ K = [NO2]2/[N2O4] = 4.63x10-3 K = ค่าคงที่ของปฏิกิริยา สำหรับปฏิกิริยาผันกลับทั่วๆไป K = ค่าคงที่สมดุล (equilibrium constant)
เสนอโดย - Cato Guldberg และ Peter Waage - เรียกว่า “Law of mass action” ในปฏิกิริยาผันกลับ ณ สภาวะสมดุลที่ อุณหภูมิคงที่ อัตราส่วนหนึ่งระหว่างความ เข้มข้นของสารตั้งต้นและผลิตภัณฑ์มีค่า คงที่ ค่าคงที่สมดุล อัตราส่วนระหว่างผลคูณของผลิตภัณฑ์ยกกำลัง สัมประสิทธิ์ของมันหารด้วยผลคูณของสารตั้งต้น ยกกำลังสัมประสิทธิ์ของมันในสมการที่ดุล
ก. 4NH3+ 5O2 4NO + 6H2O ข. 2SO3+ 2Cl2 2SO2Cl2 + O2 ค. SO3+ H2 SO2 + H2O ความสำคัญของค่าคงที่สมดุล, K • บอกให้ทราบว่าที่สมดุลมีสารตั้งต้นหรือ • ผลิตภัณฑ์มากกว่ากัน • K >> 1 สมดุลไปทางขวามีผลิตภัณฑ์มากกว่า • K << 1 สมดุลไปทางซ้ายมีสารตั้งต้นมากกว่า โจทย์ จงเขียนความสัมพันธ์ของค่าคงที่สมดุลและ หน่วยของค่าคงที่สมดุลจากปฏิกิริยาต่อไปนี้
ง. 2HgO(s) 2Hg(l) + O2(g) จ. H2O(l) H+(aq) + OH-(aq) **ของแข็งและของเหลวที่บริสุทธ์มีความเข้มข้น คงที่ให้นำความเข้มข้นไปรวมกับค่า K
2A + BA2B ความสัมพันธ์ของอัตราการเกิดปฏิกิริยาและค่า คงที่สมดุล ให้ Rfแทนอัตราไปข้างหน้ามีค่าคงที่ kf ให้ Rrแทนอัตราย้อนกลับมีค่าคงที่ kr Rf = kf[A]2[B] Rr = kr[A2B] ที่สมดุลจะได้ว่า Rf = Rr
kf = [A2B] kr [A]2[B] kf[A]2[B] = kr[A2B] ณ อุณหภูมิคงที่ K = kf/kr
K1 = [CH3OH] [CO][H2]2 CH3OH CO + 2H2 K2 = [CO][H2]2 = 1/K1 CO + 2H2 CH3OH [CH3OH] ความสัมพันธ์ของค่าคงที่สมดุลกับสมการเคมี • ถ้ากลับสมการ
K3 = [CH3OH]2 [CO]2[H2]4 2CO + 4H2 2CH3OH • ถ้าคูณหรือหารสมการด้วยตัวเลข ต้องนำค่า • K เดิมมายกกำลังด้วยตัวเลขที่คูณนั้น K3 = K12 • ค่าคงที่สมดุลของปฏิกิริยาที่เกิดจากปฏิกิริยา • ย่อยมารวมกันจะมีค่าเท่ากับผลคูณของค่าคง • ที่สมดุลของปฏิกิริยาย่อยเหล่านั้น
SO2 + NO2 SO3 + NO K= [SO3][NO] [SO2][NO2] SO2 + ½O2 SO3 ……………. (1) K1 = [SO3] [SO2][O2]1/2 ถ้าปฏิกิริยานี้มีปฏิกิริยาย่อยคือ
SO2 + NO2 SO3 + NO NO2 NO + ½O2…… (2) K= [SO3][NO] K2 = [NO] ][O2]1/2 [SO2][NO2] [NO2] (1)+(2) ;
K1K2 = [SO3] [NO] ][O2]1/2 [SO2][O2]1/2[NO2] ผลคูณของค่าคงที่สมดุลของ (1) และ (2) K1K2 = K ถ้าปฏิกิริยารวมเกิดจากปฏิกิริยาย่อยรวมกัน ค่าคงที่สมดุลจะเท่ากับค่าคงที่สมดุลของปฏิกิริยา ย่อยคูณกัน
การคำนวณเกี่ยวกับค่าคงที่สมดุลการคำนวณเกี่ยวกับค่าคงที่สมดุล 1. เขียนสมการเคมีพร้อมดุล 2. หาความเข้มข้นของสารทั้งหมดที่ภาวะสมดุล 3. เขียนสมการแสดงค่าคงที่สมดุล 4. แทนค่าความเข้มข้นของสารต่างๆ ที่ ภาวะสมดุล ตัวอย่าง ก๊าซไนโตรซิลคลอไรด์ (NOCl) 2.5 mol ในภาชนะ 1.5 dm3สลายตัวที่ 400 ๐c หลังจากเข้า สู่สมดุลพบว่า NOCl สลายตัว 28% จงคำนวณค่า K ของปฏิกิริยานี้
2NOCl 2NO + Cl2 K= [NO]2[Cl2] [NOCl]2 K = (0.47)2 (0.235) (1.2)2 เริ่มต้น 2.5/1.5 0 0 เปลี่ยนไป -0.47 +0.470 0.47/2 สมดุล 1.67-0.47 0+0.470 0+(0.47/2) K = 3.6 x 10-2 mol/dm3
P = n RT V aAbB ค่าคงที่สมดุลของระบบที่เป็นก๊าซ • ในระบบที่เป็นก๊าซจะใช้ความดันย่อยแทน • ความเข้มข้น จาก PV = nRT n/V = ความเข้มข้นเป็นโมลต่อลิตร KC = [B]b/[A]a
b nBRT V KP = a nART V KP = [B]b (RT)b-a [A]a KP = (PB)b/(PA)a \ KP = KC (RT)Dn Dn = b-a
H2 +Br2 2HBr P มีหน่วยเป็น atm R = 0.0821 lּatm K-1 mol \ KP = KC (0.0821T)Dn ถ้า Dn= 0 KP = KC (0.0821T)0 \ KP = KC ตัวอย่างเช่น
2NOCl 2NO + Cl2 ตัวอย่าง จงหาค่า Kpของการสลายตัวของก๊าซ NOCl ที่ 500 K ถ้า NOCl 1 atm สลายตัวให้ NO และ Cl2 ที่สมดุลพบว่าสลายตัวไป 27 % ตอบ 1.84 x 10-2 atm
CO2 CO2 CaCO3 CaO CaCO3 CaO 2CaCO3(s) CaO(s) + CO2(g) สมดุลเคมีเนื้อผสม(Heterogeneous chemical equilibrium) • สารตั้งต้นและสารผลิตภัณฑ์ไม่รวมเป็น • เนื้อเดียวกันหรืออยู่ต่างสถานะกัน ที่ 400 ๐c
ณ สมดุลความดันของ CO2เท่ากันทั้งๆที่ปริมาณ ของ CaCO3 และ CaO ไม่เท่ากัน Kc’ = [CaO][CO2]/[CaCO3] แสดงว่าความเข้มข้นของของแข็งมีค่าคงที่ Kc =Kc’ [CaCO3]/[CaO] =[CO2] หรืออาจเขียนในรูป KP KP = PCO2