390 likes | 567 Views
มศว กับการเลื่อนตำแหน่งทางวิชาการ. หลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติในการขอเลื่อนตำแหน่งทางวิชาการ นโยบายของมหาวิทยาลัยในการส่งเสริมให้คณาจารย์ขอเลื่อนตำแหน่งทางวิชาการ ประเด็นคำถามและปัญหาที่เกี่ยวกับการขอตำแหน่งทางวิชาการ. หลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติในการขอเลื่อนตำแหน่ง ทางวิชาการ.
E N D
มศว กับการเลื่อนตำแหน่งทางวิชาการ
หลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติในการขอเลื่อนตำแหน่งทางวิชาการหลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติในการขอเลื่อนตำแหน่งทางวิชาการ • นโยบายของมหาวิทยาลัยในการส่งเสริมให้คณาจารย์ขอเลื่อนตำแหน่งทางวิชาการ • ประเด็นคำถามและปัญหาที่เกี่ยวกับการขอตำแหน่งทางวิชาการ
หลักเกณฑ์และแนวปฏิบัติในการขอเลื่อนตำแหน่ง ทางวิชาการ
หลักเกณฑ์การขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการหลักเกณฑ์การขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ • คุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่ง • ผลการสอน • ผลงานทางวิชาการ
คุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่งคุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่ง
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ (ผศ.) • ปริญญาตรีหรือเทียบเท่า ดำรงตำแหน่งอาจารย์และปฏิบัติหน้าที่มาแล้ว 9 ปี • ปริญญาโทหรือเทียบเท่า ดำรงตำแหน่งอาจารย์และปฏิบัติหน้าที่ มาแล้ว 5 ปี • ปริญญาเอกหรือเทียบเท่า ดำรงตำแหน่งอาจารย์และปฏิบัติหน้าที่มาแล้ว 2 ปี
รองศาสตราจารย์ (รศ.) • ดำรงตำแหน่งผู้ช่วยศาสตราจารย์ และปฏิบัติหน้าที่มาแล้ว 3 ปี ศาสตราจารย์ (ศ.) ดำรงตำแหน่งรองศาสตราจารย์ และปฏิบัติหน้าที่มาแล้ว 2 ปี
วิธีการเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการวิธีการเข้าสู่ตำแหน่งทางวิชาการ • วิธีปกติ: ผู้เสนอขอมีคุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่ง มีความรู้ ความสามารถ และมีผลงานทางวิชาการ ตรงตามเกณฑ์ที่ ก.ม.กำหนดทุกประการ • วิธีพิเศษ: ผู้เสนอขอมีคุณสมบัติเฉพาะสำหรับตำแหน่งต่างไปจากที่ ก.ม.กำหนดไว้ในมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง
ผลการสอน • มีชั่วโมงการสอนประจำวิชาใดวิชาหนึ่งที่กำหนดไว้ในหลักสูตรของมศว และผ่านการประเมินของคณะกรรมการประเมินผลการสอน • มีเอกสารประกอบ การสอน (กรณีขอกำหนดตำแหน่งผศ.) • มีเอกสารคำสอน (กรณีขอกำหนดตำแหน่งรศ.)
ผลงานวิจัย หนังสือ ตำรา ผลงานทาง วิชาการ ในลักษณะอื่น งานแปล บทความทางวิชาการ
วารสารระดับนานาชาติ • วารสารในประเทศที่มี • peer review • นำเสนอในการประชุมทางวิชาการ โดยมี proceedingsของการประชุม • พิมพ์เป็นหนังสือ โดยมีการประเมินคุณภาพจากผู้ทรง คุณวุฒิ ผลงานวิจัย
ผลงานทางวิชาการในลักษณะอื่นผลงานทางวิชาการในลักษณะอื่น • ผลงานอย่างอื่นที่มิใช่เอกสารประกอบการสอน เอกสารคำสอน หนังสือ บทความทางวิชาการ ตำรา หรืองานวิจัย • หมายถึง สิ่งประดิษฐ์ งานสร้างสรรค์ เช่น การสร้างสิ่งมีชีวิตพันธุ์ใหม่ วัคซีน หรือสิ่งก่อสร้าง ผลงานด้านศิลปะ
ผลงานทางวิชาการในลักษณะอื่นผลงานทางวิชาการในลักษณะอื่น • งานแปลตัวงานต้นแบบที่เป็นงานวรรณกรรม หรืองานด้านปรัชญา หรือประวัติศาสตร์ หรือวิทยาการสาขาอื่นบางสาขาที่มีความสำคัญและทรงคุณค่าในสาขานั้นๆ ซึ่งเมื่อนำมาแปลแล้ว จะเป็นการเสริมความก้าวหน้าทางวิชาการประจักษ์ชัด
ผลงานทางวิชาการในลักษณะอื่นผลงานทางวิชาการในลักษณะอื่น • ผลงานที่เสนอ จะต้องประกอบด้วยคำอธิบายที่ชี้ให้เห็นว่า งานดังกล่าวทำให้เกิดความก้าวหน้าทางวิชาการหรือเสริมสร้างองค์ความรู้ หรือให้วิธีการที่จะเป็น ประโยชน์ต่อสาขาวิชานั้น และแสดงถึงความสามารถในการบุกเบิกในสาขาวิชานั้น
หนังสือ • เอกสารทางวิชาการที่เขียนขึ้นเพื่อเผยแพร่ความรู้ไปสู่วงวิชาการ และ/หรือผู้อ่านทั่วไป ทั้งนี้ต้องเป็นเอกสารที่เรียบเรียงขึ้นอย่างมีเอกภาพมีรากฐานทางวิชาการที่มั่นคง และให้ทัศนะของผู้เขียนที่สร้างเสริมปัญญาความคิด และสร้างความแข็งแกร่งทางวิชาการแก่สาขานั้น ๆ และ/หรือสาขาวิชาที่เกี่ยวเนื่อง
ตำรา • เอกสารทางวิชาการที่เรียบเรียงอย่างเป็นระบบ อาจเขียนเพื่อตอบสนองเนื้อหาทั้งหมดของรายวิชา หรือเป็นส่วนหนึ่งของวิชาหรือหลักสูตรก็ได้ โดยมีการวิเคราะห์และสังเคราะห์ความรู้ที่เกี่ยวข้อง และสะท้อนให้เห็นความสามารถในการถ่ายทอดวิชาในระดับอุดมศึกษา
บทความทางวิชาการ • งานเขียนซึ่งมีการกำหนดประเด็นที่ชัดเจนมีการวิเคราะห์ประเด็นดังกล่าวตามหลักวิชาการ และมีการสรุปประเด็น อาจเป็นการนำความรู้จากแหล่งต่าง ๆ มาสังเคราะห์ โดยที่ผู้เขียนสามารถให้ทัศนะทางวิชาการของตนได้อย่างชัดเจน
การตีพิมพ์บทความ • ตีพิมพ์เผยแพร่ในรูปบทความวิจัยในวารสารทางวิชาการที่มีผู้ทรงคุณวุฒิหรือบรรณาธิการตรวจสอบคุณภาพ • ตีพิมพ์ในหนังสือ รวมบทความหรือเอกสารวิชาการในรูปแบบอื่นที่มีผู้ทรงคุณวุฒิหรือบรรณาธิการตรวจสอบคุณภาพ
วารสารระดับนานาชาติ 40 คะแนน • วารสารในประเทศที่มี peer review 20คะแนน • นำเสนอในการประชุมทางวิชาการ โดยมี proceedings ของการประชุม 10-15คะแนน • พิมพ์เป็นหนังสือ โดยมีการประเมิน คุณภาพจากผู้ทรง คุณวุฒิ 30คะแนน • บทความทางวิชาการ (นานาชาติ) 30-40 คะแนน • บทความทางวิชาการ (ในประเทศ) 15 คะแนน
เกณฑ์การพิจารณาผลงานทางวิชาการเกณฑ์การพิจารณาผลงานทางวิชาการ • ผู้ช่วยศาสตราจารย์ (วิธีปกติ) 30 คะแนน • ผู้ช่วยศาสตราจารย์ (วิธีพิเศษ) 40 คะแนน • รองศาสตราจารย์ (วิธีปกติ) 50 คะแนน • รองศาสตราจารย์ (วิธีพิเศษ) 60 คะแนน • ศาสตราจารย์ (วิธีปกติ) 80 คะแนน • ศาสตราจารย์ (วิธีพิเศษ) 120 คะแนน
แนวปฏิบัติในการขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการแนวปฏิบัติในการขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ
สภามหาวิทยาลัย สภาวิชาการ (ให้ความเห็นชอบ) ผู้ทรงคุณวุฒิ (พิจารณาผลงานทางวิชาการ) คณะกรรมการ ประจำคณะ กองการเจ้าหน้าที่
ประธาน อธิการบดี • ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก 6 คน • คุณโสภณ สุภาพงษ์- • ศ. เทียนฉาย กีระนันทน์ • ศ. ณรงค์ สาริสุต • ศ. ม.ร.ว. ชิษณุสรร สวัสดิวัฒน์ • รศ.สุธีระ ประเสริฐสรรพ์ • รศ. ณรงค์ พ่วงพิศ
ผู้ทรงคุณวุฒิภายใน 4 คน • ศ. สมเกียรติ วัฒนศิริชัยกุล • รศ. ณรงค์ศักดิ์ เหล่าศรีสิน • ผศ. สุรวุฒิ ปัดไธสง • ผศ. เฉลิมชัย บณยะลีพรรณ • ประธานคณะกรรมการประจำบัณฑิตวิทยาลัย • กรรมการและเลขานุการ รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการ
แนวนโยบายของมหาวิทยาลัยในการขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการแนวนโยบายของมหาวิทยาลัยในการขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ
ให้การประเมินผลการสอน หมายรวมถึง การประเมินการสอนและเอกสารประกอบการสอน/เอกสารคำสอน • การประเมินผลการสอน ให้คณะดำเนินการเป็นประจำทุกภาคการศึกษา และแจ้งผลให้อาจารย์ทราบตามแบบฟอร์มการประเมิน • ผลการประเมินการสอนสามารถใช้ประกอบการขอตำแหน่งทางวิชาการได้ภายในระยะเวลา 1 ปี • การประเมินผลการสอนให้คณะเป็นผู้รับผิดชอบดำเนินการ
การสนับสนุนการวิจัยของคณาจารย์การสนับสนุนการวิจัยของคณาจารย์ • ให้คณะ/วิทยาลัย/สถาบัน/สำนัก กำหนด สัดส่วนของงานสอน งานวิจัย และงานบริการทางวิชาการ ของหน่วยงานให้ชัดเจน โดยจะต้องพยายามเพิ่มสัดส่วนของงานวิจัยของหน่วยงานให้มากขึ้นทุกปี พยายามวางระบบให้อาจารย์ได้ทำงานวิจัยได้มากขึ้น โดยอาจลดภาระงานสอนลงในบางภาคการศึกษาได้
การสนับสนุนการวิจัยของคณาจารย์การสนับสนุนการวิจัยของคณาจารย์ • จัดสรรเงินงบประมาณเพื่อการวิจัยของคณาจารย์ให้มากขึ้น (เงินงบประมาณจากกองทุนสนับสนุนการวิจัย เงินรายได้ของหน่วยงานซึ่งกำหนดไว้ 3% ที่จะต้องจัดสรรเพื่อการวิจัย) • สร้างระบบการใช้เงินสนับสนุนการวิจัยที่คล่องตัว และเน้นการประเมิน output ของการวิจัย
การสนับสนุนการวิจัยของคณาจารย์การสนับสนุนการวิจัยของคณาจารย์ • สนับสนุนให้มีการจัดตั้ง Excellence Center โดยกลุ่มของคณาจารย์และนักวิจัยที่มีความสนใจในประเด็นวิจัยร่วมกัน เพื่อ Institutionalize การทำงานวิจัยของอาจารย์ ทั้งนี้ให้มีการกำหนดการมี Excellence Center เป็น KPI ของหน่วยงาน รวมทั้งมีการจัดสรรเงินสนับสนุน Center ที่มีผลงานเป็นที่ประจักษ์ด้วย
การเผยแพร่ผลงานวิจัยและผลงานในลักษณะอื่นการเผยแพร่ผลงานวิจัยและผลงานในลักษณะอื่น
วารสารวิชาการ • การพัฒนาระบบการมี peer review ของวารสารทางวิชาการที่มีอยู่แล้วในมหาวิทยาลัย • การออกวารสารทางวิชาการอย่างต่อเนื่อง ตามเวลาที่กำหนด • การนำวารสารทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเข้าสู่ระบบฐานข้อมูลที่เป็นที่ยอมรับ
หนังสือ • ในกรณีที่งานวิจัยฉบับสมบูรณ์มีความยาวมาก อาจจัดพิมพ์โดยสำนักพิมพ์หรือสถาบันทางวิชาการหรือหน่วยงานในระดับนโยบาย ซึ่งมีการประเมินคุณภาพของผลงานวิจัยโดยผู้ทรงคุณวุฒิก่อนจัดพิมพ์ ดังนั้นการจัดให้มี SWU Press หรือสำนักพิมพ์มศว จึงเป็นเรื่องจำเป็น
การประชุมทางวิชาการ • จัดให้มีเวทีการเสนอผลงานทางวิชาการทั้งที่เป็นงานวิจัย และผลงานในลักษณะอื่น โดยให้มี proceedings หรือเอกสารประกอบการประชุมวิชาการ/นิทรรศการ/ การแสดง โดยมีผู้ทรงคุณวุฒิประเมินผลงานที่นำเสนออย่างเป็นระบบ
ตัวอย่างปัญหาของการขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการตัวอย่างปัญหาของการขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ
กระบวนการดำเนินการล่าช้ากระบวนการดำเนินการล่าช้า • ไม่ทราบว่าควรส่งผลงานมากน้อยแค่ไหน • ผลงานไม่เป็นไปตามเกณฑ์ที่สภาวิชาการกำหนด
ขอขอบคุณและขอเชิญตั้งคำถามได้ค่ะขอขอบคุณและขอเชิญตั้งคำถามได้ค่ะ