1 / 61

แนวทางการจัดทำแผนปฏิบัติการเพื่อการจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อมในระดับจังหวัด ปีงบประมาณ พ.ศ. 25 58

แนวทางการจัดทำแผนปฏิบัติการเพื่อการจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อมในระดับจังหวัด ปีงบประมาณ พ.ศ. 25 58. โดย สำนักงานนโยบายและแผน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. หลักการ. 1.1 แผนระดับจังหวัด ที่นำแผนระดับชาติ ไปสู่การปฏิบัติในระดับท้องถิ่น 1.2 แผนที่มุ่งเน้น

spencer
Download Presentation

แนวทางการจัดทำแผนปฏิบัติการเพื่อการจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อมในระดับจังหวัด ปีงบประมาณ พ.ศ. 25 58

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. แนวทางการจัดทำแผนปฏิบัติการเพื่อการจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อมในระดับจังหวัด ปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 โดย สำนักงานนโยบายและแผน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

  2. หลักการ • 1.1 แผนระดับจังหวัด ที่นำแผนระดับชาติ ไปสู่การปฏิบัติในระดับท้องถิ่น • 1.2 แผนที่มุ่งเน้น • การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในภาพรวมของจังหวัด • สอดคล้องกับปัญหาที่เกิด และสามารถแก้ไขปัญหาได้จริง • ตรงตามความต้องการของประชาชน • 1.3 ส่งเสริม อปท. ให้สามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ • 1.4 สนับสนุนงบประมาณ แก่ อปท. ในการดำเนินการตามแผน

  3. พ.ร.บ. กำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นพ.ศ. 2542 พ.ร.บ.ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 • สผ. • ถ่ายโอนภารกิจและงบประมาณแผนปฏิบัติการฯ ในระดับจังหวัด ให้แก่ อปท. ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2545 เป็นต้นไป สผ. มีหน้าที่รวบรวมและวิเคราะห์แผนปฏิบัติการฯ ในระดับจังหวัด เพื่อเสนอขอตั้งเป็นงบประมาณรายจ่ายประจำปีของ สผ. ให้ อปท. มีอำนาจและหน้าที่ในการจัดระบบบริการสาธารณะ เพื่อประโยชน์ของประชาชนในท้องถิ่นของตนเอง 2. สผ. ทำหน้าที่พิจารณาวิเคราะห์ จัดลำดับความสำคัญตามภาพรวมของประเทศและความพร้อมของ อปท. โดยให้หน่วยงานส่วนกลาง ถ่ายโอนภารกิจและงบประมาณ ให้แก่ อปท. และเป็นผู้สนับสนุนด้านการบริหารจัดการและเทคนิควิชาการ • 3. นำเสนอ กก.วล. พิจารณาให้ความเห็นชอบก่อนนำเสนอ กกถ. พิจารณาจัดสรรเงินอุดหนุนให้แก่ อปท. ต่อไป ความสัมพันธ์และเชื่อมโยงกฎหมายและ แผนด้านการจัดการสิ่งแวดล้อม 3

  4. พ.ร.บ.ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 มาตรา 37 - 41 มาตรา 35 - 36 มาตรา 59 – 60 มาตรา 44 (4) แผนจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อม(พ.ศ. 2550 – 2554) แผนปฏิบัติการ เพื่อจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อมในระดับจังหวัด แผนปฏิบัติการเพื่อลดและขจัดมลพิษในเขตควบคุมมลพิษ แผนฟื้นฟูทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในเขตพื้นที่คุ้มครองสิ่งแวดล้อม 4

  5. ม.35-36 แผนจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2555 – 2559

  6. พ.ร.บ. ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2535 มาตรา 37 - 41 • สผ. ประสานและวิเคราะห์แผนฯ • กก.วล. เห็นชอบแผนฯ • ขอรับการสนับสนุนงบประมาณของ • คณะกรรมการกระจายอำนาจฯ • กองทุนสิ่งแวดล้อม ผวจ. ในท้องที่เขตพื้นที่คุ้มครองสิ่งแวดล้อม จัดทำแผนปฏิบัติการเพื่อการจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อมในระดับจังหวัด ผวจ. ในท้องที่เขตควบคุมมลพิษ จังหวัดอื่นๆ ที่จะดำเนินการส่งเสริมรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม 6

  7. 2 พื้นที่ที่ให้ความสำคัญเร่งด่วน

  8. เขตพื้นที่ควบคุมมลพิษเขตพื้นที่ควบคุมมลพิษ ม.59

  9. เขตพื้นที่คุ้มครองสิ่งแวดล้อมเขตพื้นที่คุ้มครองสิ่งแวดล้อม ม.43-45

  10. พื้นที่มรดกโลกของไทย (World Heritage) ตามอนุสัญญาคุ้มครองมรดกโลก

  11. มรดกของชาติไทย (Thai National Heritage) เป็นพื้นที่ที่มีความสำคัญทางขนบธรรมเนียม ประเพณี วัฒนธรรม ประวัติศาสตร์ แหล่งธรรมชาติ และการนันทนาการ ที่มีลักษณะเฉพาะ มีความโดดเด่น มีเอกลักษณ์และมีคุณค่าแก่การอนุรักษ์

  12. 3 หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง

  13. จังหวัด และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) สำนักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัด (ทสจ.) สำนักงานสิ่งแวดล้อมภาค (สสภ.) 16 แห่ง คณะกรรมการการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น(กกถ.) กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น (สถ.) สำนักงบประมาณ (สงป.) กรมควบคุมมลพิษ (คพ.) สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (สผ.) 13

  14. กลไกแห่งความสำเร็จในการจัดทำแผนปฏิบัติการฯ ในระดับจังหวัด ทสจ. สผ. สสภ. อปท.

  15. สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมสำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กลุ่มวิเคราะห์และประสานแผนปฏิบัติการ สำนักงานคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ บทบาทของจังหวัด คณะกรรมการจัดทำและติดตามประเมินผลแผนปฏิบัติการเพื่อการจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อมในระดับจังหวัด............. • ผู้ว่าราชการจังหวัด/ผู้แทน เป็นประธาน • สสภ. / อปท./ หน่วยงานราชการ / เอกชน / NGOs / นักวิชาการ / ประชาชน ร่วมเป็นกรรมการ • ทสจ. เป็นฝ่ายเลขานุการ

  16. สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมสำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กลุ่มวิเคราะห์และประสานแผนปฏิบัติการ สำนักงานคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ บทบาทขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) ดำเนินการและจัดทำ โครงการ / กิจกรรม ซึ่งเป็นภารกิจตาม มาตรา 16, 17 แห่ง พ.ร.บ. กำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ภารกิจถ่ายโอนตาม แผนการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ฉบับที่ 1 และ ฉบับที่ 2 1. การสร้างจิตสำนึก /การส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน 2. การเฝ้าระวังและป้องกัน 3. การฟื้นฟูและบำบัด 4. การศึกษาวิจัยเพื่อการจัดการ

  17. สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมสำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กลุ่มวิเคราะห์และประสานแผนปฏิบัติการ สำนักงานคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ บทบาทของสำนักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัด (ทสจ.) • ยกร่างแผนฯ ในฐานะฝ่ายเลขานุการ ของคณะกรรมการจัดทำและติดตามประเมินผลแผนปฏิบัติการฯ • ประสาน และ ทำความเข้าใจแก่ จังหวัด และ อปท. ให้ทราบกระบวนการจัดทำแผนฯ โครงการ/กิจกรรม ได้เป็นอย่างดี • รวบรวม วิเคราะห์ กลั่นกรองแผนงานและโครงการ ของแต่ละ อปท. โดยทำเป็นแผนของจังหวัด • ให้ความเห็นประกอบการพิจารณาของคณะกรรมการจัดทำและติดตามประเมินผลแผนปฏิบัติการฯ 17

  18. สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมสำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กลุ่มวิเคราะห์และประสานแผนปฏิบัติการ สำนักงานคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ บทบาทของสำนักงานสิ่งแวดล้อมภาค (สสภ.) • ให้การสนับสนุนทางวิชาการ ในการจัดทำแผนฯ • ร่วมเป็นกรรมการ ในคณะกรรมการการจัดทำและติดตามประเมินผลแผนปฏิบัติการฯ ของแต่ละจังหวัด • ร่วมเป็นคณะทำงาน ในคณะทำงานเทคนิควิชาการ โดย • พิจารณา วิเคราะห์ แผนปฏิบัติการฯ และข้อเสนอโครงการของ อปท. • ตรวจสอบพื้นที่โครงการร่วมกับคณะทำงานฯ • นำเสนอและชี้แจง แผนงาน โครงการฯ ภายใต้แผนปฏิบัติการฯ ของแต่ละจังหวัด 18

  19. 4 ขั้นตอนการจัดทำ แผนปฏิบัติการเพื่อการจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อมในระดับจังหวัด

  20. 1 2 3 บูรณาการกฎหมาย และแผน/โครงการด้านส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม ยึดหลักการบริหารจัดการเชิงพื้นที่ (Area approach) เน้นกระบวนการมีส่วนร่วมในการจัดทำแผนปฏิบัติการฯ ในระดับจังหวัด ร่วมกันจัดทำแผนงาน / โครงการ เพื่อให้บรรลุเป้าหมายที่ตั้งไว้ ร่วมกันกำหนดเป้าหมายในภาพรวมทั้งจังหวัด ระดับ อปท. แนวทางและขั้นตอนการจัดทำแผนปฏิบัติการเพื่อการจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อมในระดับจังหวัด หลักการ โดย 20

  21. กรอบการจัดทำแผนปฏิบัติการฯ ในระดับจังหวัด การเสนอแผนฯ ท้องถิ่น การบริหารโครงการ ม.๗๓ อปท. ในกลุ่มพื้นที่เป้าหมาย เสนอโครงการ กิจกรรม ที่สามารถตอบสนองหรือแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นในพื้นที่อย่างแท้จริง เอกชนรับจ้างให้บริการ อปท.ที่มีศักยภาพดำเนินการเอง อปท. ที่มีศักยภาพ การเสนอแผนฯ จังหวัด การพิจารณางบประมาณ ม.๔๓-๔๕ คณะกรรมการการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จังหวัดในเขตพื้นที่คุ้มครองสิ่งแวดล้อม ๑)ศึกษาสภาพปัญหาและความจำเป็นของแต่ละจังหวัด ๒) สอดคล้องกับการแก้ไขปัญหาด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมของจังหวัด แหล่งเงิน ๑)ธนาคาร ๒)กองทุนสิ่งแวดล้อม ๓)ลงทุนเอง ๓) คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ม.๕๙ จังหวัดใน เขตควบคุมมลพิษ ๒) คณะอนุกรรมการกำกับฯ จังหวัดใน เขตมรดกโลก/มรดกชาติไทย ๑) คณะทำงานด้านเทคนิควิชาการ ภาคเอกชน สผ. จังหวัดอื่นๆ ที่จะดำเนินการส่งเสริมรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม ม.๓๙ ม.๓๗-๓๘

  22. สผ. แหล่งงบประมาณ 1) งบประมาณแผ่นดิน (เงินอุดหนุนเฉพาะกิจ 2) กองทุนสิ่งแวดล้อม 3) งบพัฒนาของจังหวัด / กลุ่มจังหวัด ม.23(1) ม.23(4) โครงการขยะ/น้ำเสีย โครงการอื่นๆ โครงการขยะ/น้ำเสีย โครงการอื่นๆ (<5ล) 4)งบประมาณ อปท. คณะ กรรมการกองทุน คณะทำงานด้านเทคนิควิชาการ 5) ภาคเอกชน คณะอนุกรรมการกำกับฯ 1)ธนาคาร 2)กองทุนสิ่งแวดล้อม 3)การร่วมทุน คณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ คณะกรรม การสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ คณะกรรมการการกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น กลุ่มวิเคราะห์และประสานแผนปฏิบัติการ สำนักงานคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ

  23. 6 5 4 วิเคราะห์ภาพรวมของประเทศ วิเคราะห์และจัดลำดับเบื้องต้น สผ. กก.วล. สผ. ให้ความเห็นชอบ ให้ความเห็นชอบ คณะทำงาน(คพ. สสภ.ทสจ.สงป.สถ. สผ.) อนุกรรมการกำกับ ขอรับการสนับสนุนงบประมาณ การจัดทำแผนปฏิบัติการฯ จัดทำแผนและติดตามประเมินผล การดำเนินงานตามแผน 1 พิจารณาอนุมัติ 2 3 ผวจ. เสนอแผนปฏิบัติการฯในระดับจังหวัด สผ. แจ้งทำแผน จังหวัด ทสจ. คณะกรรมการฯ ในระดับจังหวัด กกถ. สผ. จังหวัด อปท. ดำเนินโครงการ อปท. เสนอโครงการ 7 8 9 พิจารณางบ อุดหนุนเฉพาะกิจ ตั้งงบประมาณ 23

  24. สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมสำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ปฏิทินการจัดทำและพิจารณาแผนปฏิบัติการฯ ในระดับจังหวัด ประจำปี พ.ศ. 2558

  25. บัญชีรายการเอกสารประกอบการพิจารณา สำหรับโครงการด้านขยะมูลฝอยและน้ำเสียชุมชน

  26. กรอบของโครงการภายใต้แผนปฏิบัติการฯ ในระดับจังหวัด ครอบคลุมการจัดการสิ่งแวดล้อมในเรื่องที่สำคัญ ดังนี้ 1) แผนการควบคุมมลพิษจากแหล่งกำเนิด(น้ำเสียขยะมูลฝอยขยะพิษจากชุมชน) 2)แผนการจัดหาและให้ได้มาซึ่งที่ดิน วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือ สำหรับการบำรุง -รักษาและดำเนินการระบบฯ กลุ่มวิเคราะห์และประสานแผนปฏิบัติการ สำนักงานคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ

  27. 3) แผนการจัดเก็บภาษีอากรและค่าบริการเพื่อการดำเนินการ และบำรุงรักษาระบบบำบัดน้ำเสียรวมหรือระบบการกำจัดของเสียรวม 4) แผนการตรวจสอบ ติดตาม และควบคุมการปล่อยทิ้งน้ำเสียและของเสียอย่างอื่นจากแหล่งกำเนิดมลพิษ กลุ่มวิเคราะห์และประสานแผนปฏิบัติการ สำนักงานคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ

  28. 5)แผนการบังคับใช้กฎหมายเกี่ยวกับการควบคุมมลพิษการอนุรักษ์ธรรมชาติ ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมศิลปกรรม 6) การอนุรักษ์ระบบนิเวศน์ ความหลากหลายทางชีวภาพ และการจัดการพื้นที่ชุ่มน้ำ กลุ่มวิเคราะห์และประสานแผนปฏิบัติการ สำนักงานคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ

  29. 7) การจัดการสิ่งแวดล้อมเมืองและชุมชน การจัดการพื้นที่สีเขียว 8) การจัดการภูมิทัศน์ การจัดการด้านมลทัศน์เช่น การจัดระเบียบป้าย กลุ่มวิเคราะห์และประสานแผนปฏิบัติการ สำนักงานคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ

  30. 9) การปรับตัวต่อการเปลี่ยน-แปลงสภาพภูมิอากาศ 10) การลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกและการดูดซับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ กลุ่มวิเคราะห์และประสานแผนปฏิบัติการ สำนักงานคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ

  31. การดำเนินงานของ อปท. ในการจัดเตรียมรายละเอียดข้อมูล เพื่อใช้ในการจัดทำแผนงาน/โครงการด้านการจัดการน้ำเสียและขยะมูลฝอย

  32. รายละเอียดข้อเสนอโครงการรายละเอียดข้อเสนอโครงการ จังหวัด ................. แผนงาน ................. ชื่อโครงการ ................. หน่วยดำเนินการ ................ 1. หลักการและเหตุผล 2. วัตถุประสงค์ 3. เป้าหมาย น.68 32

  33. ข้อเสนอโครงการ (ต่อ) 4. กิจกรรม 5. รายละเอียด 6. ระยะเวลาดำเนินการโครงการ 7. พื้นที่ดำเนินการโครงการ 33

  34. ข้อเสนอโครงการ (ต่อ) 8. วงเงินงบประมาณ (บาท) หมายเหตุ กรณีขอใช้เงินกองทุนสิ่งแวดล้อม จะต้องนำเสนออัตราค่าบริการ ตาม ม. 88 และ อัตราการหักส่งค่าบริการคืนกองทุนสิ่งแวดล้อม ตาม ม. 93 แห่ง พ.ร.บ. สวล. 2535 34

  35. 8. วงเงินงบประมาณ รายละเอียดค่าใช้จ่าย 35

  36. 9. การบริหารโครงการ 10. การติดตามและประเมินผล 11. ตัวชี้วัด 12. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ ข้อเสนอโครงการ (ต่อ) 36

  37. ตารางรายละเอียดประกอบการพิจารณาตารางรายละเอียดประกอบการพิจารณา 37

  38. แผนแม่บทการบริหารจัดการน้ำเสียชุมชนจังหวัด.......................................แผนแม่บทการบริหารจัดการน้ำเสียชุมชนจังหวัด....................................... 1. สถานการณ์น้ำเสียชุมชนจังหวัด... • สภาพพื้นที่ทั่วไป • เขตการปกครองและความหนาแน่นประชากร • สภาพเศรษฐกิจของจังหวัด • สภาพสังคมของจังหวัด • การใช้ประโยชน์ที่ดินพื้นที่จังหวัด • การจัดการพื้นที่ตามผังเมืองรวม • พื้นที่เสี่ยงภัยธรรมชาติ • สถานการณ์คุณภาพน้ำ • การจัดการคุณภาพน้ำ และการบริหารจัดการระบบบำบัดน้ำเสีย

  39. 2. วิสัยทัศน์ 3. วัตถุประสงค์ 4. เป้าหมายหลัก 5. พื้นที่เป้าหมายและระยะเวลาดำเนินการ 6. ตัวชี้วัดผลสำเร็จ 7. ปัจจัยที่ส่งผลต่อการจัดการน้ำเสียชุมชน 8. หลักการและกรอบแนวคิดในการจัดทำแผน 9. ความสำคัญของพื้นที่ 10. แผนงาน 11. โครงการและกิจกรรม 12. การแปลงแผนไปสู่การปฏิบัติและการติดตามประเมินผล

  40. แผนแม่บทการบริหารจัดการขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูลจังหวัด.......................................แผนแม่บทการบริหารจัดการขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูลจังหวัด....................................... 1. หลักการและเหตุผล 2. เป้าหมาย 3. ข้อมูลพื้นฐานของจังหวัด... 4. สถานการณ์ขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูลในภาพรวมของจังหวัด....... 4.1 แหล่งกำเนิดและปริมาณขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล 4.2 ปัญหาและอุปสรรคในการจัดการขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล 4.3 การบริหารจัดการขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูลในปัจจุบัน

  41. 5. การบริหารจัดการขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูลของแต่ละอปท. 5.1 ข้อมูลพื้นฐานของแต่ละอปท. 5.2 ปริมาณและองค์ประกอบของขยะมูลฝอยของแต่ละอปท. 5.3 การคัดแยก การรวบรวม และการขนส่ง 5.4 การกำจัดขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูลในปัจจุบัน 5.5 การมีส่วนร่วมของประชาชน 5.6 โครงสร้างของอปท. 5.7 ปัญหาอุปสรรค และข้อจำกัดของ อปท. ในการจัดการขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล 5.8 ทัศนะคติของ อปท. ต่อการบริหารจัดการขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล 6. วิเคราะห์นโยบายและแผนที่เกี่ยวข้องในการบริหารจัดการขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล

  42. 7. การจัดลำดับความสำคัญของปัญหา 7.1 การวิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่อการบริหารจัดการขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล 7.2 การจัดลำดับความสำคัญเร่งด่วนของปัญหา 8. นโยบายการบริหารจัดการขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูลของจังหวัด..... 9. ลำดับความสำคัญของ อปท. ในการบริหารจัดการขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล 9.1การแบ่งกลุ่มพื้นที่ที่มีศักยภาพในการเป็นศูนย์บริหารจัดการขยะมูลฝอย 9.2 ความพร้อมของ อปท. 9.3 ศักยภาพ/ประสิทธิภาพของจังหวัดในการจัดการขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล 9.4 ลำดับความสำคัญของอปท. ในการบริหารจัดการขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล 10. ความยั่งยืนของแผนแม่บท

  43. จัดส่งเป็นเอกสารและข้อมูลอิเลคทรอนิคส์ (บันทึกในแผ่น CD/DVD) จำนวน 5 ชุด โดยจัดส่งมายัง- สผ. จำนวน 4 ชุด - สสภ. จำนวน 1 ชุด หากไม่สามารถดำเนินการจัดเตรียมเอกสารให้ครบถ้วนทุกรายการ โครงการจะยังไม่ถูกบรรจุเข้าสู่กระบวนการพิจารณาแผนปฏิบัติการฯ ในระดับจังหวัด

  44. คณะกรรมการจัดทำและติดตามประเมินผลแผนปฏิบัติการเพื่อการจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อมในระดับจังหวัดคณะกรรมการจัดทำและติดตามประเมินผลแผนปฏิบัติการเพื่อการจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อมในระดับจังหวัด คณะทำงานเทคนิคและวิชาการ คณะอนุกรรมการกำกับการจัดทำแผนปฏิบัติการเพื่อการจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อมในระดับจังหวัด การพิจารณาในรูปของ คณะกรรมการทุกขั้นตอน 44

  45. 4. เกณฑ์การพิจารณาสนับสนุนงบประมาณโครงการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ภายใต้แผนปฏิบัติการเพื่อการจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อมในระดับจังหวัด 1. ด้านการจัดการ น้ำเสียชุมชน 2. ด้านการจัดการ ขยะมูลฝอยชุมชน 3. โครงการด้านอื่นๆ 45

  46. 1) ด้านการจัดการน้ำเสียชุมชน1) ด้านการจัดการน้ำเสียชุมชน

  47. 1.1.1 โครงการปรับปรุง/ฟื้นฟู ภายใต้แผนฟื้นฟูและปรับปรุงระบบรวบรวมและบำบัดน้ำเสียรวมของชุมชนทั่วประเทศ ตามมติคณะรัฐมนตรี 1.1.2 โครงการเพิ่มประสิทธิภาพระบบรวบรวมและบำบัดน้ำเสีย การขยายโครงข่ายท่อรวบรวมน้ำเสียและการก่อสร้างระบบบำบัดน้ำเสียส่วนขยาย การปรับปรุง/ปรับเปลี่ยนเทคโนโลยีในการบำบัดน้ำเสีย 1.1.3 โครงการก่อสร้างระบบรวบรวมและบำบัดน้ำเสียชุมชนใหม่ 1.1 การพิจารณาสนับสนุนโครงการด้านการจัดการน้ำเสียชุมชน 47

  48. 1.3 ให้ความสำคัญกับเทคโนโลยีการบำบัดน้ำเสียอย่างง่าย เน้นหลักการธรรมชาติ มีการเดินระบบและบำรุงรักษาระบบที่ไม่ยุ่งยากซับซ้อน และค่าใช้จ่ายในการดำเนินการต่ำ 1.4 สำหรับโครงการเพิ่มประสิทธิภาพ พิจารณาดังนี้ 1.4.1 ระบบรวบรวมน้ำเสีย จะต้องมีปริมาณน้ำเข้าสู่ระบบรวบรวมน้ำเสียในระยะแรก ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 75 ของประสิทธิภาพระบบที่ได้ก่อสร้างไว้แล้ว 1.4.2 ระบบบำบัดน้ำเสีย จะต้องมีปริมาณน้ำเสียเข้าสู่ระบบบำบัดน้ำเสียในระยะแรก ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 75 ของประสิทธิภาพระบบที่ได้ก่อสร้างไว้แล้ว 48

  49. 1.5 การจัดการน้ำเสียแบบกลุ่มอาคาร (Cluster Wastewater Treatment)อปท. สามารถประสาน คพ. เพื่อขอใช้แบบมาตรฐานและรายการประเมินราคา ใน FS/DD เพื่อให้สอดคล้องกับพื้นที่ได้ 1.6 อปท. ขนาดเล็ก (ปริมาณน้ำเสียเข้าระบบ 50-500 ลบ.ม./วัน) มีความประสงค์จะดำเนินโครงการด้านการจัดการน้ำเสียชุมชน โดยก่อสร้างระบบขนาดเล็ก วงเงินไม่เกิน 20 ล้านบาท อาจขอรับการสนับสนุนจากกองทุนสิ่งแวดล้อม 1.7 มีแผนการติดตามและประเมินผลโครงการ ทั้งในระยะการก่อสร้างและระยะการเดินระบบและบำรุงรักษาระบบ 49

  50. โครงการที่ไม่สนับสนุนงบประมาณภายใต้แผนปฏิบัติการฯ ในระดับจังหวัด • การประชาสัมพันธ์ การรณรงค์สร้างจิตสำนึก และการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดการน้ำเสียชุมชน • การศึกษาความเหมาะสมและออกแบบรายละเอียดระบบการจัดการน้ำเสียชุมชน • การดำเนินการเพื่อให้ได้มาซึ่งที่ดินเพื่อก่อสร้างระบบจัดการน้ำเสียชุมชน • การเดินระบบและบำรุงรักษาระบบรวบรวมและบำบัดน้ำเสียชุมชนรวมทั้งการติดตามตรวจสอบระบบจัดการน้ำเสียชุมชนเป็นระยะๆ 50

More Related