1 / 33

แนวทางการพัฒนาตัวชี้วัด ตามยุทธศาสตร์การควบคุมวัณโรคแห่งชาติ

การประชุมเชิงปฏิบัติการ “ การพัฒนาตัวชี้วัดตามยุทธศาสตร์การควบคุมวัณโรคแห่งชาติ ” ระหว่างวันที่ 8-9 กุมภาพันธ์ 2553 ณ โรงแรมอิมพีเรียล แม่ปิง เชียงใหม่. แนวทางการพัฒนาตัวชี้วัด ตามยุทธศาสตร์การควบคุมวัณโรคแห่งชาติ. ตัวชี้วัด (indicator).

skip
Download Presentation

แนวทางการพัฒนาตัวชี้วัด ตามยุทธศาสตร์การควบคุมวัณโรคแห่งชาติ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การประชุมเชิงปฏิบัติการ“ การพัฒนาตัวชี้วัดตามยุทธศาสตร์การควบคุมวัณโรคแห่งชาติ” ระหว่างวันที่ 8-9 กุมภาพันธ์ 2553 ณ โรงแรมอิมพีเรียล แม่ปิง เชียงใหม่ แนวทางการพัฒนาตัวชี้วัด ตามยุทธศาสตร์การควบคุมวัณโรคแห่งชาติ

  2. ตัวชี้วัด (indicator) สิ่งที่สามารถชี้ ให้เห็นทาง หรือเป้าหมายของการปฏิบัติงานและ สามารถ วัด ความสำเร็จของการเดินทางสู่เป้าหมายอย่างถูกต้อง

  3. ทำไมต้องมีตัวชี้วัด ทำงานต้องมีประสิทธิผล ประสิทธิภาพ (หลักการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี) จะรู้ได้อย่างไรว่ามีประสิทธิผล ประสิทธิภาพ ต้องมีการประเมิน จะประเมินได้ต้องมีตัวชี้วัด

  4. If you can't measure, you can't manage What gets measure, gets improved ประโยชน์ของตัวชี้วัด

  5. ตัวชี้วัด ช่วยบอกว่าเรากำลังอยู่ ณ จุดใด เรากำลังจะไปไหน และเราอยู่ห่างจากที่ที่จะไปเท่าใด ตัวชี้วัดที่ดีจะช่วยเตือนปัญหาก่อนที่จะเกิดและช่วยให้ทราบถึงสิ่งที่ต้องทำเพื่อแก้ไขปัญหา

  6. ตัวชี้วัดหลัก KPI=Key Performance Indicators ตัววัดความสำเร็จของการปฏิบัติงานที่ถูกกำหนดขึ้น โดยหน่วยวัดที่มีผลเป็นตัวเลขที่นับได้จริง และต้องสื่อถึงเป้าหมายในการปฏิบัติงานที่สำคัญ

  7. Are We Doing Things Right? (How?) Are We Doing The Right Things? (What?) Input Output Outcome Process ระดับของตัวชี้วัด Customer Impact Leading indicator Check point Process indicator Efficiency Means วิธีการ Lagging indicator Control point Result indicator Effectiveness End เป้าหมาย ศุภชัย เมืองรักษ์ Center of Excellence Thailand Productivity Institute

  8. ตัวชี้วัดที่เกี่ยวข้องกับปัจจัยนำเข้า (Input) และผลผลิต (Output)เป็นตัวชี้วัดซึ่งสะท้อน ประสิทธิภาพของการดำเนินการ ตัวชี้วัดที่เกี่ยวข้องการกระบวนการทำงาน (Process)เป็นตัวชี้วัด ซึ่งแสดงถึงปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จ ตัวชี้วัดที่เกี่ยวกับผลการดำเนินงาน (Product/Outcome/impact)เป็นตัวชี้วัดที่สะท้อนวัตถุประสงค์ของการดำเนินงานว่าบรรลุหรือไม่

  9. Compendium of Indicators for Monitoring and Evaluating National Tuberculosis Programs WHO/HTM/TB/2004.344

  10. Vision Mission KPIs KPIs Program KPIs Project KPIs Activity including standards Organization Objective KPIs 1 2 3 4 Strategic Goals

  11. ขั้นตอนการพัฒนาตัวชี้วัดขั้นตอนการพัฒนาตัวชี้วัด ระบุหัวข้อประเด็นของตัวชี้วัด กำหนดหน่วยวัด การได้มาของตัวชี้วัด เลือกตัวชี้วัดที่เหมาะสม กำหนดเป้าหมาย จัดทำ template จัดเก็บวิเคราะห์ข้อมูล ประเมินประโยชน์ของตัวชี้วัด

  12. ประเด็นตัวชี้วัด Input, process, output, outcome and impact Quantity, quality, target,time, place andcost

  13. ตัวชี้วัดระดับ output 2Q 1T (time) 1C

  14. ตัวชี้วัดระดับ outcome 2Q 2T 1P

  15. หน่วยวัด จำนวน ร้อยละ อัตรา อัตราส่วน สัดส่วน ค่าเฉลี่ย ระดับความสำเร็จ

  16. ที่มาตัวชี้วัด ตัวชี้วัดนี้บอกอะไร การคำนวน แหล่งข้อมูล เครื่องมือ ระดับจัดเก็บ ความถี่

  17. เป้าหมาย (Target) เป้าหมายที่กำหนดตามข้อตกลง เป้าหมายที่กำหนดตามผลการดำเนินงานในสภาพปัจจุบัน เป้าหมายสูงกว่าระดับปกติ แต่สามารถบรรลุได้ เป้าหมายแบบท้าทาย เป้าหมายแบบคงที่

  18. ลักษณะตัวชี้วัดที่ดี สะท้อนให้เห็นถึงผลการดำเนินงานที่แท้จริง มีความตรงในการวัด (ข้อมูล) มีความสะดวกและเป็นไปได้ที่จะวัด มีความประหยัด

  19. ลักษณะตัวชี้วัดที่ดี เข้าใจง่าย ทันเวลาที่จะต้องแก้ไข

  20. การให้คะแนนแต่ละหัวข้อการให้คะแนนแต่ละหัวข้อ 1 = น้อย 2 = ปานกลาง 3 = มาก

  21. TEMPLATE ตัวชี้วัด

  22. TEMPLATE ตัวชี้วัด

  23. เป้าหมายและวัตถุประสงค์ของการควบคุมวัณโรคเป้าหมายและวัตถุประสงค์ของการควบคุมวัณโรค วิสัยทัศน์ ควบคุมวัณโรคจนกระทั่งไม่เป็นปัญหาทางด้านสาธารณสุขของประเทศไทย จุดมุ่งหมาย เพื่อลดปัญหาวัณโรคภายในปี พ.ศ.2558 โดยให้สอดคล้องตามเป้าหมายการพัฒนาแห่งสหัสวรรษ

  24. เป้าหมาย 1. เพื่อเร่งรัดการค้นหาผู้ป่วยวัณโรคระยะแพร่รายใหม่ให้บรรลุเป้าหมายร้อยละ 70 ของผู้ป่วยที่คาดว่าจะมีอยู่ในชุมชน และผลการรักษาสำเร็จ (Success rate) มากกว่าร้อยละ 85 2. ลดอัตราป่วยและอัตราตายจากวัณโรคโดยมีเป้าหมายร้อยละ 50 ของสถานการณ์เมื่อปี พ.ศ.2533 ภายในปี 2558

  25. Goals, target and indicators for TB control MILLENIUM DEVELOPMENT GOAL 6Combat HIV/AIDS, malaria and other diseasesTarget 6.C: Have halted by 2015 and begun to reverse the incidence of malaria and other major diseasesIndicator 6.8: Incidence, prevalence and death rates associated with tuberculosisIndicator 6.9: Proportion of tuberculosis cases detected and cured under DOTS (the internationally recommended strategy for TB control) STOP TB PARTNERSHIP TARGETSBy 2005: At least 70% of people with sputum smear-positive TB will be diagnosed (i.e. under the DOTS strategy), and at least 85% cured. By 2015: The global burden of TB (per capita prevalence and death rates) will be reduced by 50% relative to 1990 levels.By 2050: The global incidence of active TB will be less than 1 case per million population per year.

  26. ยุทธศาสตร์การควบคุมวัณโรคยุทธศาสตร์การควบคุมวัณโรค ยุทธศาสตร์ที่ 1ส่งเสริมการดำเนินงาน DOTS อย่างมีคุณภาพ ยุทธศาสตร์ที่ 2 การเร่งรัดดำเนินงานผสมผสานวัณโรคและเอดส์ในเรือนจำ วัณโรคในเด็ก และกลุ่มเสี่ยง ยุทธศาสตร์ที่ 3 สร้างเสริมความเข้มแข็งระบบสาธารณสุขเพื่อการควบคุมวัณโรค ยุทธศาสตร์ที่ 4 การพัฒนาการมีส่วนร่วมของหน่วยงานหรือองค์กรทั้งภาครัฐและเอกชน ยุทธศาสตร์ที่ 5 พัฒนาการสื่อสารสาธารณะและการมีส่วนร่วมของสังคมและชุมชน ยุทธศาสตร์ที่ 6 ส่งเสริมการศึกษาวิจัยเพื่อควบคุมวัณโรค

  27. outcome output

  28. ยุทธศาสตร์ที่ 1 เน้นการให้ความสำคัญโดยมีการจัดหาง[ประมาณเพิ่มขึ้นและเพียงพอในการดำเนินงานควบคุมวัณโรคให้มีประสิทธิภาพ การค้นหารายป่วยโดยใช้การตรวจหาเชื้อในห้องปฏิบัตการที่มีระบบประกันคุณภาพ โดยการตรวจหาเสมหะด้วยกล้องจุลทรรศ์และการเพาะเชื้อในหน่วยงานที่สามารถดำเนินการได้ .........................................

  29. SAWASSDEE KRUB

More Related