1 / 46

วิทยาศาสตร์การกีฬากับการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ

วิทยาศาสตร์การกีฬากับการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ. วิทยาศาสตร์การกีฬา กระทรวงศึกษาธิการ 2534 วิทยาศาสตร์การกีฬา หมายถึง วิทยาศาสตร์แขนงหนึ่ง ซึ่งใช้ในกระบวนการค้นหาความจริง การกำหนดทฤษฎีเกี่ยวกับการออกกำลังกายและกีฬา รวมทั้งการศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเรียนรู้ และการฝึกซ้อมต่าง ๆ.

sorley
Download Presentation

วิทยาศาสตร์การกีฬากับการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. วิทยาศาสตร์การกีฬากับการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพวิทยาศาสตร์การกีฬากับการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ

  2. วิทยาศาสตร์การกีฬา กระทรวงศึกษาธิการ 2534 วิทยาศาสตร์การกีฬา หมายถึง วิทยาศาสตร์แขนงหนึ่ง ซึ่งใช้ในกระบวนการค้นหาความจริง การกำหนดทฤษฎีเกี่ยวกับการออกกำลังกายและกีฬา รวมทั้งการศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเรียนรู้ และการฝึกซ้อมต่าง ๆ

  3. Lamb 1984 อธิบายถึงปรากฏการณ์ธรรมชาติที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมทางกายและกีฬา การปฏิบัติกิจกรรมของมนุษย์ระหว่างการออกกำลังกายและเล่นกีฬา ครอบคลุมถึงองค์ประกอบทางสรีรวิทยา จิตวิทยา ชีวเคมี ชีวกลศาสตร์ ประสาทวิทยาและปัจจัยสังคม เราไม่อาจคาดหวังทีจะเข้าใจการปฏิบัติของมนุษย์ได้อย่างเต็มที่จนกว่าเราจะเข้าใจถึงปัจจัยและองค์ประกอบเหล่านี้ทั้งหมด

  4. สาขาต่าง ๆของวิทยาศาสตร์การกีฬาได้ดังต่อไปนี้ 1. สรีรวิทยาการออกกำลังกาย(Exercise physiology ) 2. กายวิภาคศาสตร์วิทยาศาสตร์การเคลื่อนไหว(Anatomy) 3.วิทยาศาสตร์การเคลื่อนไหว(Kinesiology) 4.จิตวิทยาการกีฬา(Sports psychology) 5.เวชศาสตร์การกีฬา(Sports medicine)

  5. 6.ชีวกลศาสตร์การกีฬา (Sports biomechanics) 7.โภชนาการการกีฬา (Sports nutrition) 8.การทดสอบสมรรถภาพทางกาย(Physical fitness test) 9.การเสริมสร้างสมรรถภาพทางกายสำหรับนักกีฬา (Sports training) 10. สังคมวิทยาการกีฬา(Sports sociology) 11. วิศวกรรมและเทคโนโลยีการกีฬา (Sports engineering and technology) 12. การออกกำลังกายและการบริหารกาย (Body conditioning and exercise)

  6. สรีรวิทยาการออกกำลังกาย (Physiology of Exercise) ศึกษาถึงการเปลี่ยนแปลงของระบบต่าง ๆ ของร่างกายที่ตอบสนอง (Response) หรือปรับตัว (Adjust) ต่อการออกกำลังกายในสภาวะต่าง ๆ กัน เพื่อนำไปสู่การพัฒนาประสิทธิภาพของการเล่นกีฬา โดยใช้ระบบต่าง ๆ ให้มีประสิทธิภาพมากที่สุด ตามลักษณะความต้องการของแต่ละบุคคล

  7. วิชากายวิภาคศาสตร์และสรีรวิทยาแบ่งออกเป็น 12 ระบบดังนี้ 1. ระบบโครงร่าง 7. ระบบต่อมไร้ท่อ 2. ระบบกล้ามเนื้อ 8. ระบบต่อมน้ำเหลือง 3. ระบบหัวใจและไหลเวียนเลือด 9. ระบบขับถ่ายปัสสาวะ 4. ระบบหายใจ 10. ระบบย่อยอาหาร 5. ระบบประสาท 11. ระบบสืบพันธุ์ 6. ระบบห่อหุ้มร่างกาย 12. ระบบภูมิคุ้มกันร่างกาย

  8. วิทยาศาสตร์การเคลื่อนไหว หรือ kinesiology ☯ เป็นวิทยาศาสตร์แขนงหนึ่งที่ศึกษาเกี่ยวกับกล้ามเนื้อและการเคลื่อนไหวของมนุษย์ ☯ การศึกษาเกี่ยวกับการเคลื่อนไหวเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด

  9. The Drive The Catch

  10. Arm Pull Through Emphasis Body Swing Emphasis

  11. The Recovery The Finish

  12. จิตวิทยาการกีฬา การนำเอาองค์ความรู้ของศาสตร์สาขาจิตวิทยาและ วิทยาศาสตร์มาประยุกต์ใช้กับสถานการณ์การกีฬา เพื่อจะทำความเข้าใจพฤติกรรมในการกีฬาว่าเกิดขึ้น ได้อย่างไรเพราะสาเหตุใดและทำให้มีความสามารถ สูงสุดและสร้างแรงจูงใจในการส่งเสริมให้บุคคลหรือ กลุ่มเล่นกีฬาเพื่อสุขภาพ สมรรถภาพ เพื่อนันทนาการ และเพื่อการบำบัดรักษา

  13. แรงกระตุ้นกับความสามารถทางกีฬาแรงกระตุ้นกับความสามารถทางกีฬา • แรงจูงใจ • ความวิตกกังวล • ความก้าวร้าว • บุคลิกภาพของนักกีฬา • การตั้งจุดมุ่งหมาย

  14. เวชศาสตร์การกีฬา (Sports medicine) - การศึกษาชนิดของอันตรายและสาเหตุของการบาดเจ็บทางการกีฬา - การหาวิธีป้องกันอันตรายอันอาจเกิดจากการเล่นกีฬา - หลักการฝึกสมรรถภาพเพื่อฟื้นฟูสมรรถภาพของร่างกาย

  15. ประโยชน์*ใช้ในการคัดเลือกนักกีฬาประโยชน์*ใช้ในการคัดเลือกนักกีฬา *ทดสอบความสมบูรณ์ทางด้านร่างกาย *การดูแลรักษาสุขภาพและให้คำแนะนำ ในการฝึกซ้อม *ป้องกัน, ปฐมพยาบาล, บำบัด,ฟื้นฟูการบาดเจ็บ ที่เกิดจากกีฬา *การเป็นแพทย์ประจำทีม *การจัดการทางการแพทย์ในการแข่งขัน *การตรวจเพศ และการตรวจควบคุมการใช้สารกระตุ้น

  16. ชีวกลศาสตร์การกีฬา (Sports biomechanic) การวิเคราะห์การเคลื่อนไหวของมนุษย์ การพัฒนาเครื่องมือและอุปกรณ์ทางการกีฬา การนำเอาเทคโนโลยีใหม่ ๆ มาใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์วิจัยทางการกีฬาเป็นการศึกษาถึงความสัมพันธ์ของการเคลื่อนไหวที่เกี่ยวข้องกับเรื่องลักษณะท่าทางการเคลื่อนไหว ตำแหน่ง ระยะทาง มุม ความเร็ว และความเร่งทั้งเชิงเส้นและเชิงมุม กับเรื่องของแรงอันเป็นสาเหตุของการเคลื่อนไหว อาศัยความรู้ทฤษฎีและหลักการทางฟิสิกส์ แคลคูลัส สรีรวิทยาและกายวิภาคศาสตร์ ตลอดจนความรู้ทางด้านเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์มาใช้ในการศึกษาวิเคราะห์มนุษย์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการเคลื่อนไหวในเชิงกีฬาให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ

  17. ประโยชน์1. เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการเคลื่อนไหวของร่างกายเพื่อส่งเสริมให้เกิดประสิทธิภาพของการเล่นกีฬา 2. เพื่อให้ร่างกายใช้แรงงานและพลังงานออกไปเป็นประโยชน์ได้สูงสุด3. เพื่อการบำบัดและป้องกันการปวดของกล้ามเนื้อได้อย่างมีประสิทธิภาพ4. เพื่อเข้าใจกลไกทางการเคลื่อนไหว (Motion)ทางการกีฬาที่ผิดลักษณะ

  18. โภชนาการการกีฬา (Sports nutrition) ความสำคัญของอาหารที่มีต่อสุขภาพของนักกีฬาซึ่งมีความจำเป็น ต้องมีการบริโภคอาหารที่เหมาะสมและเพียงพอ (Adequate diet) สำหรับการออกกำลังกายและการเล่นกีฬาเพื่อให้ร่างกายสามารถใช้พลังงานจากอาหาร เนื้อหาในการศึกษา1. สารอาหาร2. พลังงานในอาหาร3. อาหารกับการออกกำลังกาย4. การรับประทานอาหารของกีฬา5. เครื่องดื่มสำหรับนักกีฬา

  19. ประโยชน์1. เพื่อศึกษาความสำคัญของอาหารสำหรับการออกกำลังกายและการเล่นกีฬา2. เพื่อให้นักกีฬามีความรู้ความเข้าใจในการรับประทานอาหาร3. เพื่อให้นักกีฬาเลือกรับประทานอาหารก่อนการแข่งขัน ระหว่างการแข่งขันและหลังการแข่งขันได้อย่างเหมาะสม4. เพื่อให้มีความรู้ในการรับประทานอาหารเพื่อการควบคุมน้ำหนักของร่างกาย5. เพื่อให้สามารถจัดอาหารสำหรับตนเองได้อย่างเหมาะสม

  20. การทดสอบสมรรถภาพทางกาย (Physical fitness test) 1. คาดคะเนความสามารถและประสิทธิภาพการทำงานของร่างกายในอนาคต2. ชี้ให้เห็นถึงจุดอ่อนหรือภาวะบางประการที่บกพร่อง3. ชี้ให้เห็นถึงความก้าวหน้าจากการฝึกซ้อม4. ทำให้ผู้ฝึกสอนสามารถรู้ได้ถึงผลสำเร็จจากการฝึกซ้อม5. ทำให้สามารถจัดกลุ่มนักกีฬาในการฝึกซ้อมได้อย่างถูกต้อง6. เป็นการสร้างแรงจูงใจของนักกีฬา7. เลือกกิจกรรม การออกกำลังกายให้เหมาะสม

  21. เนื้อหาในการศึกษา การวัดสัดส่วนร่างกาย การทดสอบความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ การทดสอบความทนทานของกล้ามเนื้อ การทดสอบพลังของกล้ามเนื้อการทดสอบความทนทานของระบบหัวใจและไหลเวียนเลือดการทดสอบความเร็วการทดสอบความอ่อนตัว

  22. การทดสอบความคล่องแคล่วว่องไวการทดสอบระบบประสาทสัมพันธ์การทดสอบการทรงตัวการทดสอบการใช้พลังงานการทดสอบสารเคมีในเลือดการทดสอบความคล่องแคล่วว่องไวการทดสอบระบบประสาทสัมพันธ์การทดสอบการทรงตัวการทดสอบการใช้พลังงานการทดสอบสารเคมีในเลือด

  23. การเสริมสร้างสมรรถภาพทางกายสำหรับนักกีฬา (Sports training) ศาสตร์ที่ว่าด้วยการพัฒนาความสามารถทางด้านทักษะและสมรรถภาพทางกายในระดับต่างๆได้แก่ ระดับพื้นฐาน ระดับกลางและระดับสูง โดยใช้ความรู้ทางด้านสมรรถภาพทางกายของแต่ละชนิดกีฬาซึ่งเป็นสมรรถภาพทางกายเฉพาะรวมถึงการจัดโปรแกรมการฝึกซ้อมในระยะต่าง ๆ

  24. 1. สมรรถภาพทางกายทั่วไปและเฉพาะนักกีฬา2. องค์ประกอบของความสามารถทางกีฬา 3. การวางแผนฝึกซ้อมโดยทั่วไปสำหรับนักกีฬา 4. รูปแบบของการฝึกเพื่อเสริมสร้างสมรรถภาพทางกาย 5. หลักของการฝึกในแต่ละวันเพื่อให้การฝึกมีประสิทธิภาพ

  25. ประโยชน์1. เพื่อพัฒนาสมรรถภาพทางกายสำหรับนักกีฬาแต่ละชนิด2. เพื่อให้มีความเข้าใจในหลักการพัฒนานักกีฬาระดับต่าง ๆ 3. เพื่อให้มีความรู้ในการจัดโปรแกรมการฝึกซ้อมในระยะต่าง ๆ4. สามารถวิเคราะห์ข้อบกพร่องของนักกีฬาและโปรแกรมการฝึกซ้อม

  26. สังคมวิทยาการกีฬา (Sports sociology) ความรู้ที่เกี่ยวกับสังคม ความเป็นอยู่ การปฏิบัติตน ของคนในสังคมนำมาการประยุกต์แนวคิดหรือหลักวิทยาศาสตร์สังคม มาใช้อธิบายปรากฏการณ์ทางการกีฬาของสังคมนั้นเอง ประโยชน์1. เพื่อศีกษาความเปลี่ยนแปลงของสังคมที่ต่อการกีฬา2. ใช้เป็นแนวทางในการนำความรู้ทางการกีฬามาแก้ปัญหาสังคม3. เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการกีฬาและสังคมในระดับต่าง ๆ4. เพื่อปรับปรุงรูปแบบการกีฬาให้มีความเหมาะสมสอดคล้องกับสภาพสังคมในปัจจุบัน

  27. วิศวกรรมและเทคโนโลยีการกีฬา (Sports engineering and technology) หมายถึง การศึกษา การวิจัยค้นคว้าความรู้ทางด้านวิศวกรรมและความรู้ทางด้านเทคโนโลยีสมัยใหม่นำมาประยุกต์ใช้กับการกีฬาเพื่อให้กีฬาเกิดการพัฒนามากยิ่งขึ้น โดยแบ่งเป็น 2 ลักษณะ คือ1. วิศวกรรมและเทคโนโลยีทางด้านเครื่องมือออกกำลังกาย อุปกรณ์กีฬาและสนามกีฬา2. วิศวกรรมและเทคโนโลยีทางด้านสรีรวิทยาของนักกีฬา

  28. ประโยชน์ 1. เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับวิศวกรรมและเทคโนโลยีทางการกีฬา2. เพื่อให้มีความเข้าใจในขอบข่ายเนื้อหาของวิศวกรรมและเทคโนโลยีทางการกีฬา3. เพื่อให้สามารถปรับตัวให้เข้ากับการเปลี่ยนแปลงเรื่องของเทคโนโลยีทางการกีฬา4. เพื่อให้ประยุกต์ความรู้ทางด้านวิศวกรรมและเทคโนโลยีทางด้านกีฬา

  29. วิทยาศาสตร์การกีฬา

  30. Tiger Wood

  31. Michael Johnson Atlanta 1996 LaShawn Merritt, Bejing 2008

  32. สรีรวิทยา ชีวกลศาสตร์ Optimization

  33. Sports Science Teamwork

More Related