1 / 49

ไฟฟ้า

ไฟฟ้า. ชุดที่ 3. เอกสารอ้างอิง. Mulugetta, et al. (2007), ‘Power sector scenarios for Thailand: An exploratory analysis 2002-2022’, Energy Policy , 35, pp. 3256-3269. ทบทวน ศ. 311 เรื่องผลกระทบภายนอก. องค์ประกอบของอัตราค่าไฟฟ้า. หากพิจารณาจากต้นทุน จำแนกได้เป็น

slade
Download Presentation

ไฟฟ้า

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. ไฟฟ้า ชุดที่ 3

  2. เอกสารอ้างอิง • Mulugetta, et al. (2007),‘Power sector scenarios for Thailand: An exploratory analysis 2002-2022’, Energy Policy, 35, pp. 3256-3269. • ทบทวน ศ.311 เรื่องผลกระทบภายนอก

  3. องค์ประกอบของอัตราค่าไฟฟ้าองค์ประกอบของอัตราค่าไฟฟ้า • หากพิจารณาจากต้นทุน • จำแนกได้เป็น • ค่าใช้จ่ายในการผลิตและซื้อไฟฟ้า • ค่าใช้จ่ายในการส่งไฟฟ้า • ค่าใช้จ่ายในการจำหน่ายและค้าปลีกไฟฟ้า

  4. สัดส่วนของต้นทุนค่าไฟฟ้าสัดส่วนของต้นทุนค่าไฟฟ้า

  5. ข้อสังเกต • ต้นทุนค่าไฟฟ้าส่วนใหญ่ (กว่า 80%) มาจากการผลิตไฟฟ้า ไม่ว่าจะผลิตโดย กฟผ. หรือ ผู้ผลิตไฟฟ้าเอกชนในโครงการ IPPs, SPPs และ VSPPs • ต้นทุนเหล่านี้คำนวณไว้แล้วอยู่ใน “ค่าไฟฟ้าฐาน”

  6. ต้นทุนในการผลิตไฟฟ้า • ขึ้นอยู่กับ • เชื้อเพลิง/พลังงานที่ใช้ในการผลิตไฟฟ้า • เทคโนโลยีในการผลิตไฟฟ้า

  7. ต้นทุนในการผลิตไฟฟ้า • ขึ้นอยู่กับ • อายุของโรงไฟฟ้า (ประมาณ 25 ปี) • Capacity utilization rate

  8. ต้นทุนในการผลิตไฟฟ้า • ตัวอย่างจาก Mulugetta, et al. (2007) (กรณีอนาคต 20 ปีของไทย ตั้งแต่ปี 2002-2022)

  9. ต้นทุนในการผลิตไฟฟ้า • เงินลงทุนในการก่อสร้างโรงไฟฟ้า ($2002/kW) [K] • ค่าใช้จ่ายคงที่ในการดำเนินงานและบำรุงรักษา ($2002/kW) [M] • ค่าใช้จ่ายผันแปรในการดำเนินงานและบำรุงรักษา ($2002/kWh) [P] • ค่าเชื้อเพลิง ($/kWh) [F]

  10. ประมาณการต้นทุนในการผลิตไฟฟ้า

  11. ประมาณการต้นทุนในการผลิตไฟฟ้า

  12. ข้อสังเกต • พลังงานหมุนเวียนมีต้นทุนในการก่อสร้างและในการเริ่มต้นดำเนินงาน (Overnight cost) ที่สูงกว่าพลังงาน fossil แต่มีค่าใช้จ่ายผันแปรและค่าเชื้อเพลิงที่ต่ำกว่ามากหรือเท่ากับศูนย์ตลอดโครงการ • ใช้ข้อมูลต้นทุนเพื่อวางแผนการการก่อสร้างโรงไฟฟ้าชนิดต่าง ๆ เพื่อสนองความต้องการใช้ไฟฟ้าที่เพิ่มขึ้นในอนาคต

  13. Mulugetta et al. (2007) • ใช้วิธีการศึกษาแบบฉายภาพในอนาคต (Scenario analysis) เพื่อวางแผนการผลิตไฟฟ้าในอนาคต โดยจำแนกสถานการณ์ออกเป็นสามสถานการณ์ • Business as usual (BAU) scenario • No new coal (NNC) scenario • Green futures (GF) scenario

  14. Scenario

  15. ใช้ “Long-range energy alternative planning” (LEAP) system ในการประมาณการการใช้เชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟ้า รวมทั้งการปล่อยก๊าซเรือนกระจก • ใช้ปี 2002 เป็นปีฐาน และประมาณการจนถึงปี 2022

  16. สัดส่วนการใช้พลังงานในการผลิตไฟฟ้า(เปรียบเทียบ 2002 และ 2022)

  17. สัดส่วนการใช้พลังงานในการผลิตไฟฟ้า(เปรียบเทียบ 2002 และ 2022)

  18. ปริมาณการผลิตไฟฟ้า: BAU

  19. ปริมาณการผลิตไฟฟ้า: NNC

  20. ปริมาณการผลิตไฟฟ้า: GF

  21. ข้อสังเกต • Forecast ต้นทุนรายปี โดยจำแนกเป็นเงินลงทุนและค่าใช้จ่ายในการดำเนินงาน • ในช่วงแรก Running cost ของทั้งสาม scenario นั้นใกล้เคียงกัน • NNC มีการปลดใช้และไม่สร้างโรงไฟฟ้าถ่านหินใหม่ ทำให้ Running cost แพงกว่ากรณีอื่น (เนื่องจากถ่านหินเป็นเชื้อเพลิงที่มีราคาถูกที่สุด)

  22. ข้อสังเกต • GF มีค่าใช้จ่ายในการดำเนินงานในระยะยาวต่ำกว่า BAU และ NNC • เงินลงทุนในการผลิตไฟฟ้าโดยใช้พลังงานหมุนเวียนสูงกว่า BAU และ NNC (โดยเฉพาะเมื่อมีการเพิ่มการผลิตในช่วง 2015)

  23. ข้อสังเกต • เมื่อนำต้นทุนเหล่านี้มาคิดลดเป็นมูลค่าปัจจุบัน (Net present value) (ณ 2002) โดยใช้ discount rate ที่ 4%, 7% และ 10% พบว่าต้นทุนรวมในการผลิตไฟฟ้าแบบ BAU ต่ำกว่ากรณีอื่น ๆ (แต่แตกต่างกันไม่มาก)

  24. ผลกระทบภายนอกที่เป็นลบผลกระทบภายนอกที่เป็นลบ • การผลิตไฟฟ้าก่อให้เกิดผลกระทบภายนอกที่เป็นลบ (Negative externality) เช่น เกิดมลภาวะทางอากาศ มีการปล่อยก๊าซเรือนกระจก ซึ่งสามารถวัดได้เป็น tCO2(ตันคาร์บอนไดออกไซด์)

  25. ประมาณการปล่อย CO2 (ล้าน tCO2)

  26. ข้อสังเกต • BAU ปล่อยก๊าซเรือนกระจกออกมามากกว่า NNC และ GF • GF มีการปล่อยก๊าซเรือนกระจกน้อยที่สุด • หากพิจารณาผลกระทบภายนอกทางลบแล้ว แสดงว่ามีการผลิตไฟฟ้าโดยใช้เชื้อเพลิงที่ไม่สะอาด (มากจนเกินไป?)

  27. ข้อสมมุติ • ผลผลิต 1 หน่วย สร้างมลพิษ 1 หน่วย • การบำบัดมลพิษทำได้ด้วยการลดผลผลิตเท่านั้น • ราคาและปริมาณดุลยภาพของตลาด เกิดขึ้นที่จุดตัดระหว่างเส้น P = MR กับ MC • มีการปลดปล่อยมลพิษมากเกินไปเพราะไม่ต้องจ่ายชดเชยต้นทุนภายนอกที่สร้างขึ้น โดยสร้างต้นทุน MEC

  28. ผลกระทบภายนอกที่เป็นลบผลกระทบภายนอกที่เป็นลบ บาท/หน่วย S=MC P1 d q1 q หนึ่งโรงไฟฟ้า

  29. ผลกระทบภายนอกที่เป็นลบผลกระทบภายนอกที่เป็นลบ เส้น MSC (marginal social cost) แสดงต้นทุนต่อสังคมโดยรวม (รวมต้นทุนเอกชนและ ต้นทุนภายนอก) บาท/หน่วย MSC S=MC P1 d เส้น MEC (marginal external cost) แสดงผลกระทบภายนอกต่อชาวบ้าน (เช่นต้นทุนในการรักษาสุขภาพของ ชาวบ้าน) MEC q1 q หนึ่งโรงไฟฟ้า

  30. ผลกระทบภายนอกที่เป็นลบผลกระทบภายนอกที่เป็นลบ ในแง่มุมของสังคมรวม การผลิตควรเป็นที่ q* ซึ่ง P = MSC บาท/หน่วย MSC S=MC P1 d ดังนั้น โรงไฟฟ้าผลิตมากเกินไป ตลาดจึงไม่มีประสิทธิภาพ หรือความล้มเหลวของตลาด MEC q* q1 q หนึ่งโรงไฟฟ้า

  31. ผลกระทบภายนอกที่เป็นลบผลกระทบภายนอกที่เป็นลบ MSCI บาท/หน่วย บาท/หน่วย MSC S=MCI S=MC P* P1 d P1 D MECI MEC q* q1 Q* Q1 q Q หนึ่งโรงไฟฟ้า อุตสาหกรรมผลิตไฟฟ้า

  32. ผลกระทบภายนอกที่เป็นลบผลกระทบภายนอกที่เป็นลบ อุตสาหกรรมผลิตไฟฟ้า: • ผลรวมของโรงไฟฟ้าทุกโรง • ผลิตที่ Q1 ด้วยราคา P1 • เส้น MECI และเส้น MSCI ชี้ให้เห็นผลกระทบภายนอก MSCI บาท/หน่วย S=MCI P* P1 D MECI Q* Q1 Q อุตสาหกรรมผลิตไฟฟ้า

  33. ผลกระทบภายนอกที่เป็นลบผลกระทบภายนอกที่เป็นลบ • ในแง่มุมของสังคมรวมการผลิตควรเป็นที่ Q* ซึ่ง P* = MSCI • ดังนั้นการตัดสินใจของเอกชนจะผลิตมากเกินไปและราคาต่ำเกินไป • ---->ความไร้ประสิทธิภาพ ผลประโยชน์ของการผลิตเพิ่มต่ำกว่าต้นทุนส่วนเพิ่มที่ตกแก่สังคม DW loss MSCI บาท/หน่วย S=MCI P* P1 D MECI Q* Q1 Q อุตสาหกรรมผลิตไฟฟ้า

  34. ประมาณการณ์ปล่อย CO2 (ล้าน tCO2)

  35. ข้อสังเกต • BAU scenario มี Net present cost ต่ำสุด แต่มีการปล่อย CO2 ออกมามากที่สุด (เกิด negative externality มากที่สุด) เมื่อเปรียบเทียบกับ scenario อื่น ๆ

  36. Abatement cost • Abatement cost = (NPCNNC - NPCBAU )/ CO2 reduction • ต้นทุนในการบำบัดมลพิษ คือต้นทุนที่เพิ่มขึ้นในการเปลี่ยนมาผลิตไฟฟ้าจาก BAU scenario เป็น NNC scenario (โดยคิดเป็นต่อหน่วยของ CO2ที่สามารถลดได้เมื่อหันมาผลิตไฟฟ้าตาม NNC)

  37. BAU vs NNC

  38. BAU vs GF

  39. ผลกระทบภายนอกที่เป็นลบผลกระทบภายนอกที่เป็นลบ • ต้นทุนในการบำบัดมลพิษทางอากาศ (Abatement cost) (ในกรณีนี้คือการลดปริมาณการปลดปล่อยก๊าซเรือนกระจก)เมื่อเปรียบเทียบกับกรณี BAU พบว่า • NNC => $11.55/ tCO2 • GF => $4.55/ tCO2 • ต้นทุนในการบำบัดมลพิษทางอากาศต่ำกว่าแสดงว่าการเลือกใช้พลังงานในการผลิตไฟฟ้าของ GF ให้ผลดีกว่าต่อการลดปริมาณก๊าซเรือนกระจก(ดีกว่ากรณีอื่น ๆ)

  40. ประมาณการณ์ปล่อย SO2 (พันตัน)

  41. ข้อสังเกต • SO2ลดลงในปี 2010 เป็นอย่างมากใน NNC และ GF เนื่องจากการลดและเลิกใช้ถ่านหินเป็นเชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟ้า

  42. BAU vs NNC

  43. BAU vs GF

  44. ผลกระทบภายนอกที่เป็นลบผลกระทบภายนอกที่เป็นลบ • ต้นทุนในการบำบัดมลพิษทางอากาศ (Abatement cost) (ในกรณีนี้คือการลดปริมาณการปล่อยก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์)เมื่อเปรียบเทียบกับกรณี BAU พบว่า • NNC => $565/ tSO2 • GF => $475/ tSO2 • ต้นทุนในการบำบัดมลพิษทางอากาศต่ำกว่าแสดงว่าการเลือกใช้พลังงานในการผลิตไฟฟ้าของ GF ให้ผลดีกว่าต่อการลดปริมาณการปล่อยซัลเฟอร์ไดออกไซด์(ดีกว่ากรณีอื่น ๆ)

  45. ข้อสังเกต • เมื่อพิจารณาทั้งต้นทุนเอกชนและต้นทุนผลกระทบภายนอก (ทางลบ) แล้ว BAU อาจไม่ใช่ทางเลือกที่ดีที่สุดในการใช้พลังงานในการผลิตไฟฟ้า

More Related