1 / 40

สวัสดิการและสิทธิประโยชน์ ของพนักงานมหาวิทยาลัยแต่ละประเภทการจ้าง

สวัสดิการและสิทธิประโยชน์ ของพนักงานมหาวิทยาลัยแต่ละประเภทการจ้าง. งานพนักงานสัมพันธ์ ฝ่ายทรัพยากรบุคคล คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล. พนักงานมหาวิทยาลัยเงินรายได้ (พร.) พนักงานมหาวิทยาลัย (พม.) พนักงานมหาวิทยาลัยชื่อส่วนงาน (พศ.) (พนักงานมหาวิทยาลัยคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล).

Download Presentation

สวัสดิการและสิทธิประโยชน์ ของพนักงานมหาวิทยาลัยแต่ละประเภทการจ้าง

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. สวัสดิการและสิทธิประโยชน์ ของพนักงานมหาวิทยาลัยแต่ละประเภทการจ้าง งานพนักงานสัมพันธ์ ฝ่ายทรัพยากรบุคคล คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล

  2. พนักงานมหาวิทยาลัยเงินรายได้ (พร.) • พนักงานมหาวิทยาลัย (พม.) • พนักงานมหาวิทยาลัยชื่อส่วนงาน (พศ.) (พนักงานมหาวิทยาลัยคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล)

  3. พนักงานมหาวิทยาลัยเงินรายได้ (พร.) คืออะไร ? • พนักงานมหาวิทยาลัยเงินรายได้ (พร.) คือ พนักงานที่จ้างจากเงินรายได้ ตามระเบียบฯ พนักงานมหาวิทยาลัย พ.ศ. 2528

  4. พนักงานมหาวิทยาลัย (พม.) คืออะไร ? • พนักงานมหาวิทยาลัย (พม.) คือ พนักงานที่จ้าง จากเงินงบประมาณหมวดอุดหนุน ตามพรบ. มหาวิทยาลัยมหิดล พ.ศ. 2550

  5. พนักงานมหาวิทยาลัยคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาลคืออะไร ? เดิม พนักงานมหาวิทยาลัยเงินรายได้ ตามระเบียบ ฯ พนักงานมหาวิทยาลัย พ.ศ. 2528 พนักงานมหาวิทยาลัย (ชื่อส่วนงาน) • พนักงานมหาวิทยาลัยคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล คือ พนักงานที่จ้างจากเงินรายได้ของคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาลตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยมหิดล (ชื่อส่วนงาน) พ.ศ.2551 ซึ่งจะมาแทนที่ระบบพนักงานมหาวิทยาลัยเงินรายได้เดิม ตั้งแต่ 18 ธันวาคม 2551

  6. กฎหมาย/ระเบียบ ที่เกี่ยวข้องกับพนักงานมหาวิทยาลัย(ชื่อส่วนงาน) • ข้อบังคับมหาวิทยาลัยมหิดล ว่าด้วยพนักงานมหาวิทยาลัย (ชื่อส่วนงาน) พ.ศ.2551 มีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 18 ธันวาคม 2551 • ประกาศมหาวิทยาลัยมหิดล เรื่อง การบริหารงานบุคคลของพนักงานมหาวิทยาลัย (ชื่อส่วนงาน) พ.ศ.2552 มีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2552

  7. สิ่งที่เกิดขึ้นเมื่อเป็นพนักงานมหาวิทยาลัยคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาลสิ่งที่เกิดขึ้นเมื่อเป็นพนักงานมหาวิทยาลัยคณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล • ประเภทและลักษณะการจ้าง โครงสร้างตำแหน่ง • ระบบการจ้าง และสัญญาการจ้าง • การประเมินผลการปฏิบัติงานและการเลื่อนเงินเดือน • ความก้าวหน้าในอาชีพ • เงินเดือน • สวัสดิการและสิทธิประโยชน์

  8. ประเภท/ลักษณะการจ้าง/โครงสร้างตำแหน่งประเภท/ลักษณะการจ้าง/โครงสร้างตำแหน่ง • กำหนดให้ประเภท/ลักษณะการจ้าง/โครงสร้างตำแหน่ง เหมือนกับพนักงานมหาวิทยาลัยตาม พ.ร.บ. ม.มหิดล 2550 ทำให้ไม่มีลักษณะการจ้างที่เรียกว่าประจำหรือชั่วคราวต่อไป ในกรณีหน่วยงานต้องการบรรจุพนักงานในตำแหน่งที่นอกเหนือจากโครงสร้างที่กำหนดไว้ต้องขออนุมัติต่อ ก.บ.ค.

  9. ระบบการจ้าง และสัญญาการจ้าง • ระยะเวลาการจ้างครั้งแรก (ยกเว้นกรณีปรับมาจากพนักงาน ฯ เงินรายได้) กำหนดให้ไม่น้อยกว่า 1 ปี แต่ไม่เกิน 2 ปี โดยวันสิ้นสุดสัญญาเป็นวันที่ 30 กันยายน • ระยะเวลาการจ้างที่สองกำหนดให้มี 2 ทางเลือก คือ • สัญญาจ้างที่กำหนดถึงวันที่ 30 กันยายนของปีเกษียณอายุงาน (60ปี) • สัญญาจ้างที่ระบุระยะเวลาตามที่ตกลงกันระหว่างหน่วยงานกับพนักงาน ฯ • การทำสัญญาค้ำประกันเฉพาะตำแหน่งทีเกี่ยวข้องกับการเงิน การพัสดุฯ

  10. การประเมินผลการปฏิบัติงานและการเลื่อนเงินเดือนการประเมินผลการปฏิบัติงานและการเลื่อนเงินเดือน • ประเมินผลการปฏิบัติงานปีละ 2 ครั้ง ตามรอบการประเมิน โดยมีการทำข้อตกลงการปฏิบัติงาน (Performance Agreement) เช่นเดียวกับบุคลากรประเภทอื่น • การเลื่อนเงินเดือนปีละ 1 ครั้ง ตามรอบปีงบประมาณ โดยการเลื่อนเป็นจำนวนร้อยละของอัตราเงินเดือนตามผลการประเมินการปฏิบัติงาน

  11. ความก้าวหน้าในอาชีพ • สามารถขอตำแหน่งชำนาญงาน / ชำนาญการ เชี่ยวชาญ และเชี่ยวชาญพิเศษ ได้เช่นเดียวกับข้าราชการและพนักงาน ฯ ตาม พ.ร.บ. ม.มหิดล พ.ศ.2550 • สามารถแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งประเภทผู้บริหารได้ยกเว้นตำแหน่งผู้บริหารระดับกลาง (คณบดี/รองอธิการบดี) และระดับสูง (อธิการบดี)

  12. เงินประจำตำแหน่ง

  13. การบรรจุใหม่ เงินเดือน / ค่าตอบแทน • ให้บรรจุในอัตราขั้นพื้นฐานของพนักงานมหาวิทยาลัยเงินงบประมาณ โดย • กรณีมีประสบการณ์ตรงให้บวกเงินเพิ่มได้ไม่เกินร้อยละ 5 ต่อปี

  14. สวัสดิการและสิทธิประโยชน์สวัสดิการและสิทธิประโยชน์

  15. สิทธิประโยชน์กองทุนประกันสังคมสิทธิประโยชน์กองทุนประกันสังคม • 1. ประโยชน์ทดแทนกรณีเจ็บป่วยและประสบอันตราย • 2. ประโยชน์ทดแทนกรณีคลอดบุตร • 3. ประโยชน์ทดแทนกรณีทุพพลภาพ • 4. ประโยชน์ทดแทนกรณีเสียชีวิต • 5. ประโยชน์ทดแทนกรณีสงเคราะห์บุตร • 6. ประโยชน์ทดแทนกรณีชราภาพ • 7. ประโยชน์ทดแทนกรณีว่างงาน

  16. สิทธิประโยชน์กองทุนประกันสังคมสิทธิประโยชน์กองทุนประกันสังคม • 1. ประโยชน์ทดแทนกรณีเจ็บป่วยและประสบอันตราย จ่ายเงินสมทบไม่น้อยกว่า 3 เดือน ภายในระยะเวลา 15 เดือน (1) ค่าบริการทางการแพทย์ อวัยวะเทียม และอุปกรณ์ในการบำบัดโรค (2) เงินทดแทนการขาดรายได้ (50%ของค่าจ้างไม่เกิน 90 วัน/ครั้ง ไม่เกิน 180 วัน/ปี) (3) กรณีทันตกรรม (ถอนฟัน อุดฟัน ขูดหินปูน ไม่เกิน 250 บาท/ครั้ง ปีละไม่เกิน 500 บาท และใส่ฟันเทียม 1-5 ซี่ ไม่เกิน 1,200 บาท มากกว่า 5 ซี่ไม่เกิน 1,400 บาทภายใน 5 ปี) (4) สิทธิได้รับบริการทางการแพทย์โดยการฟอกเลือดด้วยไตเทียม

  17. สิทธิประโยชน์กองทุนประกันสังคมสิทธิประโยชน์กองทุนประกันสังคม • 2. ประโยชน์ทดแทนกรณีคลอดบุตร จ่ายเงินสมทบไม่น้อยกว่า 7 เดือน ภายในระยะเวลา 15 เดือน กรณีผู้ประกันตนหญิง - ค่าคลอดบุตรเหมาจ่าย 12,000 บาท / ครั้ง - เงินสงเคราะห์การหยุดงาน อัตราร้อยละ 50 ของค่าจ้าง 90 วัน กรณีผู้ประกันตนชาย (ใช้สิทธิเบิกค่าคลอดบุตรให้ภรรยา) - ค่าคลอดบุตรเหมาจ่าย 12,000 บาท / ครั้ง ผู้ประกันตนมีสิทธิได้รับค่าคลอดบุตรคนละไม่เกิน 2 ครั้ง ในกรณีภรรยา สามีเป็นผู้ประกันตนทั้งคู่ ใช้สิทธิการเบิกค่าคลอดบุตรรวมกันไม่เกิน 4 ครั้ง

  18. สิทธิประโยชน์กองทุนประกันสังคมสิทธิประโยชน์กองทุนประกันสังคม • 3. ประโยชน์ทดแทนกรณีทุพพลภาพ ส่งเงินสมทบมาแล้วไม่น้อยกว่า 3 เดือน ภายใน 15 เดือน (1) ค่ารักษาพยาบาลเท่าที่จ่ายจริง ไม่เกิน 2,000 บาท/เดือน (2) เงินทดแทนอัตราร้อยละ 50 ของค่าจ้างตลอดชีวิต (3) ค่าทำศพกรณีเสียชีวิตผู้จัดการศพมีสิทธิได้รับเงินค่าทำศพ 40,000 บาท และผู้มีสิทธิหรือทายาทได้รับเงินสงเคราะห์ ดังนี้ - ผู้ประกันตนจ่ายเงินสมทบ 3 ปีขึ้นไป ไม่ถึง 10 ปี ได้รับเงินสงเคราะห์เท่ากับค่าจ้าง เฉลี่ย 1 เดือนครึ่ง - จ่ายเงินสมทบ 10 ปีขึ้นไป ได้รับเงินสงเคราะห์เท่ากับค่าจ้างเฉลี่ย 5 เดือน

  19. สิทธิประโยชน์กองทุนประกันสังคมสิทธิประโยชน์กองทุนประกันสังคม • 4. ประโยชน์ทดแทนกรณีเสียชีวิต ส่งเงินสมทบมาแล้วไม่น้อยกว่า 1 เดือน ภายใน 6 เดือน (1) ได้รับเงินค่าทำศพ 40,000 บาท (2) เงินสงเคราะห์ตามระยะเวลาการส่งเงินสมทบ ดังนี้ - ส่งเงินสมทบตั้งแต่ 3 ปีขึ้นไป ไม่ถึง 10 ปี จะได้รับเงินสงเคราะห์ เท่ากับค่าจ้าง เฉลี่ยหนึ่งเดือนครึ่ง - ส่งเงินสมทบตั้งแต่ 10 ปีขึ้นไป ได้รับเงินสงเคราะห์เท่ากับค่าจ้างเฉลี่ย 5 เดือน

  20. สิทธิประโยชน์กองทุนประกันสังคมสิทธิประโยชน์กองทุนประกันสังคม • 5. ประโยชน์ทดแทนกรณีสงเคราะห์บุตร ส่งเงินสมทบมาแล้วไม่น้อยกว่า 12 เดือน ภายใน 36 เดือน - เป็นบุตรโดยชอบด้วยกฎหมาย (ไม่รวมถึงบุตรบุญธรรม หรือบุตรซึ่งยกให้เป็นบุตรบุญธรรมผู้อื่น) อายุไม่เกิน 6 ปี จำนวนคราวละไม่เกิน 2 คน - ได้รับเงินสงเคราะห์บุตรเหมาจ่ายเดือนละ 350 บาท/บุตร 1 คน - กรณีผู้ประกันตน เป็นผู้ทุพพลภาพหรือตาย ขณะที่บุตรอายุไม่เกิน 6 ปี จะมีสิทธิได้รับประโยชน์ทดแทนต่อจนบุตรอายุ 6 ปี

  21. สิทธิประโยชน์กองทุนประกันสังคมสิทธิประโยชน์กองทุนประกันสังคม • 6. ประโยชน์ทดแทนกรณีชราภาพ เงินบำนาญชราภาพ ส่งเงินสมทบไม่น้อยกว่า 180 เดือน ไม่ว่าระยะเวลา 180 เดือนจะติดต่อกันหรือไม่ก็ตาม มีอายุครบ 55 ปี และความเป็นผู้ประกันตนสิ้นสุดลง - ได้รับเงินในอัตราร้อยละ 15 ของค่าจ้างเฉลี่ย 60 เดือนสุดท้าย - กรณีส่งเงินสมทบ เกินกว่า 180 เดือน ให้ปรับเพิ่มอัตราเงินบำนาญฯ จากอัตราร้อยละ 15 เพิ่มขึ้นอีกร้อยละ 1 ต่อระยะเวลาการจ่ายเงินสมทบทุก 12 เดือน

  22. สิทธิประโยชน์กองทุนประกันสังคมสิทธิประโยชน์กองทุนประกันสังคม • 6. ประโยชน์ทดแทนกรณีชราภาพ เงินบำเหน็จชราภาพ ส่งเงินสมทบไม่ครบ 180 เดือน มีอายุครบ 55 ปี หรือเป็นผู้ทุพพลภาพหรือถึงแก่ความตาย และความเป็นผู้ประกันตนสิ้นสุดลง - ส่งเงินสมทบต่ำกว่า 12 เดือน ให้จ่ายเงินบำเหน็จชราภาพเท่ากับจำนวนเงินสมทบที่ผู้ประกันตน จ่ายสมทบเข้ากองทุนเพื่อการจ่ายประโยชน์ทดแทนในกรณีสงเคราะห์บุตรและกรณีชราภาพ - ส่งเงินสมทบตั้งแต่ 12 เดือนขึ้นไป ให้จ่ายเงินบำเหน็จ เท่ากับจำนวนเงินสมทบที่ผู้ประกันตนและนายจ้างจ่ายสมทบ เข้ากองทุนพร้อมประโยชน์ทดแทน

  23. สิทธิประโยชน์กองทุนประกันสังคมสิทธิประโยชน์กองทุนประกันสังคม • 7. ประโยชน์ทดแทนกรณีว่างงาน ส่งเงินสมทบมาแล้วไม่น้อยกว่า 6 เดือน (1) กรณีลาออกจากงาน ได้รับเงินทดแทนรายเดือนร้อยละ 30 ของค่าจ้างครั้งละไม่เกิน 90 วันใน 1 ปี (2) ถูกเลิกจ้างได้รับเงินทดแทนรายเดือนร้อยละ 50 ของค่าจ้างครั้งละไม่เกิน 180 วัน ใน 1ปี

  24. ...ข้อมูลเพิ่มเติม… สำนักงานประกันสังคม เพิ่มความสะดวกให้แก่ผู้ประกันตนและผู้มีสิทธิ์ สามารถยื่นขอรับประโยชน์ทดแทนทั้ง 7 กรณี ได้ทางธนาคาร 9 แห่ง ได้แก่ - ธนาคารกรุงไทย - ธนาคารกรุงศรีอยุธยา - ธนาคารกรุงเทพ - ธนาคารกสิกรไทย - ธนาคารไทยพาณิชย์ - ธนาคารทหารไทย - ธนาคารนครหลวงไทย - ธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย - ไทยธนาคาร

  25. ข้อควรระวัง !!! ผู้ประกันตน ต้องยื่นเรื่องขอรับประโยชน์ทดแทนทุกกรณี ภายในเวลา 1 ปี นับจากวันที่เกิดสิทธิ ติดตามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ทางwww.sso.go.thหรือ สายด่วนประกันสังคม 1506 (ทุกวันไม่เว้นวันหยุดราชการ)

  26. สวัสดิการและสิทธิประโยชน์สวัสดิการและสิทธิประโยชน์

  27. สวัสดิการและสิทธิประโยชน์สวัสดิการและสิทธิประโยชน์

  28. สวัสดิการและสิทธิประโยชน์สวัสดิการและสิทธิประโยชน์

  29. สวัสดิการและสิทธิประโยชน์สวัสดิการและสิทธิประโยชน์

  30. สวัสดิการและสิทธิประโยชน์สวัสดิการและสิทธิประโยชน์

  31. สวัสดิการและสิทธิประโยชน์สวัสดิการและสิทธิประโยชน์

  32. สวัสดิการและสิทธิประโยชน์สวัสดิการและสิทธิประโยชน์

  33. สวัสดิการและสิทธิประโยชน์สวัสดิการและสิทธิประโยชน์

  34. สวัสดิการและสิทธิประโยชน์สวัสดิการและสิทธิประโยชน์

  35. สวัสดิการและสิทธิประโยชน์สวัสดิการและสิทธิประโยชน์

  36. สวัสดิการและสิทธิประโยชน์สวัสดิการและสิทธิประโยชน์

  37. สวัสดิการและสิทธิประโยชน์สวัสดิการและสิทธิประโยชน์

  38. สวัสดิการและสิทธิประโยชน์สวัสดิการและสิทธิประโยชน์

  39. สวัสดิการและสิทธิประโยชน์สวัสดิการและสิทธิประโยชน์

  40. Q & A

More Related