510 likes | 652 Views
โรงพยาบาลอ่างทอง. ข้อมูลเบื้องต้น โรงพยาบาลเศรษฐกิจพอเพียง. โรงพยาบาลอ่างทอง. จังหวัดอ่างทอง. จำนวนเตียงที่อนุญาตดำเนินการ = 326 เตียง. จำนวนเตียงที่ให้บริการจริง = 338 เตียง. 1. ข้อมูลทั่วไป. 1.1 ขนาดเตียง. 1.2 สัดส่วนแพทย์. ต่อเตียงโรงพยาบาล. 1 : 7.
E N D
โรงพยาบาลอ่างทอง ข้อมูลเบื้องต้นโรงพยาบาลเศรษฐกิจพอเพียง
โรงพยาบาลอ่างทอง จังหวัดอ่างทอง
จำนวนเตียงที่อนุญาตดำเนินการ = 326 เตียง • จำนวนเตียงที่ให้บริการจริง = 338 เตียง 1. ข้อมูลทั่วไป 1.1 ขนาดเตียง
1.2 สัดส่วนแพทย์ ต่อเตียงโรงพยาบาล 1 : 7
1.3 สัดส่วนแพทย์ ต่อประชากรในเครือข่าย 1 : 262
1.4 อัตราการครองเตียง 80.01
จำนวนผู้ป่วยในเฉลี่ย = 51 ราย/วัน • เฉลี่ยจำนวนวันนอนผู้ป่วยใน = 5 วัน/ราย 1.5 อัตราการใช้เตียง
1.6 สัดส่วนผู้ป่วยนอก ต่อประชากรในเครือข่าย 1 : 17
1.7 สัดส่วนการตรวจสุขภาพ ต่อประชากรในเครือข่าย 1 : 2
2. ข้อมูลสถานการณ์การเงิน
มาตรการเพิ่มรายรับ ลดรายจ่าย 3. กิจกรรมหรือโครงการพัฒนาของโรงพยาบาล ที่เข้าข่ายเศรษฐกิจพอเพียงในปัจจุบัน
คณะกรรมการบริหาร การดำเนินการเพื่อเพิ่มรายรับ เพิ่มห้องพิเศษ 12 ห้อง ศูนย์ Admit & Discharge ปรับอัตราค่าห้องพิเศษ การปรับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงให้เป็น วัฒนธรรม
คณะกรรมการกำหนดราคากลาง การดำเนินการเพื่อเพิ่มรายรับ ปรับปรุงราคาค่าบริการ จากฐานคิดปี 27 --> 47
การดำเนินการเพื่อเพิ่มรายรับการดำเนินการเพื่อเพิ่มรายรับ • กลุ่มภารกิจปฐมภูมิและทุติยภูมิ ทำการตลาดกับผู้ประกันตน และลดสิทธิว่าง • งานอาชีวเวชกรรม การตรวจสุขภาพประจำปีของข้าราชการ และเอกชน
คณะกรรมการ UM การดำเนินการเพื่อเพิ่มรายรับ UM ประจำหน่วยงาน เพิ่มประสิทธิภาพ ในการจัดเก็บ การสรุปเวชระเบียนโดยใช้กระบวนการทำงาน เป็นทีม การวิเคราะห์ต้นทุน การเร่งรัดหนี้ ฯลฯ
คณะกรรมการบริหาร การดำเนินการเพื่อลดรายจ่าย ยึดธรรมาภิบาลในการบริหารงาน กำหนดนโยบายการบริหารพัสดุ ค่าตอบแทน และอื่น ๆ การอนุมัติแผนเงินบำรุง & แผนการลงทุน การทำ Fesibility Study ในงบลงทุนใหญ่ ๆ การเฝ้าระวังสถานการณ์การเงิน
คณะกรรมการ PCT การดำเนินการเพื่อลดรายจ่าย DRUG USE EVALUATION (DUE) การทำความเข้าใจระบบการจ่ายเงินของสิทธิต่าง ๆ ขอความร่วมมือในการใช้ยา เพื่อให้การใช้ยา เป็นไปตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง
กลุ่มภารกิจอำนวยการ การดำเนินการเพื่อลดรายจ่าย การสอบราคาพัสดุ วัสดุ โดยคณะกรรมการ การสอบราคาในการซ่อมบำรุงต่าง ๆ พัฒนาระบบเฝ้าระวังทางการเงิน
ปัญหาอุปสรรค ธรรมาภิบาลในการบริหาร ระบบการจัดสรรเงินในเครือข่ายไม่เอื้อ ต่อการส่งเสริมการทำดี ลูกหนี้ในจังหวัดเครือข่ายเขต 4 - 5
4. ผลการวิเคราะห์/วิจัย/ประเมินผล ย้อนหลัง 2 ปี
5. การจัดทำแผน ประมาณการรายรับเงินบำรุง ปี 2550 = 180 ล้านบาท รายรับ 6 เดือนแรก = 95,194,347 บาท
การติดตามประเมินผลแผนการใช้จ่ายเงินการติดตามประเมินผลแผนการใช้จ่ายเงิน
6. การพัฒนาคุณภาพ โรงพยาบาลอ่างทองได้ผ่านการรับรอง เป็นโรงพยาบาลคุณภาพตามมาตรฐาน HA และ HPH
เป็นโรงพยาบาลคุณภาพตามมาตรฐาน HA ระยะเวลาในการรับรอง ๑๒ มีนาคม ๒๕๕๐ – ๑๑ มีนาคม ๒๕๕๒
เป็นโรงพยาบาลส่งเสริมคุณภาพ (HPH) ระยะเวลาในการรับรอง ๑๐ มีนาคม ๒๕๔๙ – ๙ มีนาคม ๒๕๕๑
7. ความพึงพอใจ ของบุคลากร
อัตราความพึงพอใจ 7. ความพึงพอใจ
5 อันดับความพึงพอใจสูงสุด/ต่ำสุด 1. ความเต็มใจรับผิดชอบในงาน ที่ทำ ร้อยละ 82.71 2. ความภาคภูมิใจที่ได้ทำงาน ในโรงพยาบาล ร้อยละ 77.40 3. มนุษยสัมพันธ์ของผู้บังคับบัญชา ร้อยละ 75.05 4. ความร่วมมือช่วยเหลือ ของผู้ร่วมงาน ร้อยละ 73.55 5. หน้าที่กับความรู้ ร้อยละ 73.44 สวัสดิการบ้านพัก ร้อยละ 49.34 ความเบื่อหน่ายในงาน ร้อยละ 52.16 ความคิดที่จะลาออก ร้อยละ 53.06 เงินเดือนเหมาะสม ร้อยละ 55.88 การตอบสนองต่อความคิดเห็นของคณะกรรมการบริหาร ร้อยละ58.49
ต่ำสุด สูงสุด 5 อันดับหน่วยงาน ที่มีระดับความพึงพอใจสูงสุด/ต่ำสุด 1. อาชีวเวชกรรม ร้อยละ 74.23 2. พิเศษ 3 รวมใจ ร้อยละ 73.89 3. ทันตกรรม ร้อยละ 73.00 4. ศูนย์เปล ร้อยละ 72.91 5. แพทย์แผนไทย ร้อยละ 72.52 • 1. ฝ่ายการเจ้าหน้าที่ ร้อยละ 57.78 • 2. ศูนย์เครื่องช่วยหายใจ ร้อยละ 59.19 • 3. งานสวัสดิการสังคม ร้อยละ 59.92 • 4. พิเศษ 4 รัฐประชา ร้อยละ 60.07 • 5. ER ร้อยละ 61.33
อัตราความพึงพอใจแบ่งเป็นกลุ่มงานอัตราความพึงพอใจแบ่งเป็นกลุ่มงาน 1. ทันตแพทย์ ร้อยละ 71.37 2. ธุรการ ร้อยละ 66.16 3. กลุ่มการพยาบาล ร้อยละ 66.02 4. กลุ่มเทคนิคบริการ ร้อยละ 63.78 5. เภสัชกร ร้อยละ 62.61 6. แพทย์ ร้อยละ 62.57
อัตราความพึงพอใจแบ่งเป็นแผนกอัตราความพึงพอใจแบ่งเป็นแผนก อัตราความพึงพอใจแบ่งเป็นแผนก 1. แพทย์ ทันตแพทย์ เภสัชกร ร้อยละ 62.10 2. พยาบาล ร้อยละ 65.88 - GN 65.69 - TN66.81% 3. ลูกจ้าง ร้อยละ 66.24 - ประจำ 66.90 ชั่วคราว 65.46 4.ข้าราชการ ร้อยละ 65.72
ความพึงพอใจแบ่งเป็นแต่ละด้านความพึงพอใจแบ่งเป็นแต่ละด้าน
8. การบริหารความเสี่ยง ของโรงพยาบาล
8.1 กรรมการบริหารความเสี่ยง โรงพยาบาลอ่างทองมีคณะกรรมการบริหาร ความเสี่ยงโดย รองผู้อำนวยการฝ่ายการแพทย์ เป็นประธานคณะกรรมการ จะมีตัวแทน จากสหสาขาร่วมเป็นกรรมการ
8.2 ระบบข้อมูลความเสี่ยง โรงพยาบาลอ่างทองมีระบบข้อมูลความเสี่ยง โดยมีการจัดการเฝ้าระวังรายงานความเสี่ยงทุกเดือน ในทุกหน่วยงาน มีการแบ่งความเสี่ยงเป็น 2 ประเภท คือ ด้านการรักษาพยาบาล สิ่งแวดล้อมและความปลอดภัย
ระดับความรุนแรง โดยจำแนกความรุนแรงออกเป็น 5 ระดับ ตั้งแต่ 1 - 5 • ถ้ามีความรุนแรงตั้งแต่ระดับ 4 ขึ้นไปต้องรายงาน ให้ผู้อำนวยการทราบทันที
โปรแกรมความเสี่ยง • จัดแบ่งโปรแกรมความเสี่ยง ออกเป็น 8 โปรแกรม โดยแต่ละโปรแกรมจะมีคณะกรรมการรับผิดชอบดำเนินการ แก้ไขความเสี่ยงอีกระดับหนึ่ง
การบริหารความเสี่ยงของโรงพยาบาลการบริหารความเสี่ยงของโรงพยาบาล มีคณะกรรมการไกล่เกลี่ย + ประนีประนอม ช่วยดำเนินการแก้ไขปัญหาของโรงพยาบาลทีมี ความรุนแรงอีกระดับหนึ่ง ซึ่งจัดการดำเนินงาน ที่ผ่านมาช่วยให้โรงพยาบาลอ่างทอง ไม่พบกับ ข้อร้องเรียนที่รุนแรงซึ่งจะก่อให้เกิดความเสียหาย แก่โรงพยาบาลได้
8.3 อัตราการติดเชื้อในโรงพยาบาล ข้อมูลงานควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล - อัตราการติดเชื้อในโรงพยาบาลเดือนตุลาคม 2549 – มีนาคม 2550 เท่ากับ 1.12 ครั้งต่อ 1,000 วันนอนโรงพยาบาล (เป้าหมาย 1.79 ครั้ง/ 1,000 วันนอนโรงพยาบาล) จากการดำเนินงานที่ผ่านมาพบว่า การเฝ้าระวังการติดเชื้อในโรงพยาบาลในตำแหน่งที่เป็นปัญหาสำคัญ ของโรงพยาบาลผ่านเกณฑ์ที่กำหนด รวมถึงการเฝ้าระวังการติดเชื้อ ที่ตำแหน่งผ่าตัดแผลสะอาด แต่พบว่าการติดเชื้อในแผลผ่าตัดประเภท อื่น ๆ ยังมีอยู่
ข้อมูลงานควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาลข้อมูลงานควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล จึงเริ่มดำเนินการเฝ้าระวังการติดเชื้อในผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัด เป็นราย Procedure ด้วย เช่น MRM , C/S , Appendectomy , Hernia ด้วย และมีการติดตามผู้ป่วยหลังจำหน่ายกลับบ้าน จากการติดตามพบว่า มีการติดเชื้อที่แผลผ่าตัด Appendectomy 1 รายคิดเป็น 0.27% การติดเชื้อ ที่แผลผ่าตัด C/S จำนวน 2 รายคิดเป็น 0.41% ได้มีการดำเนินการทบทวน แนวทางการปฏิบัติและหาแนวทางแก้ไขต่อไปในเรื่องของการใช้ยา ปฏิชีวนะตาม Guidline ที่กำหนด โดยประสานทีม PCT ศัลยกรรมช่วย ติดตาม
งานควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาลงานควบคุมการติดเชื้อในโรงพยาบาล - การพัฒนาได้มีเป้าหมายการติดเชื้อแผลผ่าตัดเป็นรายหัตถการ เช่น MRM , C/S , Appendectomy , Hernia
9. การทำงาน ในเครือข่ายบริการ
9. การทำงานในเครือข่ายบริการ การทำงานร่วมกัน คือ • มีการประชุมเครือข่าย • ศึกษาดูงานร่วมกัน • รับประทางอาหารร่วมกัน • แบ่งกันรับผิดชอบเมื่อจัดโครงการ
การแต่งตั้งคณะกรรมการการแต่งตั้งคณะกรรมการ มีการแต่งตั้งคณะกรรมการ 7 ชุด 1.คณะกรรมการประสานงานสาธารณสุขระดับอำเภอเมืองอ่างทอง 2.คณะกรรมการปฏิบัติงานเฉพาะกิจด้านการควบคุมโรค (SRRT) 3.คณะกรรมการพัฒนาสถานบริการระดับปฐมภูมิ 4.คณะกรรมการพัฒนางานส่งเสริมสุขภาพกลุ่มแม่และเด็กระดับอำเภอเมือง 5.คณะกรรมการโครงการอ่างทองสุขภาพดีระดับอำเภอ 6.คณะกรรมการพัฒนาตลาดสดนำชื้อระดับอำเภอ 7.คณะกรรมการจัดทำโครงการ To Be Number One
การประชุม และ โครงการ มีการประชุม 9 ครั้ง มีโครงการทำงานร่วมกัน 15 โครงการ
10. การทำงาน ร่วมกับชุมชน
การทำงานร่วมกับชุมชน • นำข้อมูลที่พบจากการปฏิบัติงานนำเสนอกลุ่มผู้นำชุมชน • ร่วมกับกลุ่มผู้นำชุมชนจัดทำโครงการเพื่อแก้ไขปัญหา • ซึ่งได้โครงการ คือ “โครงการบ้านรอพอเพียง” • - นอกจากนี้มีโครงการจัดประชุม อสม.ทุกเดือน • - มีทัศนศึกษาร่วมกันปีละ 1 ครั้ง