350 likes | 552 Views
สำนักงานการศึกษาเอกชนจังหวัดสงขลา. ยินดีต้อนรับ ผู้เกี่ยวข้องการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ด้านอิสลามศึกษา ( I-NET ) ปีการศึกษา ๒๕๕๖. การประชุม. ชี้แจง แนวทางการดำเนินการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ด้านอิสลามศึกษา ( I-NET ) ปีการศึกษา ๒๕๕๖ วันที่ ๙ มกราคม ๒๕๕๗
E N D
สำนักงานการศึกษาเอกชนจังหวัดสงขลาสำนักงานการศึกษาเอกชนจังหวัดสงขลา ยินดีต้อนรับ ผู้เกี่ยวข้องการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ด้านอิสลามศึกษา (I-NET) ปีการศึกษา ๒๕๕๖
การประชุม ชี้แจง แนวทางการดำเนินการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ด้านอิสลามศึกษา (I-NET) ปีการศึกษา ๒๕๕๖ วันที่ ๙ มกราคม ๒๕๕๗ ณ สหกรณ์การเกษตรอำเภอจะนะจำกัด
ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติ ด้านอิสลามศึกษา (I-NET)ปีการศึกษา ๒๕๕๕
ผลการสอบ (I-NET)ระดับอิสลามศึกษาตอนต้น ปีการศึกษา 2554 และปีการศึกษา 2555
ผลการสอบ (I-NET)ระดับอิสลามศึกษาตอนกลาง ปีการศึกษา 2554 และปีการศึกษา 2555
ผลการสอบ (I-NET) ระดับอิสลามศึกษาตอนปลาย ปีการศึกษา 2554 และปีการศึกษา 2555
ปัญหาการสอบ • นักเรียนขาดสอบ
ปัญหาการสอบ (ต่อ) • คณะกรรมการคุมสอบไม่ชัดเจนในวิธีการจัดสอบ • หัวหน้าสนามสอบไม่ประชุมคณะกรรมการคุมสอบ
โครงสร้างของคณะทำงานระดับสนามสอบโครงสร้างของคณะทำงานระดับสนามสอบ
บทบาทหน้าที่ของหัวหน้าสนามสอบบทบาทหน้าที่ของหัวหน้าสนามสอบ • ประสานงานกับศูนย์สอบ และปฏิบัติตามนโยบายของศูนย์สอบอย่างเคร่งครัด • จัดประชุมคณะกรรมการระดับสนามสอบก่อนวันสอบ • เตรียมความพร้อมก่อนการจัดสอบ เกี่ยวกับสถานที่สอบและห้องสอบ การประชาสัมพันธ์การสอบ การประกาศรายชื่อและเลขที่นั่งสอบ • รับ ส่ง กล่องแบบทดสอบ กระดาษคำตอบ และเอกสารการจัดสอบจากศูนย์สอบ ตามเวลาที่ศูนย์สอบนัดหมาย และเก็บรักษาให้ปลอดภัย • ดำเนินการจัดสอบภายในสนามสอบให้มีประสิทธิภาพ โปร่งใสมีความยุติธรรม
บทบาทหน้าที่ของหัวหน้าสนามสอบ (ต่อ) • ขออนุมัติศูนย์สอบในกรณีผู้เข้าสอบกรณีพิเศษที่ไม่มีเลขที่นั่งสอบ ( walk in) ผู้เข้าสอบกรณีพิเศษ คือ ผู้ที่ไม่มีรายชื่อในใบเซ็นชื่อผู้เข้าสอบ (สทศ. ๒) ตรวจสอบกระดาษคำตอบ แบบทดสอบว่าเพียงพอหรือไม่ และได้รับอนุมัติจากศูนย์สอบ และให้นักเรียนลงชื่อในผู้เข้าสอบกรณีพิเศษ (สทศ.๓) • หัวหน้าสนามสอบต้องรายงานสถิติจำนวนผู้เข้าสอบ ผ่านทาง www.niets.or.th/ รายงานสถิติผู้เข้าสอบ หลังจากเสร็จสิ้นการสอบในแต่ละรายวิชา
บทบาทหน้าที่ของหัวหน้าสนามสอบ (ต่อ) • รวบรวมกระดาษคำตอบของผู้เข้าสอบให้แต่ละห้องสอบให้ครบถ้วน พร้อมส่งคืนแบบทดสอบทุกฉบับกลับศูนย์สอบ • จ่ายค่าปฏิบัติงานคณะกรรมการระดับสนามสอบ • ส่งเอกสารการจัดสอบกลับศูนย์สอบ ดังนี้ ๑. ใบเซ็นชื่อผู้เข้าสอบ (สทศ.๒ ) ๒. ใบเซ็นชื่อผู้เข้าสอบกรณีพิเศษ (สทศ.๓) ๓. บัญชีส่งกระดาษคำตอบ จากสนามสอบถึงศูนย์สอบ ๔. ใบสำคัญรับเงินคณะกรรมการ ๕. รายงานผลการปฏิบัติงาน ระดับสนามสอบ
บทบาทหน้าที่ของกรรมการกลางบทบาทหน้าที่ของกรรมการกลาง • แจกซองแบบทดสอบ กระดาษคำตอบ พร้อมใบเซ็นชื่อผู้เข้าสอบ (สทศ.๒) ให้คณะกรรมการคุมสอบ (ห้ามแจกซองแบบทดสอบและกระดาษคำตอบวิชาที่ยังไม่สอบให้กรรมการคุมสอบนำไปเก็บไว้) • รับซองกระดาษคำตอบ แบบทดสอบ และสทศ.๒ หลังเสร็จสิ้นการสอบของแต่ละวิชา ตรวจสอบความเรียบร้อยและนับจำนวนให้ถูกต้องทั้งผู้เข้าสอบและขาดสอบและหุ้ม สทศ.๒ ก่อนปิดผนึกและปิดทับด้วยเทปกาวชนิดพิเศษ • บริการผู้เข้าสอบที่ขอแก้ไขข้อมูลโดยให้เขียน สทศ.๖ พร้อมแนบหลักฐาน
บทบาทหน้าที่ของกรรมการคุมสอบบทบาทหน้าที่ของกรรมการคุมสอบ • รับ – ส่งแบบทดสอบ กระดาษคำตอบ และเอกสารเกี่ยวกับการจัดสอบจากหัวหน้าสนามสอบหรือกรรมการกลาง ตามกำหนดเวลา • ดูแลความเรียบร้อยห้องสอบ • ตรวจสอบหลักฐานประจำตัวผู้เข้าสอบ • ให้ตัวแทนผู้เข้าสอบจำนวน ๒ คน ลงชื่อยืนยันความเรียบร้อยของซองแบบทดสอบ
บทบาทหน้าที่ของกรรมการคุมสอบบทบาทหน้าที่ของกรรมการคุมสอบ • แจ้งให้ผู้เข้าสอบนั่งที่โต๊ะให้ตรงตามรายชื่อและเลขที่นั่งสอบ โดยดูจากสติ๊กเกอร์บนโต๊ะและแผนผังที่นั่งสอบหน้าห้อง • ห้ามกรรมการคุมสอบเปิดอ่านแบบทดสอบ นำแบบทดสอบออกจากห้องสอบ • หลังจากเสร็จสิ้นการสอบแต่ละวิชา ต้องนับจำนวน กระดาษคำตอบและแบบทดสอบให้ครบถ้วน • รายงานหัวหน้าสนามสอบ/กรรมการกลาง เกี่ยวกับการคุมสอบ
ข้อปฏิบัติระหว่างการคุมสอบข้อปฏิบัติระหว่างการคุมสอบ • ห้ามกรรมการคุมสอบแก้ไขแบบทดสอบหรืออธิบายใดๆ เพิ่มเติมจากคำชี้แจงบนปกแบบทดสอบ เว้นแต่จะได้รับแจ้งจากหัวหน้าสนามสอบ • ห้ามผู้เข้าสอบและกรรมการคุมสอบ นำแบบทดสอบและกระดาษคำตอบออกไปจากห้องสอบ แบบทดสอบถือเป็นเอกสารลับทางราชการ • ห้ามผู้เข้าสอบและกรรมการคุมสอบจดบันทึกข้อความใดๆ ออกจากห้องสอบเด็ดขาด • งดทำกิจกรรมที่อาจส่งผลให้เกิดการทุจริตหรือรบกวนผู้เข้าสอบ
วิธีปฏิบัติของกรรมการคุมสอบในกรณีต่างๆวิธีปฏิบัติของกรรมการคุมสอบในกรณีต่างๆ • นักเรียนขาดสอบ
วิธีปฏิบัติของกรรมการคุมสอบในกรณีต่างๆ (ต่อ) • กระดาษคำตอบแบบลงข้อมูลไม่ตรงกับผู้เข้าสอบหรือฉีกขาด
กรณีที่ ๑ ปฏิบัติดังนี้
กรณีที่ ๒ ปฏิบัติดังนี้
การเก็บกระดาษคำตอบ (ต่อ)
ลักษณะและรูปแบบข้อสอบลักษณะและรูปแบบข้อสอบ
ลักษณะและรูปแบบข้อสอบลักษณะและรูปแบบข้อสอบ
การรับ - ส่งแบบทดสอบและกระดาษคำตอบ
ระเบียบการเข้าห้องสอบระเบียบการเข้าห้องสอบ • ไม่มีเลขที่นั่งสอบ ไม่มีสิทธิ์สอบ • ไม่มีบัตรแสดงตน ไม่มีสิทธิ์สอบ • ไปผิดสนามสอบ ไม่มีสิทธิ์สอบ • ไปสายเกิน 30 นาที ไม่มีสิทธิ์สอบในวิชานั้น • ห้ามนำเครื่องมืออุปกรณ์สื่อสารเข้าห้องสอบ • ให้นั่งสอบจนหมดเวลา • อนุญาตให้นำนาฬิกาเข้าห้องสอบ (ต้องเป็นนาฬิกาธรรมดา ที่ใช้ดูเวลาเท่านั้น)
ตารางสอบ I-NET ปีการศึกษา ๒๕๕๖
ตัวอย่างหัวกระดาษคำตอบแบบลงข้อมูลตัวอย่างหัวกระดาษคำตอบแบบลงข้อมูล
อุปกรณ์และหลักฐานแสดงตนของผู้เข้าสอบอุปกรณ์และหลักฐานแสดงตนของผู้เข้าสอบ อุปกรณ์ใช้ในการสอบ หลักฐานใช้แสดงตนเพื่อเข้าห้องสอบ
ค่าตอบแทนคณะกรรมการ • หัวหน้าสนามสอบ • ตัวแทนศูนย์สอบ • กรรมการกลาง • กรรมการคุมสอบ • นักการ ภารโรง • โรงเรียน