1 / 37

เล่าสู่กันฟัง

เล่าสู่กันฟัง. ประสบการณ์ รูปแบบการจัดบริการ YFHS โรงพยาบาลมหาสารคาม. พุทธมณฑลอีสาน ถิ่นฐานอารยธรรม ผ้าไหมล้ำเลอค่า ตักสิลานคร. จังหวัดมหาสารคาม. ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา. เมืองการศึกษา มีสถานศึกษามากที่สุดในภาคอีสาน ** ประชากร 1 ใน 3 เป็นกลุ่มนักเรียน และเยาวชน

simon-tyson
Download Presentation

เล่าสู่กันฟัง

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. เล่าสู่กันฟัง ประสบการณ์ รูปแบบการจัดบริการYFHS โรงพยาบาลมหาสารคาม

  2. พุทธมณฑลอีสาน ถิ่นฐานอารยธรรม ผ้าไหมล้ำเลอค่า ตักสิลานคร

  3. จังหวัดมหาสารคาม ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา • เมืองการศึกษา • มีสถานศึกษามากที่สุดในภาคอีสาน • ** ประชากร 1 ใน 3 เป็นกลุ่มนักเรียน และเยาวชน • จำนวน 338,583 คน จาก 936,854 คน • ** มีพื้นที่เขตเมืองฯ เป็นพื้นที่เสี่ยงมากกว่า • ระดับประเทศ 3 เท่า ( ข้อมูลจากสถาบันรามจิตติ ) • 13 อำเภอ มหาวิทยาลัย 2 แห่ง อนุ 4 แห่ง ร.ร. มากกว่า 700 แห่ง

  4. ประชากรในจังหวัดมหาสารคาม จำนวนประชากรทั้งจังหวัด 936,854 คน เด็กและเยาวชน 338,583 คน คิดเป็นร้อยละ 36.14

  5. 6.94% (64,979 ราย) 11.70% (10,9,595 ราย) 8.21% (76,953 ราย) 9.29% ( 87,056 ราย) กลุ่มประชากรเด็กและเยาวชน ข้อมูล ณ เดือนธันวาคม 2551 ไม่รวมเด็กและเยาวชนที่มาศึกษาในจังหวัดมหาสารคาม

  6. 11.70% (109,595 คน) 9.29% 8.21% (87,056 ราย) (76,953 คน) แผนภูมิแสดงกลุ่มประชากรเด็กและเยาวชน ข้อมูลจำนวนนักศึกษาในระดับอุดมศึกษา ขอนแก่น 26,628 คน มหาสารคาม 52,071 คน 6.94% อุดรธานี 18,036 คน 64,979 8o นครราชสีมา 20,318คน อุบลราชธานี 25,519 คน

  7. ปัญหาสังคมเชิงกลุ่มเป้าหมายที่ต้องได้รับการพัฒนา (ปัญหาเด็ก) เด็กไม่ได้รับการเตรียมความพร้อมก่อนวัยเรียน 4.84 %(635 ราย) เด็กเร่ร่อน ขอทาน 8.47 %(1,112 ราย) 0.15 %(20 ราย) เด็กขาดผู้อุปการะถูกทอดทิ้ง 10.56 %(1,387 ราย) 26.03 %(3,418 ราย) 49.96 %(6,561 ราย) ข้อมูลสำรวจสถานการณ์ทางสังคมและท้องถิ่นปี 2551 (อปท.1)

  8. ปัญหาสังคมเชิงกลุ่มเป้าหมายที่ต้องได้รับการพัฒนา (ปัญหาเยาวชน) เยาวชนติดสารเสพติดร้ายแรง 2.10 %( 277 ราย) 34.10 %( 4,497 ราย) 63.80 %( 8,413 ราย) ข้อมูลสำรวจสถานการณ์ทางสังคมและท้องถิ่นปี 2552 (อปท.1)

  9. ผลจากการ Focus group เด็กและเยาวชน • พบว่า ปัญหาเด็กและเยาวชนที่สำคัญ 5 ปัญหา • เรียงตามลำดับ ดังนี้ • การขายบริการทางเพศ • การใช้จ่ายฟุ่มเฟือย • 3. ปัญหาการแต่งกายล่อแหลม • 4. ปัญหายาเสพติด • 5. ปัญหาพฤติกรรมการบริโภคที่ไม่ถูกต้อง

  10. ยุทธศาสตร์ด้านเด็กและเยาวชนจังหวัดมหาสารคามยุทธศาสตร์ด้านเด็กและเยาวชนจังหวัดมหาสารคาม ยุทธศาสตร์เมืองน่าอยู่สำหรับเด็กและเยาวชนจังหวัดมหาสารคาม วิสัยทัศน์ : มหาสารคาม ตักศิลานคร เมืองน่าอยู่สำหรับเด็กและเยาวชน พันธกิจ : บูรณาการทุกภาคส่วน ดำเนินกิจกรรมเพื่อป้องกัน ส่งเสริม พัฒนา เมืองน่าอยู่สำหรับเด็ก

  11. - แผนยุทธศาสตร์เมืองน่าอยู่สำหรับเด็ก-ข้อมูลสถานการณ์เด็กจังหวัด ผลงานเด่น

  12. อนุกรรมการฝ่ายป้องกันและแก้ไขปัญหาอนุกรรมการฝ่ายป้องกันและแก้ไขปัญหา • รองผู้ว่าราชการจังหวัด ประธาน - นางสาวฉัฐพร งามเกลี้ยง เลขาฯ สำนักงานจังหวัด พัฒนาชุมชน ป้องกันจังหวัด สพท.มค. 1,2,3 มมส. อนุกรรมการ ฝ่ายป้องกัน และแก้ไขปัญหา สภาเด็กและเยาวชน ตำรวจ วัฒนธรรมจังหวัด พมจ. บ้านพักเด็ก NGO

  13. ผลงานเด่น • รูปแบบการจัดการพื้นที่สร้างสรรค์สำหรับเด็กสร้างสรรค์ขยายผลสู่พื้นที่ให้สามารถจัดการด้วยตนเอง

  14. ส่งเสริมให้ท้องถิ่นและเยาวชนมีส่วนร่วมส่งเสริมให้ท้องถิ่นและเยาวชนมีส่วนร่วม ลดพื้นที่เสีย ขจัดร้าย เพิ่มพื้นที่ดี ขยายดี • วิเคราะห์สภาพปัญหาและพื้นที่ที่มีผลกระทบต่อเด็กและเยาวชน • รณรงค์ลด ละ เลิก อบายมุข • มีพื้นที่สร้างสรรค์สำหรับเด็กและเยาวชน • ขยายเครือข่ายการทำงานคุ้มครองเด็กให้คลอบคลุมทั่วถึงทั้งจังหวัด โครงการถนนเด็กเดิน , โครงการคาราวานเสริมสร้างเด็ก, โครงการพื้นที่สร้างสรรค์สำหรับเด็ก,โครงการโลกที่เหมาะสมสำหรับเด็ก

  15. อนุกรรมการจัดระเบียบสังคมอนุกรรมการจัดระเบียบสังคม • ปลัดจังหวัด ประธาน • ป้องกันจังหวัดมหาสารคาม เลขาฯ อุตสาหกรรม สวัสดิการคุ้มครอง แรงงาน ปลัดจังหวัด สพท.มค. 1,2,3 ปกครองจังหวัด อนุกรรมการ ฝ่ายจัดระเบียบ สังคม พาณิชจังหวัด แรงงาน วัฒนธรรมจังหวัด ม.ราชภัฏ. สรรพสามิต พมจ. ตำรวจ

  16. บทบาทหน้าที่ หอพัก สถานบริการ ร้านสนุกเกอร์ บิลเลียด ควบคุมหารขายเหล้า บุหรี่ แก่เยาวชน รถมอเตอร์ไซด์ซิ่ง ควบคุมสถานที่/สถานบริการให้เรียบร้อยปลอดภัยสงบ โรงงาน ขจัดสื่อลามก ร้านอาหาร ร้านจำหน่ายสุรา ที่พักเชิงพาณิชย์ สถานที่ สาธารณะ ร้านเกมส์ ร้านอินเตอร์เนต

  17. ผลงานเด่น • ได้มาตรการทางสังคมร่วมกันในการจัดระเบียบสังคมของจังหวัด • แนวทางความมั่นคงของจังหวัด

  18. อนุกรรมการฝ่ายส่งเสริมความประพฤติ นักเรียน นักศึกษา • รองผู้ว่าราชการจังหวัดมหาสารคาม ที่กำกับดูแลงานด้านการศึกษา ประธาน - นายประเทือง สว่าง เลขาฯ กลุ่มอาชีวะศึกษา 6สถาบัน กองการศึกษา เทศบาลเมือง สพท.มค. 1,2,3 สถาบันการพละ อนุกรรมการ ฝ่ายความประพฤติ นักเรียนนักศึกษา ตัวแทนครู ในโรงเรียน ตำรวจ มมส. พมจ. ม.ราชภัฏ วิทยาลัยพยาบาล

  19. ผลงานเด่น • มาตรการแนวทางส่งเสริมและป้องปรามความประพฤตินักเรียน นักศึกษา • มีเครือข่ายการดำเนินงานส่งเสริมและป้องปรามความประพฤตินักเรียนนักศึกษา ครอบคลุมทุกพื้นที่

  20. ผลงานเด่น • มีทีมสหวิชาชีพที่เข้มแข็ง • มีระบบบริการแบบเบ็ดเสร็จ ณ จุดเดียว (One Stop Crisis Center : OSCC) • มีเครือข่ายการทำงานช่วยเหลือป้องกันเฝ้าระวังการกระทำรุนแรงต่อเด็กและสตรี ครอบคลุมทั้งระดับจังหวัด อำเภอ และชุมชน

  21. ระบบบริการของศูนย์พึ่งได้และเครือข่ายระบบบริการของศูนย์พึ่งได้และเครือข่าย

  22. โครงการครอบครัวผาสุก

  23. โครงการค่ายครอบครัวสมานฉันท์นำสังคมไม่ทอดทิ้งกันโครงการค่ายครอบครัวสมานฉันท์นำสังคมไม่ทอดทิ้งกัน

  24. ผลการดำเนินงานของคณะกรรมการคุ้มครองเด็กจังหวัดมหาสารคามผลการดำเนินงานของคณะกรรมการคุ้มครองเด็กจังหวัดมหาสารคาม • กลวิธีการทำงาขับเคลื่อนผ่านเวทีการประชุมคณะกรรมการคุ้มครองเด็กและคณะอนุกรรมการคุ้มครองเด็กฝ่ายต่างๆ

  25. ขับเคลื่อนผ่านเวที สหวิชาชีพ

  26. ขับเคลื่อนโดยสภาเด็กและเยาวชนขับเคลื่อนโดยสภาเด็กและเยาวชน

  27. ค่ายทักษะชีวิต 13 อำเภอ 13 โรงเรียน ขับเคลื่อนโดยสภาเด็กและเยาวชน

  28. กิจกรรมการสร้างเครือข่ายเด็กและเยาวชนกิจกรรมการสร้างเครือข่ายเด็กและเยาวชน

  29. มีการพัฒนาศักยภาพของตนเองมีการพัฒนาศักยภาพของตนเอง

  30. พลังขับเคลื่อนในสังคม

  31. พลังขับเคลื่อนในสังคม

  32. ผู้บริหารระดับจังหวัดผู้บริหารระดับจังหวัด ให้ความสำคัญเป็นนโยบาย การมีส่วนร่วมของเด็กและเยาวชน หัวหน้าส่วนราชการเข้าใจให้ความร่วมมือ ปัจจัย แห่งความสำเร็จ ประเด็นเด็กถูกกำหนดให้เป็นยุทธศาสตร์ เมืองน่าอยู่สำหรับเด็ก ภายใต้ยุทธศาสตร์ชุมชนเข้มแข็งของจังหวัด หัวใจและสัมพันธภาพของทีม ทุนเดิม (ดี) การบูรณาการ งาน เงิน คน การสนับสนุนจากกองทุนคุ้มครองเด็กแห่งชาติ เด็กและเยาวชนได้รับประโยชน์เป็นที่ประจักษ์ คนทำงานและหน่วยงานมีความพึงพอใจและภาคภูมิใจ

  33. เราจะร่วมกันพัฒนาต่อไปเราจะร่วมกันพัฒนาต่อไป ขอบคุณ

More Related