1 / 54

กลุ่มงานจิตเวช โรงพยาบาลอุตรดิตถ์

การดำเนินการ การเข้าถึงยาจิตเวช ของผู้ป่วยจิตเวชในชุมชน โรงพยาบาลศูนย์อุตรดิตถ์ เขตพื้นที่เครือข่ายบริการที่ 2. กลุ่มงานจิตเวช โรงพยาบาลอุตรดิตถ์. ปัจจุบันบุคลากรผู้ปฏิบัติงาน OPD จิตเวช. จิตแพทย์ผู้ใหญ่ 3 คน จิตแพทย์เด็กและวัยรุ่น 1 คน

Download Presentation

กลุ่มงานจิตเวช โรงพยาบาลอุตรดิตถ์

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การดำเนินการ การเข้าถึงยาจิตเวชของผู้ป่วยจิตเวชในชุมชนโรงพยาบาลศูนย์อุตรดิตถ์เขตพื้นที่เครือข่ายบริการที่ 2

  2. กลุ่มงานจิตเวช โรงพยาบาลอุตรดิตถ์

  3. ปัจจุบันบุคลากรผู้ปฏิบัติงาน OPD จิตเวช จิตแพทย์ผู้ใหญ่ 3 คน จิตแพทย์เด็กและวัยรุ่น 1 คน พยาบาลจิตเวช 6 คน นักจิตวิทยาคลินิก 4 คน 5

  4. การดำเนินการเพื่อเพิ่มการเข้าถึงยาในระบบบริการจิตเวชการดำเนินการเพื่อเพิ่มการเข้าถึงยาในระบบบริการจิตเวช ระยะที่ 1 : ปี 2542 – 2545 ตั้งต้นระบบบริการจิตเวชในโรงพยาบาลศูนย์อุตรดิตถ์ จำนวนผู้รับบริการ OPD จิตเวช ปี 2542 - 2545 www.themegallery.com

  5. ปัญหาในการดูแลรักษาผู้ป่วยจิตเวชปัญหาในการดูแลรักษาผู้ป่วยจิตเวช จุดเริ่มต้น ด้านครอบครัวและสังคม ผู้ป่วยมีอาการกำเริบ/ กลับเป็นซ้ำ ด้านระบบบริการสาธารณสุข ทัศนคติ / องค์ความรู้ของบุคลากร การรักษาไม่ต่อเนื่อง การขาดผู้ดูแลหลัก PROBLEM ข้อจำกัดในการเข้าถึงบริการ (การเงิน และการเดินทาง) ความพร้อมรองรับด้าน การรักษาของ รพศ./รพท./รพช. การขาด Social support ขาดระบบเชื่อมโยงข้อมูล 7

  6. ประเด็นความจริง (Fact) เกี่ยวกับโรคทางจิตเวช ข้อด้อย 1. ยิ่งป่วย ยิ่งไม่รู้ตัวว่าป่วย หรือไม่อยากหาย 2. มักเป็นในกลุ่มประชากรที่ขาดโอกาสด้านเศรษฐานะ, ครอบครัว และสังคม 3. มีความเรื้อรังของโรคมากกว่า 60% ของผู้ป่วย 4. มีความรุนแรงของการเจ็บป่วยทางจิตที่กระทบกับความสูญเสียทางสังคมและเศรษฐกิจ ที่อาจจะมองไม่เห็น (โรคจิตเภท เทียบเท่าอาการอัมพาตของแขนและขา, โรคซึมเศร้า เทียบเท่าตาบอด 2 ข้าง, การฆ่าตัวตายสำเร็จ สูงกว่าการตายจากไข้หวัดใหญ่รวมกับไข้เลือดออก) www.themegallery.com

  7. ประเด็นความจริง (Fact) เกี่ยวกับโรคทางจิตเวช ข้อได้เปรียบ 1. ส่วนใหญ่เป็นกลุ่มคนไข้ที่มีอายุน้อยหรือวัยแรงงาน (25 – 45 ปี) ที่มีร่างกายแข็งแรง 2. การวินิจฉัย ไม่ได้ใช้เครื่องมือราคาแพงหรือซับซ้อน 3. การรักษา เน้นเรื่องการใช้ยาร่วมกับการให้คำปรึกษาและจิตบำบัด ได้ผลมากกว่า 90% 4. ยาในการรักษาจิตเวช ส่วนใหญ่ราคาไม่สูงและเป็น Essential drug 5. ผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาต่อเนื่อง สามารถกลับไปประกอบอาชีพได้มากกว่า 90% www.themegallery.com

  8. การดำเนินการเพื่อเพิ่มการเข้าถึงยาในระบบบริการจิตเวชการดำเนินการเพื่อเพิ่มการเข้าถึงยาในระบบบริการจิตเวช ระยะที่ 2 : ปี 2546 – 2548 เริ่มมีพยาบาลจิตเวชใน รพช. / นโยบาย 30 บาท รักษาทุกโรค ประสาน รพช. เพื่อพัฒนาศักยภาพบริการจิตเวช จำนวนผู้รับบริการ OPD จิตเวช ปี 2546 - 2548 www.themegallery.com

  9. การดำเนินการเพื่อเพิ่มการเข้าถึงยาในระบบบริการจิตเวชการดำเนินการเพื่อเพิ่มการเข้าถึงยาในระบบบริการจิตเวช ระยะที่ 3 : ปี 2549 – 2551 มีการพัฒนามาตรฐานระบบบริการทางจิตเวช - บริการ OPD จิตเวชเด็กและวัยรุ่น - จัดให้มีทีมพี่เลี้ยง ZONE (จิตแพทย์, นักจิตวิทยา และพยาบาลจิตเวช)ร่วมเป็นที่ปรึกษาให้กับ รพช. โดยมีระบบให้คำปรึกษาและส่งต่อผู้ป่วย - สมัครเข้าเป็นเครือข่ายพัฒนาศักยภาพระบบบริการจิตเวชร่วมกับโรงพยาบาลสวนปรุง - การนำคู่มือมาตรฐานการพัฒนาระบบบริการจิตเวชโรงพยาบาลสวนปรุง มาเป็นนโยบายระดับจังหวัด - พัฒนาศักยภาพสหวิชาชีพใน รพช./รพสต. และนิเทศประเมิน รพช./รพสต. ทุก 6 เดือน - ได้รับงบประมาณ 200,000 บาท เพื่อช่วยเหลือให้มียาจิตเวชเริ่มต้นใน รพช. www.themegallery.com

  10. OPD จิตเวชเด็กและวัยรุ่น เริ่มดำเนินการ ปี 2551 โต๊ะตรวจ มุมเด็ก

  11. Zone พี่เลี้ยงระดับรพช. Zone 1 รพ.ตรอน, รพ.พิชัย,รพ.ทองแสนขัน Zone 2 รพ.ลับแล,รพ.น้ำปาด Zone 3 รพ.บ้านโคก, รพ.ฟากท่า รพ.ท่าปลา

  12. การดำเนินการเพื่อเพิ่มการเข้าถึงยาในระบบบริการจิตเวชการดำเนินการเพื่อเพิ่มการเข้าถึงยาในระบบบริการจิตเวช ระยะที่ 4 : ปี 2552 – 2555 การพัฒนาการเข้าถึงยา และระบบบริการทางจิตเวช ที่ครอบคลุม และครบวงจร - มีหอผู้ป่วยจิตเวชในโรงพยาบาลศูนย์ (16 เตียง) มีการรักษาด้วยไฟฟ้า - มี Extended OPD จิตเวช โดยทีมจิตแพทย์ นักจิตวิทยา และพยาบาลจิตเวชใน รพช. 4 แห่ง ทุก 3 เดือน (การทำบัญชียา 35 รายการ ใน รพช. ที่มี Extended OPD) พบปัญหาไม่มีรายการยา และยาขาด Stock บ่อย - ติดตามประเมินพบว่า มาตรฐานบริการด้านยาใน รพช. เช่น การเพียงพอ พร้อมใช้ ยังไม่บรรลุเป้าหมาย - กองทุนยาจิตเวช สปสช. ยา sertaline, risperidone (2552 - 2553) มี รพช. เข้าร่วม 60% - มีเภสัชกรผู้รับผิดชอบงานจิตเวชใน รพศ. และร่วมเป็นทีมนิเทศใน รพช. และจัดให้มีห้องยาจิตเวชแยกจากห้องยารวม - การส่งต่อผู้ป่วยกลับทำได้เพียง 20 – 30 ราย/ปี www.themegallery.com

  13. หอผู้ป่วยจิตเวช ให้บริการปี 2552 ชาย 8 เตียง, หญิง 8 เตียง 15

  14. การรักษาด้วยไฟฟ้า ( ECT) เริ่มการดำเนินงาน ปี 2550 ขณะ admit ในตึกอายุรกรรม มีการดำเนินงานแบบ Modify ECT

  15. การพัฒนาระบบการรักษาต่อเนื่องการพัฒนาระบบการรักษาต่อเนื่อง Extend OPD ในรพช. นำร่อง 4 แห่ง รพ.พิชัย/รพ.ทองแสนขัน / รพ.ท่าปลา /รพ.ลับแล เพิ่มเติม รพ.ตรอน ( ปี 56 ) แพทย์ / พยาบาล / นักจิตวิทยา 17

  16. พัฒนาระบบยา • มีเภสัชกรร่วมในทีม จัดประชุมวิเคราะห์ / แก้ปัญหา • สำรวจปัญหา/จัดหา Item ยาจิตเวชที่จำเป็นเพิ่มขึ้นใน รพช. • จัดทำคู่มือการใช้ยาทางจิตเวช พร้อมรูปภาพประกอบให้ รพช./สอ.

  17. จัดทำคู่มือยาจิตเวช ใช้สะดวก / พกพาง่าย

  18. การดำเนินการเพื่อเพิ่มการเข้าถึงยาในระบบบริการจิตเวชการดำเนินการเพื่อเพิ่มการเข้าถึงยาในระบบบริการจิตเวช ระยะที่ 5 : ปี 2556 การพัฒนาการเข้าถึงยา และระบบบริการทางจิตเวชที่ครอบคลุม และครบวงจร - มีนโยบาย Service plan จิตเวชของกระทรวงสาธารณสุข - จัดตั้งคณะทำงาน Service plan จิตเวชเขต 2 โดยกำหนดตัวชี้วัด 1. ด้านมาตรฐานบริการจิตเวช ของสถานบริการทุกระดับ 2. จัดทำบัญชียาจิตเวชที่ควรมีใน รพช. (35 รายการ) - ติดตามประเมินพบว่า มาตรฐานด้านบริการทางจิตเวชใน รพช. จังหวัดอุตรดิตถ์ อยู่ที่ระดับ 1 (0 แห่ง), ระดับ 2 (6 แห่ง), ระดับ 3 (2 แห่ง) โดยพบว่าการประเมินบริการด้านยาอยู่ที่ระดับ 2 และ 3 โดยอัตราการมียาจิตเวชที่ประมาณ 60 – 85% ของรายการยา - กระทรวงสาธารณสุข ได้ประกาศกฎกระทรวง ให้ยาจิตเวช 35 รายการ สามารถมีใน รพช. โดยไม่นับรวมเป็น Item ยาหลักของ รพช. www.themegallery.com

  19. วิสัยทัศน์ Service plan จิตเวชเขต 2 เป็นเขตบริการสุขภาพจิตและจิตเวช ที่ได้มาตรฐานครอบคลุมและครบวงจร ในจังหวัดทั้งเขต ภายใน 5 ปี

  20. เป้าหมายการดำเนินงาน 4 ปี (2556-2560) ด้านมาตรฐานบริการ การเข้าถึงบริการ ลดอัตราป่วย/อัตราตาย ลดการ Refer out -ร้อยละของรพศ/รพท. มีบริการสุขภาพจิตและจิตเวช และสุขภาพจิตเวชเด็กและวัยรุ่นตามเกณฑ์มาตรฐานของกรมสุขภาพจิต ระดับ 1 -ร้อยละของรพช. มีบริการสุขภาพจิตและจิตเวชตามเกณฑ์ มาตรฐานของกรมสุขภาพจิต ระดับ 1 -ร้อยละของรพ.สต. มีบริการสุขภาพจิตและจิตเวชตามเกณฑ์ มาตรฐานของกรมสุขภาพจิต ระดับ 1 อัตราการเข้าถึงบริการ -MR/Autistic/ADHD >20% -Psychosis/schizophrenia >75% -Depression >31% -Suicidal Ideation / Attempt>80% -Dementia >5% -Psychosocial Clinic -MCATT -ร้อยละของผู้ที่พยายาม ฆ่าตัวตายได้รับการบริการบำบัดรักษาและเฝ้าระวังดูแลต่อเนื่อง (>60%) -อัตราฆ่าตัวตายสำเร็จลดลง -รพศ./รพท.เปิดหอผู้ป่วยในหรือมีเตียงสำหรับรับผู้ป่วยจิตเวช -การส่งต่อนอกพื้นที่ ลดลงจากเดิม 10%

  21. การนิเทศ / พัฒนาเครือข่ายระบบดูแลสุขภาพจิตและจิตเวช ด้านสถานที่บริการ รพช. 8 แห่ง ด้านบุคลากร ระบบบริการ 1. การวินิจฉัยและการรักษา 2. ด้านยา 3. ด้านการดูแลด้านจิตสังคม 4. ด้านการส่งเสริมป้องกัน 5. ด้านการส่งต่อ 6. ด้านการติดตามดูแล การพัฒนา 3 ด้าน 23

  22. การพัฒนาศักยภาพเครือข่ายการพัฒนาศักยภาพเครือข่าย กลุ่มแพทย์ทั่วไป แพทย์จบใหม่ นิติจิตเวช เภสัชกร 24

  23. กรอบบัญชียาจิตเวชที่กำหนดให้มีใน รพช. บัญชียาทั้ง 35 รายการ รักษาได้ในโรค MR ,Substance,Psychosis,MDD,Dementia

  24. การดำเนินงานของคณะทำงาน Service Plan จิตเวช ปี 2556 แนวทางการวินิจฉัย การพยาบาล และยา ของ common disease ทั้ง 10 โรค

  25. การดำเนินงานของคณะทำงาน Service Plan จิตเวช ปี 2556 แนวทางการวินิจฉัย การพยาบาล และยา ของ common disease ทั้ง 10 โรค

  26. ผลการดำเนินงาน ปี 2556

  27. อัตราปริมาณยาที่มีในรพช.เขต 2 www.themegallery.com

  28. การดำเนินการเพื่อเพิ่มการเข้าถึงยาในระบบบริการจิตเวชการดำเนินการเพื่อเพิ่มการเข้าถึงยาในระบบบริการจิตเวช ระยะที่ 5 : ปี 2557 การพัฒนาการเข้าถึงยา และระบบบริการทางจิตเวชที่ครอบคลุม และครบวงจร การพัฒนาระดับ Service plan จิตเวชเขต 2 1. คณะทำงาน Service plan ทบทวนปัญหาด้านยาจิตเวช 2. จิตแพทย์เขต 2 ร่วมทบทวนรายการยาจาก 35 รายการ เป็น 30 รายการ 3. กรรมการ Service plan เขต ได้เพิ่มตัวชี้วัดปี 2557 ด้านยา ให้มีเพียงพอพร้อมใช้ใน รพช. มากกว่า 80% ของรายการยา 30 Item www.themegallery.com

  29. กรอบบัญชียาจิตเวชที่กำหนดให้มีใน รพช. บัญชียาทั้ง 35 รายการ รักษาได้ในโรค MR ,Substance,Psychosis,MDD,Dementia

  30. การดำเนินการเพื่อเพิ่มการเข้าถึงยาในระบบบริการจิตเวชการดำเนินการเพื่อเพิ่มการเข้าถึงยาในระบบบริการจิตเวช ระยะที่ 5 : ปี 2556 – ปัจจุบัน การพัฒนาการเข้าถึงยา และระบบบริการทางจิตเวชที่ครอบคลุม และครบวงจร คณะทำงาน Service plan ของจังหวัดอุตรดิตถ์ 1. ชี้แจงนโยบาย service plan จิตเวช ตัวชี้วัดและความสำคัญ และความสำคัญการให้บริการยาทางจิตเวชใน รพช. แก่คณะผู้บริหารระดับจังหวัด www.themegallery.com

  31. การดำเนินการเพื่อเพิ่มการเข้าถึงยาในระบบบริการจิตเวชการดำเนินการเพื่อเพิ่มการเข้าถึงยาในระบบบริการจิตเวช 2. ประชุมเภสัชกรผู้รับผิดชอบระดับ สสจ./รพศ./รพช. ร่วมกัน เพื่อทำความเข้าใจในการดำเนินการ ดังนี้ 2.1 การทำข้อตกลงร่วมกันในการพยายามพัฒนามาตรฐานด้านยาจากระดับ รพศ. สู่ รพช. 2.2 การจัดทำระบบยืมยาจิตเวช ในโรงพยาบาลชุมชน 2.3 การจัดทำระบบยืมยาจิตเวช 4 รายการ ที่มีปัญหาจัดซื้อได้ยาก/ขาดการสำรอง แบบ Fast track ของโรงพยาบาลศูนย์แก่โรงพยาบาลชุมชน โดยลดขั้นตอน ทำให้สามารถยืมยาได้ภายใน 1 วัน Company Logo

  32. การดำเนินการเพื่อเพิ่มการเข้าถึงยาในระบบบริการจิตเวชการดำเนินการเพื่อเพิ่มการเข้าถึงยาในระบบบริการจิตเวช 3. เภสัชกรผู้รับผิดชอบงานจิตเวชในโรงพยาบาลศูนย์ ซึ่งผ่านการอบรม PG เภสัชกรจิตเวช ร่วมทีมนิเทศงานจิตเวชร่วมกับทีมจิตเวชใน รพช. 8 แห่ง ทำให้เกิดการร่วมกันกำหนดตัวชี้วัดด้านยาระดับ รพช., การกำหนด Highalert drug จิตเวช แนวทางการดูแล, พัฒนาระบบการเชื่องโยงข้อมูลด้านยา, ข้อมูลการใช้ยาของผู้ป่วยจิตเวชในแต่ละอำเภอ ซึ่งยังรักษาอยู่ที่โรงพยาบาลอุตรดิตถ์ การให้แนวทางในการดูแลด้านเภสัชกรรมด้านยาจิตเวช www.themegallery.com

  33. การบริหารจัดการยาในโรงพยาบาลชุมชนการบริหารจัดการยาในโรงพยาบาลชุมชน ตัวชี้วัดของระบบยา ระดับที่ 1ของโรงพยาบาลชุมชน

  34. การกำหนดตัวชี้วัดของระบบยาใน รพช. อุตรดิตถ์ • อัตราการสำรองยาเพียงพอพร้อมใช้ มากกว่าร้อยละ 80 จากรายการยาที่กำหนดร่วมกันในเขต 30 รายการ • อัตราการเกิดการแพ้ยาซ้ำ เท่ากับ 0 • การเกิดความคลาดเคลื่อนทางยา ในกลุ่มยาจิตเวช น้อยกว่าร้อยละ 0.5 • อัตราการเกิด Fatal drug Interaction เท่ากับ 0 • กำหนด High alert drug ด้านจิตเวช Diazepam injection, Clozapine, lithium carbonate www.themegallery.com

  35. จำนวนข้อมูลด้านยาของผู้ป่วยที่รักษาใน รพ.อต.ของแต่ละอำเภอ ในปีงบ 2557 จำนวน (คน) รวม 2691 คน

  36. ผลการนิเทศฯระบบยา จังหวัดอุตรดิตถ์(ต.ค.56 – มี.ค. 57) ระดับ 1 ระดับ 2 ระดับ 3

  37. 4. แนวปฏิบัติและระบบส่งต่อกลับผู้ป่วยจิตเวช รพช. จาก รพศ. ผู้ป่วยจิตเวชอาการคงที่และต้องได้รับยาต่อมากกว่า 6 เดือน ใบ Refer ที่ 1 + ยา 1 เดือน นัดเข้า OPD จิตเวชใน รพช. ใบ Refer ที่ 2 (ส่งภายใน 1 สัปดาห์) ผู้รับผิดชอบงานจิตเวชใน รพช. OPD จิตเวชใน รพช. เภสัชกรผู้รับผิดชอบงานจิตเวชใน รพช. การจัดเตรียมยา การรักษาต่อเนื่องใน รพช. ส่งข้อมูลย้อนกลับ รพศ. ในใบ Refer ที่ 2 www.themegallery.com

  38. Out Come www.themegallery.com

  39. ตัวชี้วัดระดับประเทศและระดับ SP จิตเวช เขต 2

  40. ตัวชี้วัดระดับประเทศและระดับ SP จิตเวช เขต 2

  41. ตัวชี้วัดระดับประเทศและระดับ SP จิตเวช เขต 2

  42. อัตราปริมาณยาที่มีใน รพช. จังหวัดอุตรดิตถ์ เขต 2 www.themegallery.com

  43. ปริมาณยาในโรงพยาบาลชุมชน จังหวัดอุตรดิตถ์

  44. 5. การอบรมเชิงปฏิบัติการเภสัชกรผู้รับผิดชอบงานจิตเวชใน รพช. เขตบริการที่ 2 www.themegallery.com

  45. การอบรมเชิงปฏิบัติการเภสัชกรผู้รับผิดชอบงานจิตเวชใน รพช. เขตบริการที่ 2 www.themegallery.com

  46. 6. การอบรมเชิงปฏิบัติการแพทย์ผู้รับผิดชอบงานจิตเวชใน รพช. (กรกฎาคม 2557) 1. การให้ความรู้ด้านโรคทางจิตเวช และการใช้ Clinical practice guide line 2. ความรู้ด้านยาจิตเวช 30 รายการ

  47. การดำเนินการเพื่อเพิ่มการเข้าถึงยาในระบบบริการจิตเวชการดำเนินการเพื่อเพิ่มการเข้าถึงยาในระบบบริการจิตเวช • ด้านนโยบาย • ด้านการสนับสนุนวิชาการ/กองทุน • การติดตามประเมิน

  48. การใช้เกณฑ์ติดตามแผนการพัฒนาระบบบริการสุขภาพจิตการใช้เกณฑ์ติดตามแผนการพัฒนาระบบบริการสุขภาพจิต เกณฑ์ค่าที่ต้อง monitor 1. ด้านการพัฒนาทรัพยากรบุคคลสุขภาพจิต 2. ด้านระบบบริการสุขภาพจิต 3. ด้านระบบบริการผู้ป่วยใน 4. ด้านระบบยาจิตเวช 5. ด้านผลการเข้าถึงบริการโรคจิตเวชสำคัญ 6. ด้านการผ่านมาตรฐานระบบ psychosocial clinic

More Related