1 / 56

การสืบค้นฐานข้อมูล

การสืบค้นฐานข้อมูล. Information Retrieval. อ. อนิรุทธ์ สงค์ธนาพิทักษ์ อาจารย์ประจำสาขาวิชาการท่องเที่ยวและการโรงแรม สาขาศิลปศาสตร์ คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์ เชียงราย. แหล่งค้นหาข้อมูลด้านการวิจัย. http://scholar.google.com. แหล่งค้นหาข้อมูลด้านการวิจัย. แหล่งข้อมูลของมหาวิทยาลัย

slone
Download Presentation

การสืบค้นฐานข้อมูล

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การสืบค้นฐานข้อมูล Information Retrieval อ. อนิรุทธ์ สงค์ธนาพิทักษ์ อาจารย์ประจำสาขาวิชาการท่องเที่ยวและการโรงแรม สาขาศิลปศาสตร์ คณะบริหารธุรกิจและศิลปศาสตร์ เชียงราย

  2. แหล่งค้นหาข้อมูลด้านการวิจัยแหล่งค้นหาข้อมูลด้านการวิจัย http://scholar.google.com

  3. แหล่งค้นหาข้อมูลด้านการวิจัยแหล่งค้นหาข้อมูลด้านการวิจัย แหล่งข้อมูลของมหาวิทยาลัย http://www.arit.rmutl.ac.th/

  4. แหล่งค้นหาข้อมูลด้านการวิจัยแหล่งค้นหาข้อมูลด้านการวิจัย http://dlib.rmutl.ac.th/lib.php

  5. แหล่งค้นหาข้อมูลด้านการวิจัยแหล่งค้นหาข้อมูลด้านการวิจัย http://dlib.rmutl.ac.th/lib.php

  6. แหล่งค้นหาข้อมูลด้านการวิจัยแหล่งค้นหาข้อมูลด้านการวิจัย tdc.thailis.or.th/tdc/‎

  7. แนวทางการเขียนบทคัดย่อแนวทางการเขียนบทคัดย่อ Guidelines for writing abstract

  8. รูปแบบการเขียน (วิธีการดำเนินเรื่อง) ศึกษารูปแบบจากบทความที่อ่าน – ดู pattern การดำเนินเรื่อง

  9. รูปแบบการเขียน (วิธีการดำเนินเรื่อง)

  10. รูปแบบการเขียน (วิธีการดำเนินเรื่อง)

  11. รูปแบบการเขียน (วิธีการดำเนินเรื่อง)

  12. รูปแบบการเขียน (วิธีการดำเนินเรื่อง)

  13. รูปแบบการเขียน (วิธีการดำเนินเรื่อง)

  14. รูปแบบการเขียน (วิธีการดำเนินเรื่อง)

  15. รูปแบบการเขียน (วิธีการดำเนินเรื่อง)

  16. รูปแบบการเขียน (วิธีการดำเนินเรื่อง)

  17. รูปแบบการเขียน (วิธีการดำเนินเรื่อง)

  18. รูปแบบการเขียน (วิธีการดำเนินเรื่อง)

  19. รูปแบบการเขียน (วิธีการดำเนินเรื่อง)

  20. รูปแบบการเขียน (วิธีการดำเนินเรื่อง)

  21. รูปแบบการเขียน (วิธีการดำเนินเรื่อง)

  22. รูปแบบการเขียน (วิธีการดำเนินเรื่อง)

  23. รูปแบบการเขียน (วิธีการดำเนินเรื่อง)

  24. รูปแบบการเขียน (วิธีการดำเนินเรื่อง)

  25. รูปแบบการเขียน (วิธีการดำเนินเรื่อง)

  26. การอ้างอิง • ต้องอ้างอิงเจ้าของผลงานตัวจริง (Original authors) • อ้างอิงผลการวิจัยที่ได้จากการศึกษานั้น • อ้างอิงความคิดเห็นของผู้เขียนที่อยู่ในบทความนั้น

  27. รูปแบบการเขียน (วิธีการดำเนินเรื่อง) • ศึกษารูปแบบจากบทความที่อ่าน – ดู pattern การดำเนินเรื่อง • ดูหลายๆ แบบ แล้วนำมาหา pattern ของตนเอง – ดำเนินเรื่องอย่างไรผู้อ่านจึงจะเข้าใจ ต้องใส่ความรู้พื้นฐานมาก/น้อยแค่ไหน

  28. เริ่มต้นและลงมือเขียนเริ่มต้นและลงมือเขียน • อ่านทำความเข้าใจ • เล่าเรื่องในภาษาของตนเอง แต่ยังต้องอ้างอิงอยู่ • เริ่มต้น – เขียนสั้นๆ แล้วค่อยขยายความ • ใช้ประโยคเชื่อม เพื่อทำให้ไหลลื่น • สอดแทรกความคิดเห็นส่วนตว

  29. การให้ข้อมูล • เริ่มจากให้ข้อมูลทั่วไป • ให้ข้อมูลเพิ่มเติมที่เกี่ยวข้อง • ใส่ความคิดเห็นของตนเองลงไป • เพิ่มข้อมูลอื่นที่สนับสนุนความจำเป็นที่ต้องทำการศึกษานี้

  30. การให้ความหมาย • เริ่มจากให้คำจำกัดความ/ความหมายทั่วไป • เพิ่มเติมด้วยความหมายที่ใช้กันอยู่

  31. จรรยาบรรณนักวิจัย Codes of ethical research

  32. จรรยาบรรณนักวิจัย 9 ข้อ อ้างอิงจาก งานวิจัยและบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา http://www.researchnorth.org/newweb/sidebar/research_01.pdf

  33. จรรยาบรรณนักวิจัย 9 ข้อ 1 นักวิจัยต้องซื่อสัตย์และมีคุณธรรมในทางวิชาการและการจัดการ นักวิจัยต้องมีความซื่อสัตย์ต่อตนเอง ไม่นำผลงานของผู้อื่นมาเป็นของตน ไม่ลอกเลียนงานของผู้อื่น ต้องให้เกียรติและอ้างถึงบุคคลหรือแหล่งที่มาของข้อมูลที่นำมาใช้ในงานวิจัย ต้องซื่อตรงต่อการแสวงหาทุนวิจัยและมีความเป็นธรรมเกี่ยวกับผลประโยชน์ที่ได้จากการวิจัย

  34. จรรยาบรรณนักวิจัย 9 ข้อ 2. นักวิจัยต้องตระหนักถึงพันธกรณีในการทำวิจัยตามข้อตกลงที่ทำไว้กับหน่วยงานที่สนับสนุนการวิจัยและต่อหน่วยงานที่ตนสังกัด นักวิจัยต้องปฏิบัติตามพันธกรณีและข้อตกลงการวิจัยที่ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายยอมรับ ร่วมกันอุทิศเวลาทำงานวิจัยให้ได้ผลดีที่สุดและเป็นไปตามกำหนดเวลา มีความรับผิดชอบไม่ละทิ้งงานระหว่างดำเนินการ

  35. จรรยาบรรณนักวิจัย 9 ข้อ 3. นักวิจัยต้องมีพื้นฐานความรู้ในสาขาวิชาการที่ทำวิจัย นักวิจัยต้องมีพื้นฐานความรู้ในสาขาวิชาการที่ทำวิจัยอย่างเพียงพอและมีความรู้ความชำนาญหรือมีประสบการณ์ เกี่ยวเนื่องกับเรื่องที่ทำวิจัย เพื่อนำไปสู่งานวิจัยที่มีคุณภาพ และเพื่อป้องกันปัญหาการวิเคราะห์ การตีความ หรือการสรุปที่ผิดพลาด อันอาจก่อให้เกิดความเสียหายต่องานวิจัย

  36. จรรยาบรรณนักวิจัย 9 ข้อ 4. นักวิจัยต้องมีความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ศึกษาวิจัย ไม่ว่าจะเป็นสิ่งที่มีชีวิตหรือไม่มีชีวิต นักวิจัยต้องดำเนินการด้วยความรอบคอบระมัดระวัง และเที่ยงตรงในการทำวิจัยที่เกี่ยวข้องกับคน สัตว์ พืช ศิลปวัฒนธรรม ทรัพยากร และสิ่งแวดล้อม มีจิตสำนึกและมีปณิธานที่จะอนุรักษ์ ศิลปวัฒนธรรมทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม

  37. จรรยาบรรณนักวิจัย 9 ข้อ 5. นักวิจัยต้องเคารพศักดิ์ศรีและสิทธิของมนุษย์ที่ใช้เป็นตัวอย่างในการวิจัย นักวิจัยต้องไม่คำนึงถึงผลประโยชน์ทางวิชาการจนละเลย และขาดความเคารพในศักดิ์ศรีของเพื่อนมนุษย์ต้องถือเป็นภาระหน้าที่ที่จะอธิบาย จุดมุ่งหมายของการวิจัยแก่บุคคลที่เป็นกลุ่มตัวอย่าง โดยไม่หลอกลวงหรือบีบบังคับ และไม่ละเมิดสิทธิส่วนบุคคล

  38. จรรยาบรรณนักวิจัย 9 ข้อ 6. นักวิจัยต้องมีอิสระทางความคิด โดยปราศจากอคติในทุกขั้นตอนของการทำวิจัย นักวิจัยต้องมีอิสระทางความคิด ต้องตระหนักว่า อคติส่วนตนหรือความลำเอียงทางวิชาการ อาจส่งผลให้มีการบิดเบือนข้อมูลและข้อค้นพบทางวิชาการ อันเป็นเหตุให้เกิดผลเสียหายต่องานวิจัย

  39. จรรยาบรรณนักวิจัย 9 ข้อ 7. นักวิจัยพึงนำผลงานวิจัยไปใช้ประโยชน์ในทางที่ชอบ นักวิจัยพึงเผยแพร่ผลงานวิจัย เพื่อประโยชน์ทางวิชาการและสังคมไม่ขยายผลข้อค้นพบจนเกินความเป็นจริง และไม่ใช้ผลงานวิจัยไปในทางมิชอบ

  40. จรรยาบรรณนักวิจัย 9 ข้อ 8. นักวิจัยพึงเคารพความคิดเห็นทางวิชาการของผู้อื่น นักวิจัยพึงมีใจกว้าง พร้อมที่จะเปิดเผยข้อมูลและขั้นตอนการวิจัย ยอมรับฟังความคิดเห็นและเหตุผลทางวิชาการของผู้อื่น และพร้อมที่จะปรับปรุงแก้ไขงานวิจัยของตนให้ถูกต้อง

  41. จรรยาบรรณนักวิจัย 9 ข้อ 9. นักวิจัยพึงมีความรับผิดชอบต่อสังคมทุกระดับ นักวิจัยพึงมีจิตสำนึกที่จะอุทิศกำลังสติปัญญาในการทำวิจัย เพื่อความก้าวหน้าทาง วิชาการเพื่อความเจริญและประโยชน์สุขของสังคมและมวลมนุษย์ชาติ

  42. การตรวจสอบการคัดลอกผลงานการตรวจสอบการคัดลอกผลงาน Plagiarism Checking

  43. ทำไมถึงคัดลอก? • ไม่รู้ว่าจะเขียนอะไร • ไม่รู้ว่าจะเขียนอย่างไร • ทำไม่ทัน/ใกล้ครบกำหนดส่ง • กลัวผลงานออกมาไม่ดี • กลัวได้คะแนนไม่ดี/กลัวสอบตก • ฯลฯ

  44. Plagiarism • การคัดลอกผลงาน • การโจรกรรมทางวรรณกรรม • การขโมยความคิด

  45. ทำไมถึงคัดลอก? • ขโมยผลงานของคนอื่นมาเป็นของตน • คัดลอกข้อความหรือความคิดของผู้อื่นโดยไม่มีการอ้างอิง • การเปลี่ยนแปลงคำพูดแต่ยังใช้โครงสร้างประโยคเดิมโดยไม่มีการอ้างอิง • นำผลงานของตนเองมาเขียนซ้ำ (Self plagiarism)

  46. การป้องกัน Plagiarism “อ้างอิงแหล่งที่มาของข้อมูลเสมอ” (แม้ว่าจะมีการเปลี่ยนแปลงคำพูดแล้วก็ตาม)

  47. การอ้างอิง (Citation) • ช่วยให้ผู้อ่านค้นหาอ่านข้อมูลเพิ่มเติมได้ • ป้องกันตนเอง กรณีข้อมูลที่นำมาอ้างมีปัญหา

  48. เมื่อไหร่ที่ต้องอ้างอิง?เมื่อไหร่ที่ต้องอ้างอิง? • เมื่อ paraphrase • เมื่อยกมาทั้งประโยคและใส่ในเครื่องหมาย “...” (Quotation) และต้องแสดงเลขหน้าด้วย • เมื่ออ้างถึง idea ของคนอื่น • เมื่องานนั้นมีความสำคัญต่อการพัฒนาความคิดของเรา

  49. ผลจากการคัดลอกผลงาน (Plagiarism) • ถูกยกเลิกผลงาน (เรียนไม่จบ ไม่มีสิทธิรับปริญญา) • ถูกฟ้องร้องเรียกค่าเสียหายทางแพ่ง • ถูกดำเนินคดีทางอาญา • ถูกให้ออกจากงาน • ฯลฯ

More Related