720 likes | 7.52k Views
เริ่มเรียน. ออกโปรแกรม. Slide 1. คาบที่ 19 การใช้สูตรอนุกรมเรขาคณิต. ผลการเรียนรู้ ที่คาดหวัง. คาบที่ 20 โจทย์ปัญหาอนุกรมเรขาคณิต. จุดประสงค์. คาบที่ 21 อนุกรมเรขาคณิตกับชีวิตประจำวัน. ออกโปรแกรม. คาบที่ 22 ทดสอบย่อยหลังเรียน ชุดที่ 5. Slide 2.
E N D
เริ่มเรียน ออกโปรแกรม Slide 1
คาบที่ 19 การใช้สูตรอนุกรมเรขาคณิต ผลการเรียนรู้ ที่คาดหวัง คาบที่ 20 โจทย์ปัญหาอนุกรมเรขาคณิต จุดประสงค์ คาบที่ 21 อนุกรมเรขาคณิตกับชีวิตประจำวัน ออกโปรแกรม คาบที่ 22 ทดสอบย่อยหลังเรียน ชุดที่ 5 Slide 2
เข้าใจความหมายของผลบวก n พจน์แรกของอนุกรมเลขคณิต และอนุกรมเรขาคณิต หาผลบวก n พจน์แรกของอนุกรม เลขคณิตและอนุกรมเรขาคณิตโดยใช้สูตร และนำไปใช้ได้ กลับหน้าหลัก ออกโปรแกรม Slide 3
บอกความหมายของอนุกรมเรขาคณิตได้บอกความหมายของอนุกรมเรขาคณิตได้ • หาผลบวก n พจน์แรกของอนุกรมเรขาคณิตโดยใช้สูตรได้ • คิดวิเคราะห์และแก้โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับอนุกรมเรขาคณิตได้ • นำความรู้เกี่ยวกับอนุกรมเรขาคณิตไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ กลับหน้าหลัก ออกโปรแกรม Slide 4
คาบที่ 19 การใช้สูตรอนุกรมเรขาคณิต ถัดไป Slide 5
ใบความรู้ที่5.1 เรื่องการใช้สูตรอนุกรมเรขาคณิต ใบกิจกรรมที่5.1 เรื่องการใช้สูตรอนุกรมเรขาคณิต กลับหน้าหลัก ใบงานที่5.1 เรื่องการใช้สูตรอนุกรมเรขาคณิต ออกโปรแกรม แบบฝึกหัดที่5.1 เรื่องการใช้สูตรอนุกรมเรขาคณิต Slide 6
อนุกรมที่ได้จากลำดับเรขาคณิตเรียกว่า อนุกรมเรขาคณิต และอัตราส่วนร่วมของลำดับเรขาคณิต จะเป็นอัตราส่วนร่วมของอนุกรมเรขาคณิตด้วย พิจารณาลำดับ 1, 3, 9, 27,…, 6561 ซึ่งเป็นลำดับเรขาคณิตที่มี 3 เป็นอัตราส่วนร่วม การหาผลบวกของพจน์ทุกพจน์ของลำดับเรขาคณิตข้างต้นทำได้ดังนี้ ให้ S = 1 + 3 + 9 + 27 + … + 6,561 ---------(1) 3S = 3 + 9 + 27 + … + 6,561 + 19,683 ---------(2) (2) – (1) จะได้ 2S = 19,683 – 1 = 19,682 ดังนั้น S = 9,841 ถัดไป กลับหน้าหลัก ออกโปรแกรม Slide 7
ในกรณีทั่วไป เราสามารถหาผลบวกของพจน์ n พจน์แรกของอนุกรมเรขาคณิต a1 + a1r + a1r2 + a1r3 + … + a1rn-1ได้ดังนี้ ให้ Snเป็นผลบวก n พจน์แรกของอนุกรมเรขาคณิตที่มี a1เป็นพจน์แรก และมี r เป็นอัตราส่วนร่วม จะได้ Sn = a1 + a1r + a1r2 + a1r3 + … + a1rn-1 --------------------(3) rSn = a1r + a1r2 + a1r3 + … + a1rn-1 + a1rn --------------------(4) (4) - (3) rSn - Sn = a1rn - a1 Sn(r - 1) = a1rn - a1 Sn = , เมื่อ r 1 = หรือ Sn = เมื่อ r 1 ย้อนกลับ ถัดไป กลับหน้าหลัก ออกโปรแกรม Slide 8
อาจเขียนผลบวกของ n พจน์แรกได้อีกแบบหนึ่งดังนี้ Sn = Sn = แต่ an = a1rn - 1 ดังนั้น Sn = หรือ , r 1 ผลบวก n พจน์แรกของอนุกรมเรขาคณิต Sn = = , r 1 หรือ Sn = = , r 1 ตัวอย่าง ย้อนกลับ กลับหน้าหลัก ออกโปรแกรม Slide 9
ตัวอย่างที่ 1 กลับหน้าหลัก ตัวอย่างที่ 2 ออกโปรแกรม ตัวอย่างที่ 3 ย้อนกลับ Slide 10
ตัวอย่างที่ 1 จงหาผลบวก 8 พจน์แรกของอนุกรมเรขาคณิต 1 + 2 + 4 + 8 + … วิธีทำอนุกรมที่กำหนดให้มี a1 = 1 และ r = 2 จาก = 255 ดังนั้น 8 พจน์แรกของลำดับเรขาคณิตนี้คือ 255 ย้อนกลับ Slide 11
ตัวอย่างที่ 2 จงหาผลบวก 10 พจน์แรกของอนุกรมเรขาคณิต + + + และ r = จาก Sn = Sn = +… วิธีทำอนุกรมที่กำหนดให้มี a1 = = = Sn = ดังนั้น ผลบวก 10 พจน์แรกของลำดับเรขาคณิตนี้คือ ย้อนกลับ Slide 12
ตัวอย่างที่ 3 จงหาผลบวกของพจน์ทุกพจน์ของอนุกรมเรขาคณิต วิธีทำจากอนุกรมเรขาคณิตที่กำหนดให้มี a1 = 1 และ r = เลือกใช้สูตรถูกต้องให้ระวังการคำนวณหาอนุกรมเรขาคณิต โดยใช้เลขยกกำลังลองเติมช่องว่างดูนะครับว่าเข้าใจตัวอย่างรึเปล่า จาก จะได้ จาก จะได้ ย้อนกลับ ดังนั้น ผลบวกของพจน์ทุกพจน์ของอนุกรมเรขาคณิตที่กำหนดให้ คือ …………. Slide 13
จุดประสงค์จำแนกอนุกรมเลขคณิตและเรขาคณิตได้จุดประสงค์จำแนกอนุกรมเลขคณิตและเรขาคณิตได้ อนุกรมที่ได้จากลำดับเลขคณิตเรียกว่าอนุกรม………………และผล…………..ของลำดับเลขคณิตจะเป็นผล………….ของอนุกรม…………….ด้วย อนุกรมที่ได้จากลำดับเรขาคณิตเรียกว่าอนุกรม………………และอัตรา…………..ของลำดับเรขาคณิตจะเป็นอัตรา………….ของอนุกรม…………….ด้วย เฉลย กลับหน้าหลัก ออกโปรแกรม Slide 14
เฉลย จุดประสงค์จำแนกอนุกรมเลขคณิตและเรขาคณิตได้ อนุกรมที่ได้จากลำดับเลขคณิตเรียกว่าอนุกรมเลขคณิตและผลต่างร่วมของลำดับเลขคณิต จะเป็นผลต่างร่วมของอนุกรมเลขคณิตด้วย อนุกรมที่ได้จากลำดับเรขาคณิตเรียกว่าอนุกรมเรขาคณิตและอัตราส่วนร่วม ของลำดับเรขาคณิตจะเป็นอัตราส่วนร่วมของอนุกรมเรขาคณิตด้วย ย้อนกลับ Slide 15
จุดประสงค์การเรียนรู้ หาผลบวก n พจน์แรกของอนุกรมเรขาคณิตโดยใช้สูตรได้ + + +…. วิธีทำ a1 = …… ……., r = ……. ……, n = 8, Sn = …… …….. 1. จงหาผลบวก 8 พจน์แรกของอนุกรม ……………………………………………………..…………………………………………………. 2. จงหาค่าของ n ที่ทำให้ผลบวกของอนุกรม 4 + 8 + 16 + … = 508 ……………………………………………………..…………………………………………………. 3. กำหนดอนุกรมเรขาคณิตที่มี a1 = -2, a4 = 54 จงหา S4 4. จงหาผลบวกของ 4 + 2 + 1 +…. + ……………………………………………………..…………………………………………………. ……………………………………………………..…………………………………………………. เฉลย กลับหน้าหลัก ออกโปรแกรม Slide 16
เฉลย จุดประสงค์การเรียนรู้ หาผลบวก n พจน์แรกของอนุกรมเรขาคณิตโดยใช้สูตรได้ +… + + 1. จงหาผลบวก 8 พจน์แรกของอนุกรม 2. จงหาค่าของ n ที่ทำให้ผลบวกของอนุกรม 4 + 8 + 16 + … = 508 n = 7 3. กำหนดอนุกรมเรขาคณิตที่มี a1 = -2, a4 = 54 จงหา S4 40 4. จงหาผลบวกของ 4 + 2 + 1 +…. + ย้อนกลับ Slide 17
1. จงหาผลบวก 9 พจน์แรกของอนุกรมเรขาคณิต 2 + 6 + 18 + 54 + … 2. จงหาผลบวก 8 พจน์แรกของอนุกรมเรขาคณิต 9 + 12 + 16 + +… ……………………………………………………………….…………………………………………… ……………………………………………………………….…………………………………………… 3. จงหาผลบวก 10 พจน์แรกของอนุกรมเรขาคณิต + + + ……………………………………………………………….…………………………………………… 4. จงหาผลบวก n พจน์แรกของอนุกรมเรขาคณิต เมื่อกำหนดให้ 1) n = 4, a1 = 3, r = 2 2) n = 7, a1 = 5, r = ……………………………………………………………….…………………………………………… • 5. จงหาผลบวกของพจน์ทุกพจน์ของอนุกรมเรขาคณิตที่กำหนดให้ต่อไปนี้ • 9 + 27 + 81 + … + 729 …………………………………………………. • 2 + 8 + 32 + … + 8,192 …………………………………………………. • (-1) + 3 + (-9) + … + (-729) ………………………………………………… เฉลย กลับหน้าหลัก ออกโปรแกรม Slide 18
เฉลย 1. จงหาผลบวก 9 พจน์แรกของอนุกรมเรขาคณิต 2 + 6 + 18 + 54 + … 2. จงหาผลบวก 8 พจน์แรกของอนุกรมเรขาคณิต 9 + 12 + 16 + +… 19,682 3. จงหาผลบวก 10 พจน์แรกของอนุกรมเรขาคณิต + + + 4. จงหาผลบวก n พจน์แรกของอนุกรมเรขาคณิต เมื่อกำหนดให้ 1) n = 4, a1 = 3, r = 2 2) n = 7, a1 = 5, r = = = 45 • 5. จงหาผลบวกของพจน์ทุกพจน์ของอนุกรมเรขาคณิตที่กำหนดให้ต่อไปนี้ • 9 + 27 + 81 + … + 729 = 1,089 • 2 + 8 + 32 + … + 8,192 = 10,922 • (-1) + 3 + (-9) + … + (-729) = - 547 ย้อนกลับ กลับหน้าหลัก Slide 19
คาบที่ 20 โจทย์ปัญหาอนุกรมเรขาคณิต ถัดไป Slide 20
โจทย์ปัญหาอนุกรมเรขาคณิตโจทย์ปัญหาอนุกรมเรขาคณิต ใบความรู้ที่5.2 เรื่องโจทย์ปัญหาอนุกรมเรขาคณิต ใบกิจกรรมที่5.2 เรื่องโจทย์ปัญหาอนุกรมเรขาคณิต กลับหน้าหลัก ใบงานที่5.2 เรื่องโจทย์ปัญหาอนุกรมเรขาคณิต ออกโปรแกรม แบบฝึกหัดที่5.2 เรื่องโจทย์ปัญหาอนุกรมเรขาคณิต Slide 21
ให้ Snเป็นผลบวก n พจน์แรกของอนุกรมเรขาคณิตที่มี a1เป็นพจน์แรก และมี r เป็นอัตราส่วนร่วม จะได้ Sn = , เมื่อ r 1 หรือ Sn = , เมื่อ r 1 ตัวอย่างกฤษฎาตั้งใจว่าจะออมเงินไว้เพื่อซื้อเครื่องกีฬา โดยวันแรกจะออมไว้ 20 บาท วันที่สอง 40 บาท วันที่สาม 80 บาท เช่นนี้เรื่อยไปจนครบ 7 วัน เมื่อครบ 7 วัน เขาจะมีเงินเท่าใด วิธีทำ ทำความเข้าใจปัญหา สิ่งที่โจทย์ถาม เมื่อครบ 7 วัน เขาจะมีเงินเท่าใด สิ่งทีโจทย์บอกวันแรกจะออมไว้ 20 บาท วันที่สอง 40 บาท วันที่สาม 80 บาท เช่นนี้เรื่อยไปจนครบ 7 วัน โจทย์ปัญหาอนุกรมเรขาคณิต ถัดไป กลับหน้าหลัก ออกโปรแกรม Slide 22
โจทย์ปัญหาอนุกรมเรขาคณิตโจทย์ปัญหาอนุกรมเรขาคณิต ดำเนินการตามแผน วางแผนการแก้ปัญหา แทนค่า Sn = S7 = = 20(27 - 1) = 2,540 ดังนั้น เมื่อครบ 7 วัน กฤษฎามีเงินทั้งหมด 2,540 บาท หา snจากโจทย์ จะได้ 20 + 40 + 80 + … จำนวน 7 พจน์ มี a1 = 20 , r = 2 , n = 7 หา snจากสูตร Sn = ตรวจสอบคำตอบ 2,540 = 2,540 = 2,540 ย้อนกลับ กลับหน้าหลัก ออกโปรแกรม Slide 23
โจทย์ปัญหาอนุกรมเรขาคณิตโจทย์ปัญหาอนุกรมเรขาคณิต จำนวน 10 ปี และปีหนึ่งมี 12 เดือน เช่าซื้อทั้งหมด เท่ากับ 12 { 10,000 + 9,000 + 8,100 + … } จะได้ a1 = 10,000 , r = ในการเช่าซื้ออาคารสงเคราะห์แห่งหนึ่ง ปีแรกเสียค่าเช่าเดือนละ 10,000 บาท ปีที่สองเสียค่าเช่าลดลง 10% ของปีแรก ปีที่สามเสียค่าเช่าลดลง 10% ของปีที่สอง กำหนดเวลา 10 ปี จะไม่เสียค่าเช่าซื้ออาคารสงเคราะห์หลังนั้นอีก ผู้เช่าซื้ออาคารสงเคราะห์หลังนั้นด้วยเงินเท่าใด กำหนด (0.9)10 0.348678 วิธีทำปีแรก 12 เดือน เสียค่าเช่าเดือนละ …………………. บาท ปีที่ 1 ปีที่ 2 (ลด 10 % ) ปีที่ 3 (ลด 10 % ) จำนวน 10 ปี = 0.9 , n = 10 Sn = , r 1 = ………………………… = ………………………… = …………………………. ผู้เช่าซื้ออาคารสงเคราะห์หลังนี้ จ่ายเงินเท่ากับ 12 ……… จ่าย 10,000 บาท ลด 10,000 ลด 9,000 = ………… บาท = ………… บาท จ่าย = 10,000 - ……. จ่าย 9,000 - ……… = 9,000 บาท = 8,100 บาท = 781,586.40 บาท Slide 24 เฉลย กลับหน้าหลัก ออกโปรแกรม
โจทย์ปัญหาอนุกรมเรขาคณิตโจทย์ปัญหาอนุกรมเรขาคณิต จำนวน 10 ปี และปีหนึ่งมี 12 เดือน เช่าซื้อทั้งหมด เท่ากับ 12 { 10,000 + 9,000 + 8,100 + … } จะได้ a1 = 10,000 , r = ในการเช่าซื้ออาคารสงเคราะห์แห่งหนึ่ง ปีแรกเสียค่าเช่าเดือนละ 10,000 บาท ปีที่สองเสียค่าเช่าลดลง 10% ของปีแรก ปีที่สามเสียค่าเช่าลดลง 10% ของปีที่สอง กำหนดเวลา 10 ปี จะไม่เสียค่าเช่าซื้ออาคารสงเคราะห์หลังนั้นอีก ผู้เช่าซื้ออาคารสงเคราะห์หลังนั้นด้วยเงินเท่าใด กำหนด (0.9)10 0.348678 วิธีทำปีแรก 12 เดือน เสียค่าเช่าเดือนละ 10,000บาท ปีที่ 1 ปีที่ 2 (ลด 10 % ) ปีที่ 3 (ลด 10 % ) จำนวน 10 ปี = 0.9 , n = 10 Sn = , r 1 = = 65,132.2 ผู้เช่าซื้ออาคารสงเคราะห์หลังนี้ จ่ายเงินเท่ากับ 12 65,132.2 จ่าย 10,000 บาท ลด 10,000 ลด 9,000 = 1000บาท = 900 บาท จ่าย = 10,000 – 1,000 จ่าย 9,000 - 900 = 9,000 บาท = 8,100 บาท = 781,586.40 บาท เฉลย Slide 25 ย้อนกลับ
โจทย์ปัญหาอนุกรมเรขาคณิตโจทย์ปัญหาอนุกรมเรขาคณิต ลูกบอลตกจากโต๊ะสูง 64 เซนติเมตรในแนวดิ่ง ทุกครั้งที่ตกกระทบนั้น ลูกบอลจะกระดอนขึ้นไปสูง ของระยะทางที่ตกลงมา ในขณะที่ลูกบอลตกกระทบพื้นครั้งที่ 5 จงหาระยะทางที่ลูกบอลเคลื่อนที่ทั้งหมด Sn = = 64 = ……………… …………….. = ………………………………… แต่ลูกบอลเคลื่อนที่แบบขึ้นและลง เท่ากับ 2(………….) = ………………. เซนติเมตร ยกเว้นครั้งแรกคิดเฉพาะทางลง ดังนั้นลูกบอลจะเคลื่อนที่เป็นระยะทางทั้งหมด เท่ากับ 390.50 – 64 = ……………… เซนติเมตร 1 2 3 4 5 ครั้งที่ 1 ลูกบอลเคลื่อนที่ได้ 64 เซนติเมตร a1 = 64 r = ………… n = ………… จากแผนภาพสามารถนำมาคำนวณได้ดังนี้ 64 + 64(……) + 64(……)2 + ….. จากสูตร Sn = , r 1 Slide 26 เฉลย กลับหน้าหลัก ออกโปรแกรม
โจทย์ปัญหาอนุกรมเรขาคณิตโจทย์ปัญหาอนุกรมเรขาคณิต ลูกบอลตกจากโต๊ะสูง 64 เซนติเมตรในแนวดิ่ง ทุกครั้งที่ตกกระทบนั้น ลูกบอลจะกระดอนขึ้นไปสูง ของระยะทางที่ตกลงมา ในขณะที่ลูกบอลตกกระทบพื้นครั้งที่ 5 จงหาระยะทางที่ลูกบอลเคลื่อนที่ทั้งหมด Sn = = 64 = 195.25 แต่ลูกบอลเคลื่อนที่แบบขึ้นและลง เท่ากับ 2(195.25) = 390.50เซนติเมตร ยกเว้นครั้งแรกคิดเฉพาะทางลง ดังนั้นลูกบอลจะเคลื่อนที่เป็นระยะทางทั้งหมด เท่ากับ 390.50 – 64 = 236.50เซนติเมตร 1 2 3 4 5 ครั้งที่ 1 ลูกบอลเคลื่อนที่ได้ 64 เซนติเมตร a1 = 64 r = n = 5 จากแผนภาพสามารถนำมาคำนวณได้ดังนี้ 64 + 64( ) + 64( )2 + ….. จากสูตร Sn = , r 1 เฉลย Slide 27 ย้อนกลับ
โจทย์ปัญหาอนุกรมเรขาคณิตโจทย์ปัญหาอนุกรมเรขาคณิต 1. พลตั้งใจจะออมเงินโดยวันแรกเขาเก็บไว้ 1 บาท วันที่สอง 2 บาท วันที่สาม 4 บาท วันที่สี่ 8 บาท เช่นนี้เรื่อยไปจนครบ 15 วัน พลจะมีเงินออมทั้งหมดเท่าใด 2. บริษัทแห่งหนึ่งซื้อรถยนต์มาในราคา 1,000,000 บาท ถ้าพนักงานบัญชีตั้งค่าเสื่อมราคาไว้ปีละ 20% ซึ่งหมายถึง ราคารถยนต์คันนี้จะลดลง 20% ทุกปี อยากทราบว่าเมื่อครบห้าปี รถยนต์คันนี้จะมี มูลค่าเท่าใด 3. ผู้จัดการฝ่ายขายของบริษัทแห่งหนึ่งตั้งใจว่า เขาจะเพิ่มยอดขายให้มากขึ้นเป็น 3% ของ ยอดขายเดิมทุกไตรมาส ถ้าขณะที่เขาวางแผนเขาทำยอดขายได้ 300,000 บาท ในหนึ่งไตรมาส เมื่อครบสองปีเขาควรจะทำยอดขายได้ไตรมาสละเท่าใด ………………………………………………….…………………………………………………... ………………………………………………….…………………………………………………... ………………………………………………….…………………………………………………... เฉลย กลับหน้าหลัก ออกโปรแกรม Slide 28
เฉลย โจทย์ปัญหาอนุกรมเรขาคณิต 1. พลตั้งใจจะออมเงินโดยวันแรกเขาเก็บไว้ 1 บาท วันที่สอง 2 บาท วันที่สาม 4 บาท วันที่สี่ 8 บาท เช่นนี้เรื่อยไปจนครบ 15 วัน พลจะมีเงินออมทั้งหมดเท่าใด ให้เงินที่พลเก็บออมตั้งแต่วันแรก เขียนแทนด้วยอนุกรมเรขาคณิต 1 + 2 + 4 + 8 + … จะได้ a1 = 1, r = 2, n = 15 จากสูตร นั่นคือ เมื่อครบ 15 วัน พลจะมีเงินออม 32,767 บาท Slide 29 เฉลย กลับหน้าหลัก ออกโปรแกรม
เฉลย โจทย์ปัญหาอนุกรมเรขาคณิต 2. บริษัทแห่งหนึ่งซื้อรถยนต์มาในราคา 1,000,000 บาท ถ้าพนักงานบัญชีตั้งค่าเสื่อมราคาไว้ปีละ 20% ซึ่งหมายถึง ราคารถยนต์คันนี้จะลดลง 20% ทุกปี อยากทราบว่าเมื่อครบห้าปี รถยนต์คันนี้จะมี มูลค่าเท่าใด ซื้อรถยนต์มาในราคา 1,000,000 บาท ในแต่ละปีราคารถยนต์คันนี้ลดลง 20 % เหลือราคารถยนต์ 80%. รถยนต์ราคา 1,000,000 บาท เมื่อสิ้นปี(ครบ 1 ปี)ราคาเหลือเท่ากับ รถยนต์ราคา บาทเมื่อสิ้นปี(ครบ 2 ปี)ราคาเหลือเท่ากับ รถยนต์ราคา บาทเมื่อสิ้นปี(ครบ 3 ปี)ราคาเหลือเท่ากับ รถยนต์ราคา บาทเมื่อสิ้นปี(ครบ 4 ปี)ราคาเหลือเท่ากับ Slide 30 เฉลย กลับหน้าหลัก ออกโปรแกรม
เฉลย โจทย์ปัญหาอนุกรมเรขาคณิต 2. บริษัทแห่งหนึ่งซื้อรถยนต์มาในราคา 1,000,000 บาท ถ้าพนักงานบัญชีตั้งค่าเสื่อมราคาไว้ปีละ 20% ซึ่งหมายถึง ราคารถยนต์คันนี้จะลดลง 20% ทุกปี อยากทราบว่าเมื่อครบห้าปี รถยนต์คันนี้จะมี มูลค่าเท่าใด รถยนต์ราคา บาทเมื่อสิ้นปี(ครบ 5 ปี)ราคาเหลือเท่ากับ ดังนั้น เมื่อครบ 5 ปี รถยนต์คันนี้เหลือมูลค่า 106 (0.32768) = 327,680 บาท Slide 31 เฉลย กลับหน้าหลัก ออกโปรแกรม
เฉลย โจทย์ปัญหาอนุกรมเรขาคณิต 3. ผู้จัดการฝ่ายขายของบริษัทแห่งหนึ่งตั้งใจว่า เขาจะเพิ่มยอดขายให้มากขึ้นเป็น 3% ของ ยอดขายเดิมทุกไตรมาส ถ้าขณะที่เขาวางแผนเขาทำยอดขายได้ 300,000 บาท ในหนึ่งไตรมาส เมื่อครบสองปีเขาควรจะทำยอดขายได้ไตรมาสละเท่าใด เมื่อวางแผนยอดขายเท่ากับ 300,000 บาท แต่ละไตรมาสต้องการยอดขายเพิ่มขึ้น 3% ยอดขายเป็น หรือ 1.03 ยอดขาย 300,000 บาท ครบไตรมาสแรก ยอดขายจะเท่ากับ 300,000 (1.03)1บาท ยอดขาย 300,000 (1.03)1บาท ครบไตรมาสสอง ยอดขายจะเท่ากับ 300,000 (1.03)2บาท ยอดขาย 300,000 (1.03)2บาท ครบไตรมาสสาม ยอดขายจะเท่ากับ 300,000 (1.03)3บาท ดังนั้น เมื่อครบ 2 ปี (8 ไตรมาส) ยอดขายจะเท่ากับ 300,000 (1.03)8บาท = 300,000 ( 1.26677) บาท = 380,031 บาท ย้อนกลับ กลับหน้าหลัก Slide 32
คาบที่ 21 อนุกรมเรขาคณิตกับชีวิตประจำวัน ถัดไป Slide 33
ใบความรู้ที่5.3 เรื่องอนุกรมเรขาคณิตกับชีวิตประจำวัน กลับหน้าหลัก ใบกิจกรรมที่5.3 เรื่องอนุกรมเรขาคณิตกับชีวิตประจำวัน ออกโปรแกรม ใบงานที่5.3 เรื่องอนุกรมเรขาคณิตกับชีวิตประจำวัน แบบฝึกหัดที่5.3 เรื่องอนุกรมเรขาคณิตกับชีวิตประจำวัน Slide 34
ตัวอย่างรูปสามเหลี่ยมด้านเท่ารูปหนึ่ง มีความยาวด้านละ 24 นิ้ว รูปสามเหลี่ยมด้านเท่ารูปที่สองเกิดจากการต่อจุดกึ่งกลางของด้านของรูปสามเหลี่ยมด้านเท่ารูปแรก และรูปสามเหลี่ยมด้านเท่ารูปที่สามเกิดจากการต่อจุดกึ่งกลางของด้านของรูปสามเหลี่ยมด้านเท่ารูปที่สอง เป็นเช่นนี้จนถึงรูปสามเหลี่ยมด้านเท่ารูปที่ห้า จงหาผลบวกความยาวของเส้นรอบรูปของรูปสามเหลี่ยมด้านเท่าทั้งหมด วิธีทำความเข้าใจปัญหา สิ่งที่โจทย์ถาม หาผลบวกความยาวของเส้นรอบรูปของรูปสามเหลี่ยมด้านเท่าทั้งหมด สิ่งที่โจทย์บอก รูปสามเหลี่ยมด้านเท่ารูปหนึ่ง มีความยาวด้านละ 24 นิ้ว รูปสามเหลี่ยมด้านเท่ารูปที่สองเกิดจากการต่อจุดกึ่งกลางของด้านของรูปสามเหลี่ยมด้านเท่ารูปแรก และรูปสามเหลี่ยมด้านเท่ารูปที่สามเกิดจากการต่อจุดกึ่งกลางของด้านของรูปสามเหลี่ยมด้านเท่ารูปที่สอง เป็นเช่นนี้จนถึงรูปสามเหลี่ยมด้านเท่ารูปที่ห้า ถัดไป กลับหน้าหลัก ออกโปรแกรม Slide 35
ดำเนินการตามแผน วางแผนอย่างไร ความยาวของเส้นรอบรูปของรูปสามเหลี่ยมด้านเท่ารูปแรกเท่ากับ 3 24 นิ้ว โดยทฤษฎีบทส่วนของเส้นตรงที่ลากเชื่อมจุดกึ่งกลางของด้านสองด้านของรูปสามเหลี่ยมใด ๆ จะขนานกับด้านที่สามและยาวเป็นครึ่งหนึ่งของด้านที่สาม(สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. 2549:23) ความยาวของเส้นรอบรูปของรูปสามเหลี่ยมด้านเท่ารูปที่สองเท่ากับ 3 12 นิ้ว ผลบวกของความยาวของเส้นรอบรูปเท่ากับ (3 24) + (3 12) + … = 3(24 + 12 + …) จากอนุกรมเรขาคณิตจะได้ a1 = 24, r = , n = 5 Sn = = = = 48 = 46.5 ดังนั้น ผลบวกของความยาวของ เส้นรอบรูปเท่ากับ 3 46.5 = 139.5 นิ้ว 3(24 + 12 + 6 + 3 + 1.5) = 3(46.5) = 139.5 ตรวจสอบคำตอบ ย้อนกลับ กลับหน้าหลัก ออกโปรแกรม Slide 36
จุดประสงค์การเรียนรู้ นำความรู้เกี่ยวกับอนุกรมเรขาคณิตไปใช้ในชีวิตประจำวัน ในการอ่านหนังสือเล่มหนึ่งของนายนิกร วันแรกอ่านได้ 81 หน้า วันที่สองอ่านได้ ของวันที่สอง เป็นเช่นนี้เรื่อยไป วันสุดท้ายอ่านได้ 16 หน้า หนังสือเล่มนี้มีทั้งหมดกี่หน้า วิธีทำวันแรกอ่านหนังสือได้…………………หน้า วันที่สองอ่านได้ ของวันแรก วันที่สามอ่านได้ …………… = ……………. หน้า วันที่สามอ่านได้ …………… = ……………. หน้า เขียนเป็นอนุกรมได้………… + ………….. + …………… + ………….. ……………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………….. ………………………………………………………………………………………………………………. เฉลย กลับหน้าหลัก ออกโปรแกรม Slide 37
จุดประสงค์การเรียนรู้ นำความรู้เกี่ยวกับอนุกรมเรขาคณิตไปใช้ในชีวิตประจำวัน ในการอ่านหนังสือเล่มหนึ่งของนายนิกร วันแรกอ่านได้ 81 หน้า วันที่สองอ่านได้ ของวันที่สอง เป็นเช่นนี้เรื่อยไป วันสุดท้ายอ่านได้ 16 หน้า หนังสือเล่มนี้มีทั้งหมดกี่หน้า วิธีทำวันแรกอ่านหนังสือได้81หน้า วันที่สองอ่านได้ ของวันแรก วันที่สามอ่านได้ 81 = 54 หน้า วันที่สามอ่านได้ 54 = 36 หน้า เขียนเป็นอนุกรมได้ 81 + + + …+16 Sn = = 211 หน้า Slide 38 ย้อนกลับ
จุดประสงค์การเรียนรู้ นำความรู้เกี่ยวกับอนุกรมเรขาคณิตไปใช้ในชีวิตประจำวัน ถ้าถังน้ำใบหนึ่งจุ 5,832 ลิตร ถ้ามีการนำน้ำจากถังไปใช้ทุกวันตลอดสัปดาห์ โดยที่แต่ละวันจะใช้น้ำไป ของปริมาณน้ำที่มีอยู่ในถัง อยากทราบว่า เมื่อครบ 6 วัน จะมีน้ำเหลืออยู่ในถังกี่ลิตร .......................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... เฉลย กลับหน้าหลัก ออกโปรแกรม Slide 39
เฉลย จุดประสงค์การเรียนรู้ นำความรู้เกี่ยวกับอนุกรมเรขาคณิตไปใช้ในชีวิตประจำวัน ถ้าถังน้ำใบหนึ่งจุ 5,832 ลิตร ถ้ามีการนำน้ำจากถังไปใช้ทุกวันตลอดสัปดาห์ โดยที่แต่ละวันจะใช้น้ำไป ของปริมาณน้ำที่มีอยู่ในถัง อยากทราบว่า เมื่อครบ 6 วัน จะมีน้ำเหลืออยู่ในถังกี่ลิตร ใช้น้ำไป ของน้ำที่มีอยู่จะเหลือน้ำ ของน้ำในถัง วันที่ 1 จะเหลือน้ำ ลิตร วันที่ 2 จะเหลือน้ำ ลิตร วันที่ 6 จะเหลือน้ำ ลิตร Slide 40 ย้อนกลับ
ไร่ดอกทานตะวันแห่งหนึ่ง ปลูกครั้งแรกจำนวน 15 แปลง เวลาผ่านไปหนึ่งเดือนได้ปลูกดอกทานตะวันเพิ่มจำนวนขึ้นเป็น 30 แปลง ผ่านไปสองเดือนได้ปลูกดอกทานตะวันเพิ่มจำนวนขึ้นเป็น 60 แปลง เป็นเช่นนี้เรื่อยไป จนกระทั่งครบ 10 เดือน สวนดอกไม้แห่งนี้มีจำนวนทั้งหมดกี่แปลง ............................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................ เฉลย กลับหน้าหลัก ออกโปรแกรม Slide 41
เฉลย ไร่ดอกทานตะวันแห่งหนึ่ง ปลูกครั้งแรกจำนวน 15 แปลง เวลาผ่านไปหนึ่งเดือนได้ปลูกดอกทานตะวันเพิ่มจำนวนขึ้นเป็น 30 แปลง ผ่านไปสองเดือนได้ปลูกดอกทานตะวันเพิ่มจำนวนขึ้นเป็น 60 แปลง เป็นเช่นนี้เรื่อยไป จนกระทั่งครบ 10 เดือน สวนดอกไม้แห่งนี้มีจำนวนทั้งหมดกี่แปลง จากโจทย์ เขียนเป็นอนุกรมเรขาคณิต 15 + 30 + 60 + … จนครบ 10 เดือน จะได้ a1 = 15, r = 2, n = 10 จากสูตร ดังนั้น สวนดอกไม้แห่งนี้ มี 15,345 แปลง ย้อนกลับ กลับหน้าหลัก Slide 42
คาบที่ 22 ทดสอบย่อยหลังเรียน ชุดที่ 5 ถัดไป Slide 43
คาบที่ 23 ทดสอบหลังเรียน ถัดไป Slide 44
บรรณานุกรม กนกวลี อุษณกรกุล และรณชัย มาเจริญทรัพย์. (2548) . แบบฝึกหัดและประเมินผลการเรียนรู้คณิตศาสตร์พื้นฐาน ม. 5 เล่ม 1. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์เดอะบุคส์. จักรินทร์ วรรณโพธิ์กลาง. ( 2549). เฉลยข้อสอบ Entrance คณิตศาสตร์ 15 พ.ศ. . กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ พ.ศ. พัฒนา. ฉวีวรรณ เศวตมาลย์ และคณะ. (2545). ชุดปฏิรูปการเรียนรู้ หลักสูตรการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ช่วงชั้นที่ 4 (ม.4 – ม.6). กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ประสานมิตร ทรงวิทย์ สุวรรณธาดา. (2546). คณิตศาสตร์พื้นฐาน ช่วงชั้นที่ 4 (ม. 4 – ม.6) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เล่ม 1 ภาคเรียนที่ 1. กรุงเทพฯ : สำนักพิมแม็ค. ทรงวิทย์ สุวรรณธาดา. (2550). 1001 TESTS IN MATHS3. กรุงเทพฯ : สำนักพิมแม็ค ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี,สถาบัน กระทรวงศึกษาธิการ. (2547). หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้พื้นฐาน คณิตศาสตร์ เล่ม 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 5. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว. Slide 45