1 / 73

การประเมินทาง สิ่งแวดล้อม

6. การประเมินทาง สิ่งแวดล้อม. อนุพันธ์ สุวรรณพันธ์. การประเมินสิ่งแวดล้อมในการทำงาน. การดำเนินงานเพื่อ ทราบถึงปริมาณ และระดับของความเค้นในสิ่งแวดล้อมการทำงาน เพื่อนำมา เปรียบเทียบ กับระดับ มาตรฐาน และประเมินว่าสภาพการทำงานนั้นเป็น อันตรายต่อสุขภาพผู้ปฏิบัติงาน หรือไม่. วัตถุประสงค์.

stacie
Download Presentation

การประเมินทาง สิ่งแวดล้อม

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. 6 การประเมินทางสิ่งแวดล้อม อนุพันธ์ สุวรรณพันธ์

  2. การประเมินสิ่งแวดล้อมในการทำงานการประเมินสิ่งแวดล้อมในการทำงาน การดำเนินงานเพื่อทราบถึงปริมาณ และระดับของความเค้นในสิ่งแวดล้อมการทำงาน เพื่อนำมาเปรียบเทียบกับระดับมาตรฐาน และประเมินว่าสภาพการทำงานนั้นเป็นอันตรายต่อสุขภาพผู้ปฏิบัติงานหรือไม่

  3. วัตถุประสงค์ 1. ทำให้ทราบแหล่งมลพิษและปริมาณมลพิษ 2. นำผลไปออกแบบควบคุมสภาพแวดล้อม 3. ดูความสัมพันธ์ระหว่างการเจ็บป่วย หรือบาดเจ็บกับสภาพแวดล้อม 4. ตรวจสอบและประเมินระบบควบคุมมลพิษ 5. ใช้เป็นหลักฐานในการปฏิบัติตามระเบียบ ข้อบังคับ หรือกฎหมาย

  4. ขั้นตอนการประเมินทางสิ่งแวดล้อมขั้นตอนการประเมินทางสิ่งแวดล้อม

  5. การสำรวจขั้นต้น (Preliminary/Walkthrough Survey) เป็นการค้นหาความเสี่ยงที่เกิดขึ้นในแต่ละแผนก เพื่อเป็นการเตรียมเครื่องมือและเทคนิคก่อนสำรวจละเอียด และเพื่อเลือกบริเวณที่จะเก็บตัวอย่างทางสิ่งแวดล้อม

  6. สิ่งที่ผู้ประเมินต้องเตรียมสิ่งที่ผู้ประเมินต้องเตรียม • แผนผัง/กระบวนการทำงานในแต่ละแผนก • รายชื่อของสารเคมีหรือวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในกระบวนการทำงาน • จำนวนผู้ปฏิบัติงานในแต่ละแผนก • วิธีการควบคุมป้องกันที่มีอยู่ในแผนก • ลักษณะมลพิษหรือของเสียที่เกิดขึ้นในแผนก ข้อมูลสามารถหาได้จากข้อมูลการประเมินความเสี่ยงทางสุขภาพ RAH.01

  7. RAH.01

  8. การสำรวจอย่างละเอียด • ต้องใช้เครื่องมือที่สามารถอ่านค่าได้อย่างละเอียดถูกต้องแม่นยำ แบ่งเป็น • เครื่องมือที่สามารถอ่านค่าได้โดยตรงทราบผลทันที เช่น เครื่องวัดฝุ่น เครื่องวัดความร้อน • ต้องเก็บตัวอย่าง แล้วนำมาวิเคราะห์ทางห้องปฏิบัติการ เช่น ตัวอย่างอากาศ ตัวอย่างน้ำ ตัวอย่างน้ำ ตัวอย่างเลือด ตัวอย่างปัสสาวะ

  9. วัตถุประสงค์ 1. เพื่อระบุพื้นที่ที่เป็นปัญหาและต้องการปรับปรุงแก้ไข 2. เพื่อระบุผู้ปฏิบัติงานที่ควรหรือจำเป็นต้องตรวจสุขภาพเฉพาะ 3. เพื่อหาแนวทางในการควบคุมทางวิศวกรรม ทางการบริหารจัดการ หรือการใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตราย 4. เพื่อนำค่าที่ตรวจวัดได้ไปเปรียบเทียบกับค่ามาตรฐาน

  10. การเลือกใช้เครื่องมือการเลือกใช้เครื่องมือ • วัตถุประสงค์ของการเก็บตัวอย่าง • ความพร้อมของเครื่องมือและผู้ใช้เครื่องมือ • ความพร้อมและความสามารถของห้องปฏิบัติการ

  11. การเลือกใช้เครื่องมือการเลือกใช้เครื่องมือ 1. มีความสะดวกในการขนย้าย และนำไปใช้ในภาคสนาม 2. วิธีการใช้ง่ายและมีประสิทธิภาพสูง 3. มีความแม่นยำและเที่ยงตรง แม้จะถูกนำไปใช้ในภาคสนาม 4. มีวิธีการวิเคราะห์ตัวอย่างที่เชื่อถือได้ 5. เป็นเครื่องมือที่มีอยู่แล้วในหน่วยงาน หรือสามารถเช่า หรือยืมได้สะดวก 6. ผู้ใช้มีประสบการณ์ในการใช้เครื่องมือนั้น

  12. 7 ค่ามาตรฐาน ทางสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ อนุพันธ์ สุวรรณพันธ์

  13. ความสำคัญ = ค่าที่ตรวจได้ > ค่ามาตรฐาน คุกคามต่อสุขภาพ

  14. ความหมายของคำนิยาม TLV (Threshold Limit Value) PEL (Permissible Exposure Limit) IDLH (Immediately Dangerous to Life or Health) ppm (Parts Per Million Parts of Air) NFPA (National Fire Protection) OSHA (Occupational Safety and Health Administration) ACGIH (American Conference of Governmental Industrial Hygienists) NIOSH (National Institute for Occupational Safety and Health)

  15. ค่ามาตรฐานสาร Acetone Ammonia Benzene Chlorine Chloroform Ether หรือ Ethyl ether Ethylene oxide Formaldehyde Glutaraldehyde

  16. ค่ามาตรฐานสาร Glycerol Halothane Lead Mercury Methanol Phenol Xylene

  17. ค่ามาตรฐานของสิ่งแวดล้อมทางกายภาพค่ามาตรฐานของสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ ค่ามาตรฐานระดับความร้อน *WBGT (Wet Bulb Globe Temperature)

  18. เครื่องวัดความร้อน WBGT (Wet Bulb Globe Temperature)

  19. มาตรฐานระดับเสียงดัง แหล่งกำเนิดของเสียงในโรงพยาบาล เช่น แผนกซักรีด แผนกซ่อมบำรุง ห้องครัว (บริเวณที่ล้างจาน โดยใช้เครื่องล้างจานอัตโนมัติ การตัดเฝือก ฯลฯ) ระดับเสียงเฉลี่ยตลอดเวลาการทำงาน 8 ชั่วโมง ไม่เกิน 90 เดซิเบล (เอ)

  20. มาตรฐานแสงสว่าง • ความเข้มของแสงสว่างของอาคาร • ความเข้มของแสงสว่างสำหรับทำงาน • งานละเอียดสูงมากเป็นพิเศษ เช่น ผ่าตัด > 2,400 ลักซ์ • งานละเอียดน้อย เช่น การพิมพ์ > 400 ลักซ์ • งานละเอียดน้อย เช่น ปรุงอาหาร > 300 ลักซ์

  21. มาตรฐานแสงสว่าง • มาตรฐานด้านแสงสว่างที่เกี่ยวข้องกับโรงพยาบาลของสมาคมไฟฟ้าแสงสว่างแห่งประเทศไทย • มาตรฐานด้านแสงสว่างที่เกี่ยวข้องกับโรงพยาบาลตามมาตรฐาน CIE (International Commission on Illumination) สำหรับโรงพยาบาล

  22. ค่ามาตรฐานรังสี • แปลผลจากอุปกรณ์บันทึกปริมาณรังสีประจำตัวบุคคล • ปริมาณรังสีสะสม หมายถึง ค่าปริมาณรังสีที่ลูกจ้างคนนั้นได้รับในช่วงห้าปีติดต่อกัน • สำหรับค่ามาตรฐานของปริมาณรังสีได้รับ < 20 มิลลิซีเวอร์ตต่อปี โดยเฉลี่ยในช่วง 5 ปีติดต่อกัน • แต่ละปีจะรับปริมาณรังสีสะสมได้ < 50 มิลลิซีเวอร์ต

  23. ค่ามาตรฐานคุณภาพอากาศภายในอาคารค่ามาตรฐานคุณภาพอากาศภายในอาคาร • อุณหภูมิ 20-26 C • ความชื้นสัมพัทธ์ 30-60%

  24. 8 การเลือกใช้อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล อนุพันธ์ สุวรรณพันธ์

  25. อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลอุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล (Personal Protection Equipments, PPE) สิ่งที่ออกแบบมาให้เหมาะสมกับส่วนใดส่วนหนึ่งของร่างกายเพื่อป้องกันอันตรายหรือลดความรุนแรงของอันตรายที่จะเกิดขึ้นกับร่างกายส่วนนั้นในขณะปฏิบัติงาน

  26. อันตรายจากการไม่ใช้ PPE

  27. แบ่งตามลักษณะการป้องกันแบ่งตามลักษณะการป้องกัน 1. อุปกรณ์ปกป้องศีรษะ 2. อุปกรณ์ปกป้องใบหน้าและดวงตา 3. อุปกรณ์ปกป้องระบบทางเดินหายใจ 4. อุปกรณ์ปกป้องการได้ยิน 5. อุปกรณ์ปกป้องมือและแขน 6. อุปกรณ์ปกป้องลำตัว 7. อุปกรณ์ปกป้องเท้า

  28. เกณฑ์ทั่วไปในการเลือกใช้ PPE 1. เหมาะสมกับลักษณะงานหรืออันตรายที่เกิดจากงานนั้น 2. ประสิทธิภาพของอุปกรณ์ต้องสูงพอที่จะป้องกันอันตรายที่เกิดขึ้น 3. อุปกรณ์ต้องได้รับการรับรอง 4. ขนาดพอเหมาะกับผู้ใช้ หรือมีหลายขนาดให้เลือก 5. สวมใส่สบาย น้ำหนัก ไม่เป็นอุปสรรคต่อการทำงาน 6. การใช้งานและการดูแลรักษาไม่ยุ่งยาก 7. ผู้จำหน่ายอุปกรณ์ควรให้ข้อมูล ข้อแนะนำ และให้บริการ

  29. การดูแลรักษา 1. ทำความสะอาดเป็นประจำ โดยเฉพาะหลังการใช้งานทุกครั้งด้วยน้ำเปล่า หรือสารชะล้างที่มีฤทธิ์อ่อน 2. ล้างด้วยน้ำสะอาด และผึ่งลมให้แห้ง ไม่ควรตากแดด 3. ตรวจสภาพของอุปกรณ์เพื่อหารอยแตก ร้าว ฉีก ขาด หรืออื่นๆ ที่แสดงถึงความชำรุด หากพบให้เปลี่ยนอะไหล่หรือเปลี่ยนอุปกรณ์ใหม่ทั้งชิ้น การตรวจสภาพนี้ควรทำทั้งก่อนและหลังการใช้งาน

  30. 1. อุปกรณ์ปกป้องศีรษะ ( SAFETY Helmet ) ใช้สำหรับป้องกันวัตถุฟาดหรือตกใส่ศีรษะ ซึ่งบางประเภทสามารถต้านทานไฟฟ้าได้

  31. 1. อุปกรณ์ปกป้องศีรษะ 1.1 ชั้นคุณภาพ A สามารถป้องกันการกระทบกระแทกและการเจาะทะลุของของแข็ง รวมทั้งแรงดันไฟฟ้าไม่เกิน 2,200 โวลท์

  32. 1. อุปกรณ์ปกป้องศีรษะ 1.2 ชั้นคุณภาพ B ป้องกันอันตรายจากการกระทบกระแทก และการเจาะทะลุของของแข็ง และป้องกันอันตรายจากกระแสไฟฟ้าได้ถึง 20,000 โวลท์ จึงเหมาะสำหรับงานที่ต้องเสี่ยงต่อกระแสไฟฟ้าแรงดันสูง

  33. 1. อุปกรณ์ปกป้องศีรษะ 1.3 ชั้นคุณภาพ C สามารถป้องกันการกระทบกระแทกและการเจาะทะลุของของแข็ง แต่ไม่ป้องกันอันตรายจากกระแสไฟฟ้า เหมาะสำหรับการทำงานในที่ไม่มีอันตรายจากไฟฟ้า

  34. การเลือกใช้ 1. ชนิดของอันตรายและความรุนแรงที่เกิดขึ้นจากงาน และประสิทธิภาพการป้องกันของหมวก 2. มาตรฐานรับรอง หมวกนิรภัยต้องผ่านการทดสอบประสิทธิภาพการป้องกันตามข้อกำหนดของสถาบัน ที่น่าเชื่อถือ 3. ขนาดเหมาะสมกับศีรษะ 4. สวมใส่สบาย น้ำหนักเบา

  35. สิ่งควรพิจารณา • หน่วยงานซ่อมบำรุงเป็นกลุ่มที่เสี่ยงต่อการบาดเจ็บที่ศีรษะ จึงควรได้รับหมวกนิรภัยเป็นอุปกรณ์ป้องกัน • อันตรายส่วนบุคคลพื้นฐาน • ในหน่วยงานอื่นอาจสวมใส่หมวกคลุมศีรษะที่ทำจากผ้าหรือวัสดุอื่น เพื่อป้องกันการกระเด็นของของเหลว หรือการรับสัมผัสอันตรายอื่นที่ไม่ใช่การกระแทกของของแข็ง

  36. 2. อุปกรณ์ปกป้องใบหน้าและดวงตา 1. แว่นตานิรภัย (Safety spectacles) 2. ครอบตานิรภัย (Safety Goggles) 3. กระบังหน้า (Face shields)

  37. 2. อุปกรณ์ปกป้องใบหน้าและดวงตา 1. แว่นตานิรภัย (Safety spectacles) มีรูปร่างเหมือนแว่นสายตาทั่วไป มีความแข็งแรง ทนแรงกระแทก แรงเจาะของวัตถุที่พุ่งเข้าสู่ใบหน้าได้ ใช้สำหรับป้องกันอันตรายที่มีทิศทางมาจากทั้งด้านหน้าและด้านข้าง

  38. 2. อุปกรณ์ปกป้องใบหน้าและดวงตา 2. ครอบตานิรภัย (Safety Goggles) เป็นอุปกรณ์ครอบปิดดวงตาทั้งสองข้าง สามารถป้องกันอันตรายทั้งจาก ของแข็งและของของเหลวที่พุ่งหรือกระเด็นเข้าใส่ดวงตาได้รอบด้าน

  39. 2. อุปกรณ์ปกป้องใบหน้าและดวงตา 3. กระบังหน้า (Face shields) เป็นแผ่นวัสดุโค้งครอบใบหน้า ใช้สำหรับป้องกันอันตรายต่อใบหน้า ดวงตา และลำคอ และการกระเด็น อีกแบบคือกระบังหน้าสำหรับงานเชื่อมโลหะ (Welding shields)

  40. การเลือกใช้ 1. ประสิทธิภาพและมาตรฐานรับรอง 2. ความพอดีกับใบหน้า ไม่บดบังสายตา และมองเห็นภาพได้เหมือนจริง 3. ความสบายขณะสวมใส่ น้ำหนักเบา 4. ทนทานต่อความร้อน การกัดกร่อนของสารเคมี และไม่เกิดความระคายเคืองต่อผิวหนัง 5. ไม่เป็นอุปสรรคต่อการสวมใส่อุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลชนิดอื่นบนใบหน้า 6. ทนทาน ทำความสะอาด และฆ่าเชื้อโรคได้

  41. สิ่งควรพิจารณา 1. ลักษณะงานบางอย่างในโรงพยาบาล เช่น ทันตกรรม การผ่าตัด งานในห้องปฏิบัติการจุลชีววิทยา มีความเสี่ยงในการรับสัมผัสสารคัดหลั่งของคนไข้โรคติดเชื้อในรูปแบบของการกระเด็น และเป็นละอองปะปนในอากาศ ความแนบสนิท พอดีกับใบหน้าของอุปกรณ์ปกป้องใบหน้าและดวงตาจึงเป็นเรื่องสำคัญมาก

  42. สิ่งควรพิจารณา 2. ผู้สวมแว่นสายตา ควรเลือกแว่นนิรภัยที่เป็นเลนส์ปรับสายตา หรือเลือกใช้แว่นหรือครอบตานิรภัยที่สามารถ สวมครอบลงบนแว่นสายตาได้โดยไม่มีผลต่อตำแหน่งการสวมใส่ของแว่นสายตาและการมองเห็น

  43. สิ่งควรพิจารณา 3. การใช้เลนส์สัมผัส (Contact lenses) อาจไม่ได้รับอนุญาตหากงานนั้นมีความเสี่ยงต่อการบาดเจ็บของดวงตาแต่หากไม่สามารถเลี่ยงได้ ควรใช้ครอบตาหรือแว่นตานิรภัยที่เหมาะสมร่วมด้วยตลอดเวลาที่ทำงาน 4. การทำงานกับแสงเลเซอร์ ควรใช้อุปกรณ์ปกป้องใบหน้าและดวงตาสำหรับป้องกันแสงเลเซอร์เฉพาะ

  44. 3. อุปกรณ์ปกป้องระบบทางเดินหายใจ 1. ชนิดกรองอากาศ หรือหน้ากากกรองอากาศ 2. ชนิดส่งผ่านอากาศ

  45. 3. อุปกรณ์ปกป้องระบบทางเดินหายใจ 1. ชนิดกรองอากาศ หรือหน้ากากกรองอากาศ มีส่วนสำคัญคือตัวกรองทำหน้าที่ดักจับสารอันตรายในอากาศ

  46. 3. อุปกรณ์ปกป้องระบบทางเดินหายใจ ผ้าปิดจมูกแบบบาง ประโยชน์ใช้สำหรับป้องกันฝุ่นละออง เช่น ฝุ่น ฝอยจากการไอ จาม

  47. 3. อุปกรณ์ปกป้องระบบทางเดินหายใจ หน้ากากอนามัยใช้ครั้งเดียว (Single-Use Hygienic Face Masks) Surgical Mask

  48. 3. อุปกรณ์ปกป้องระบบทางเดินหายใจ หน้ากากอนามัยใช้ครั้งเดียว (Single-Use Hygienic Face Masks) N95

  49. 3. อุปกรณ์ปกป้องระบบทางเดินหายใจ ชนิดเปลี่ยนไส้กรองได้

  50. 3. อุปกรณ์ปกป้องระบบทางเดินหายใจ ชนิด Respiratory Protective Mask

More Related