330 likes | 454 Views
การศึกษาผลการตั้งครรภ์และการคลอด ในมารดาตั้งครรภ์อายุน้อยกว่า20ปี จังหวัดนครนายก โดย นางสุนันท์ แสวงทรัพย์. ข้อมูลทั่วไป. แผนที่จังหวัดนครนายก. ข้อมูลทั่วไปของจังหวัดนครนายก. จังหวัดนครนายก ตั้งอยู่ภาคตะวันออก ห่างจาก กรุงเทพฯ ประมาณ 105 กิโลเมตร มีเนื้อที่ทั้งหมด
E N D
การศึกษาผลการตั้งครรภ์และการคลอดการศึกษาผลการตั้งครรภ์และการคลอด ในมารดาตั้งครรภ์อายุน้อยกว่า20ปี จังหวัดนครนายก โดย นางสุนันท์ แสวงทรัพย์
ข้อมูลทั่วไปของจังหวัดนครนายกข้อมูลทั่วไปของจังหวัดนครนายก จังหวัดนครนายก ตั้งอยู่ภาคตะวันออก ห่างจาก กรุงเทพฯ ประมาณ 105 กิโลเมตร มีเนื้อที่ทั้งหมด 2,122 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 1,326,250 ไร่ ทิศเหนือ ติดต่อกับ จังหวัดสระบุรี นครราชสีมา ปราจีนบุรี ทิศใต้ ติดต่อกับ จังหวัดปราจีนบุรี และฉะเชิงเทรา ทิศตะวันออก ติดต่อกับ จังหวัดปราจีนบุรี ทิศตะวันตก ติดต่อกับ จังหวัดปทุมธานี และสระบุรี
ข้อมูลการปกครอง 1. อำเภอเมืองฯ 13 ตำบล 125 หมู่บ้าน 2 เทศบาล 2. อำเภอบ้านนา 10 ตำบล 116 หมู่บ้าน 1 เทศบาล 3. อำเภอองครักษ์ 11 ตำบล 116 หมู่บ้าน 1 เทศบาล 4. อำเภอปากพลี 7 ตำบล 51 หมู่บ้าน 1 เทศบาล รวม 4 อำเภอ 41 ตำบล 408 หมู่บ้าน 5 เทศบาล 40 อบต.
ข้อมูลประชากร ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 1. อำเภอเมืองฯ 98,729 คน 2. อำเภอบ้านนา 69,050 คน 3. อำเภอองครักษ์ 57,932 คน 4. อำเภอปากพลี 24,292 คนรวม 4 อำเภอ 250,003 คน ( ชาย 123,407 คน หญิง 126,596 คน )
สถานพยาบาลของรัฐ ขนาด เปิดบริการ โรงพยาบาลนครนายก 360 เตียง 314 เตียง โรงพยาบาลบ้านนา 90 เตียง 76 เตียง โรงพยาบาลองครักษ์ 60 เตียง 37 เตียง โรงพยาบาลปากพลี 10 เตียง 10 เตียง โรงพยาบาลโรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้าฯ 90 เตียง 72 เตียง ศูนย์การแพทย์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ 500 เตียง 331 เตียง สถานีอนามัย 56 แห่ง
สถิติชีพประชากร อัตราเกิด 11.68 ต่อประชากร 1,000 คน อัตราตาย 7.76 ต่อประชากร 1,000 คน อัตราเพิ่มตามธรรมชาติ 0.39 ต่อประชากร 100 คน อัตรามารดาตาย 0.00 ต่อการเกิดมีชีพ 1,000 คน อัตราตายเด็ก 0-1 ปี 9.53 ต่อการเกิดมีชีพ 1,000 คน อัตราตายเด็ก 0-5 ปี 2.56 ต่อเด็กอายุ 0-5 ปี 1,000 คน
ข้อมูลหญิงตั้งครรภ์อายุน้อยกว่า 20 ปีจังหวัดนครนายก ปี 2550 อัตราร้อยละ 27.0 ปี2551อัตราร้อยละ 26.25 ปี2552 อัตราร้อยละ 22.80 สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครนายกจึงได้ดำเนินการศึกษา ข้อมูลที่เกี่ยวข้องของ หญิงตั้งครรภ์ที่มีอายุน้อยกว่า 20 ปี ที่มาคลอด ในสถานบริการสังกัดกระทรวงสาธารณสุข ตั้งแต่ ตุลาคม 2551- กันยายน 2552 จำนวน 483 ราย
วัตถุประสงค์ -เพื่อศึกษาผลการตั้งครรภ์และการคลอดของมารดาอายุน้อยกว่า 20 ปีที่มาคลอดใน รพ.รัฐสังกัดกระทรวงสาธารณสุข -ศึกษาปัจจัยเกี่ยวกับข้อมูลทั่วไป ลักษณะทางสูติกรรมและภาวะแทรกซ้อนของมารดาและทารก
1.ที่อยู่ของหญิงตั้งครรภ์1.ที่อยู่ของหญิงตั้งครรภ์ อำเภอเมือง จำนวน 200 คน ร้อยละ41.4 อำเภอบ้านนา จำนวน126 คน ร้อยละ 26.1 อำเภอองครักษ์จำนวน 100 คน ร้อยละ 20.7 อำเภอปากพลี จำนวน 34 คน ร้อยละ 7.0 ต่างจังหวัด จำนวน 23 คน ร้อยละ 4.8
2.สถานที่คลอด โรงพยาบาลนครนายก จำนวน 335 ราย ร้อยละ 69.4 โรงพยาบาลบ้านนา จำนวน 72 ราย ร้อยละ 14.9 โรงพยาบาลองครักษ์ จำนวน 65 ราย ร้อยละ 13.5 โรงพยาบาลปากพลี จำนวน 11 ราย ร้อยละ 2.3
3.อายุของหญิงตั้งครรภ์3.อายุของหญิงตั้งครรภ์ อายุ น้อยกว่า15ปี จำนวน 16 คน ร้อยละ 3.3 อายุ 15-17 ปี จำนวน 194 คน ร้อยละ 40.16 อายุ 18-20 ปี จำนวน 273 คน ร้อยละ 56.5
4.อาชีพ ไม่ได้ประกอบอาชีพ/แม่บ้าน จำนวน 258 คน ร้อยละ 53.4 ทำนา จำนวน 3 คน ร้อยละ 0.6 รับจ้าง จำนวน 100 คน ร้อยละ20.7 นักเรียน/นักศึกษา จำนวน 7 คน ร้อยละ 1.4 ค้าขาย จำนวน 8 คน ร้อยละ 1.7 ไม่ระบุ จำนวน 107 คน ร้อยละ22.2
5.สิทธิการรักษาพยาบาล ประกันสุขภาพ จำนวน 371 คน ร้อยละ 76.8 เบิกได้ จำนวน 13 คน ร้อยละ 2.7 ประกันสังคม จำนวน 40 คน ร้อยละ 8.3 อื่นๆ จำนวน 21 คน ร้อยละ 4.3 ไม่ระบุ จำนวน 38 คน ร้อยละ 7.9
6.จำนวนครั้งของการตั้งครรภ์6.จำนวนครั้งของการตั้งครรภ์ ครรภ์แรก จำนวน 349 คน ร้อยละ 72.3 ครรภ์ที่ 2 จำนวน 120 คน ร้อยละ 24.8 ครรภ์ที่ 3 จำนวน 7 คน ร้อยละ 1.4 ครรภ์ที่ 4 จำนวน 2 คน ร้อยละ 0.4 ครรภ์ที่ 5 จำนวน 2 คน ร้อยละ 0.4
7.อายุครรภ์เมื่อฝากครรภ์ครั้งแรก น้อยกว่า 12 สัปดาห์ จำนวน 110 คน ร้อยละ 26.9 12-20 สัปดาห์ จำนวน 160 คน ร้อยละ 39.1 21-27 สัปดาห์ จำนวน 22 คน ร้อยละ 5.4 28-32 สัปดาห์ จำนวน 31 คน ร้อยละ 7.6 33-36 สัปดาห์ จำนวน 8 คน ร้อยละ 2.0 เมื่อมาคลอด จำนวน 6 คน ร้อยละ 1.5 ไม่ระบุ จำนวน 72 คน ร้อยละ 17.6
8.สถานที่ฝากครรภ์ รพ.นครนายก จำนวน 165 คน ร้อยละ 34.2 รพ.ชุมชน จำนวน 193 คน ร้อยละ 40.0 สถานีอนามัย จำนวน 1 คน ร้อยละ 0.2 คลินิกแพทย์ จำนวน 84 คน ร้อยละ 17.9 อื่นๆ จำนวน 225น ร้อยละ 5.2 ไม่ระบุ จำนวน 15 คน ร้อยละ 3.1
9. ความเข้มข้นของเลือด Hct <33% จำนวน 88 คน ร้อยละ 18.2 Hct 33 จำนวน 338 คน ร้อยละ 70.6 ไม่ระบุ จำนวน 57 คน ร้อยละ 11.8
10.ภาวะแทรกซ้อนระหว่างตั้งครรภ์ ไม่มีภาวะแทรกซ้อน จำนวน 436 คน ร้อยละ 90.3 พบภาวะแทรกซ้อน จำนวน 22 คน ร้อยละ 4.6 ไม่มีข้อมูล จำนวน 25 คน ร้อยละ 5.2
11.อายุครรภ์เมื่อคลอด น้อยกว่า 34 สัปดาห์ จำนวน 14คน ร้อยละ 2.9 34-36 สัปดาห์ จำนวน 45คน ร้อยละ 9.3 37-41 สัปดาห์ จำนวน 404 คน ร้อยละ 83.6 มากกว่า 42 สัปดาห์ จำนวน 5 คน ร้อยละ 1.0
12.วิธีการคลอด คลอดปกติ จำนวน 320 คน ร้อยละ 66.3 ผ่าตัดคลอด จำนวน 146 คน ร้อยละ 30.2 F/E,V/E จำนวน 3 คน ร้อยละ 0.7 Breech จำนวน 2 คน ร้อยละ 0.5
13.ข้อบ่งชี้ในการผ่าตัดคลอด13.ข้อบ่งชี้ในการผ่าตัดคลอด CPD จำนวน 55 คน ร้อยละ 44 Fetal Distress จำนวน 19 คน ร้อยละ 15.2 Failed induction จำนวน 5 คน ร้อยละ 4 Breech Presentation จำนวน 3 คน ร้อยละ2.4 อื่นๆ จำนวน 29 คน ร้อยละ 23.2
16.APGAR ที่ 1 นาที 4 คะแนน จำนวน 2 คน ร้อยละ 0.4 6 คะแนน จำนวน 2 คน ร้อยละ 0.4 8 คะแนน จำนวน 29 คน ร้อยละ 6.0 9 คะแนน จำนวน 347 คน ร้อยละ 71.8 10 คะแนน จำนวน 103 คน ร้อยละ 21.3
17.APGAR ที่ 5นาที 5 คะแนน จำนวน 1 คน ร้อยละ 0.2 6 คะแนน จำนวน 1 คน ร้อยละ 0.2 8 คะแนน จำนวน 1 คน ร้อยละ 0.2 9 คะแนน จำนวน 45 คน ร้อยละ 9.3 10 คะแนน จำนวน 435 คน ร้อยละ 90.1
18.ความผิดปกติแต่กำเนิด18.ความผิดปกติแต่กำเนิด ปกติ จำนวน 479 คน ร้อยละ 99.2 ผิดปกติ จำนวน 4 คน ร้อยละ 0.8
19.น้ำหนักทารกแรกเกิด น้อยกว่า 2,000 กรัม จำนวน 11 คน ร้อยละ 2.2 2,000 - 2,499 กรัม จำนวน 46 คน ร้อยละ 9.5 2,500 -2,999 กรัม จำนวน 207 คน ร้อยละ 42.8 3,000 กรัมขึ้นไป จำนวน 120 คน ร้อยละ 45.5
ผลที่ได้จากการศึกษา -ได้ข้อมูลซึ่งเป็นผลจากการตั้งครรภ์และการคลอดของมารดาอายุน้อยกว่า 20 ปีที่มาคลอดใน รพ.รัฐสังกัดกระทรวงสาธารณสุข -นำข้อมูลมาวางแผนในการให้ความรู้ด้านเพศศึกษาโดยเฉพาะในกลุ่มวัยเรียน