1 / 66

การบริหารยาเพื่อ ความปลอดภัยของผู้ป่วย

การบริหารยาเพื่อ ความปลอดภัยของผู้ป่วย. Medication Management. การคัดเลือก และจัดหายา. การสั่งใช้ยา. การเตรียมยาและการจ่ายยา. การให้ยา. การติดตามการใช้ยา. ตรวจสอบคำสั่งประเมิน ผู้ป่วย ให้ยา. ประเมินการตอบสนองต่อยาของ ผู้ป่วย รายงานอาการและความคลาดเคลื่อน.

silvio
Download Presentation

การบริหารยาเพื่อ ความปลอดภัยของผู้ป่วย

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การบริหารยาเพื่อ ความปลอดภัยของผู้ป่วย

  2. Medication Management การคัดเลือก และจัดหายา การสั่งใช้ยา การเตรียมยาและการจ่ายยา การให้ยา การติดตามการใช้ยา ตรวจสอบคำสั่งประเมิน ผู้ป่วย ให้ยา ประเมินการตอบสนองต่อยาของ ผู้ป่วย รายงานอาการและความคลาดเคลื่อน เกณฑ์การคัดเลือก และจัดซื้อยา สร้างบัญชียา วางมาตรการที่เกี่ยวกับ การใช้ยาให้ปลอดภัย ประเมินความจำเป็นของการใช้ยา จัดซื้อ เก็บรักษา ทบทวนและยืนยันคำสั่ง เตรียมยา กระจายยาถึงผู้ป่วย แพทย์ เภสัชกร พยาบาล พยาบาล ผู้ป่วย/ญาติ ผู้บริหารหรือ PTC

  3. Medication Use การวางแผน ทรัพยากร และการจัดการ การเตรียม จัดจ่าย และให้ยา Drug Reconcile รับใหม่ ย้าย จำหน่าย ส่งมอบให้หน่วยดูแลผู้ป่วย ยาที่ผู้ป่วยนำมา ข้อมูลผู้ป่วย ทั่วไป โรค lab ตรวจสอบ ทบทวนคำสั่ง เหมาะสม ปลอดภัย คำสั่งใช้ยา ชัดเจน เหมาะสม ข้อมูลยา ให้ยาแก่ผู้ป่วย จัดเตรียม ติดตามผลบันทึก ผู้ป่วยได้รับข้อมูลมีส่วนร่วม สื่อสารถ่ายถอดคำสั่ง ถูกต้อง มีมาตรฐาน ติดฉลาก นโยบายป้องกัน ME/ADE ตรวจสอบความถูกต้อง ส่งมอบให้ผู้ป่วย เหตุการณ์ไม่พึงประสงค์ ความคลาดเคลื่อนทางยา สิ่งแวดล้อมทางกายภาพ สะอาด แสงสว่าง ไม่รบกวน รายงาน

  4. Prescribingerror • ความคลาดเคลื่อนของใบสั่งยาจากการสั่งใช้ยาของแพทย์ หมายถึง ความคลาดเคลื่อนในกระบวนการสั่งยาโดยแพทย์ เช่น สั่งยาผิดชนิด ระบุความแรงของยาผิด ไม่ระบุ dosage form ของยา วิธีบริหารยาไม่ชัดเจน

  5. DispensingError • ความคลาดเคลื่อนในกระบวนการจ่ายยาของกลุ่มงานเภสัชกรรมที่จ่ายยาไม่ถูกต้องตามที่ระบุในคำสั่งการใช้ยา ได้แก่ จ่ายยาผิดชนิด จ่ายยาผิดความแรง จ่ายยาผิดรูปแบบ จ่ายยาที่ระบุวิธีรับประทานหรือวิธีใช้ผิดขนาด

  6. AdministrationError • ความคลาดเคลื่อนที่ทำให้ผู้ป่วยได้รับยาที่ผิดจาก ความตั้งใจการสั่งยาของผู้สั่งใช้ยา ได้แก่ ไม่ได้ให้ยาผู้ป่วย ขนาดยาหรือความแรงของยามากไปหรือน้อยไปจากที่ผู้สั่งใช้ยา ให้ยาผิดชนิด เทคนิคการให้ยาผิด ให้ยาผิดเวลา ให้ยาผิดคน เก็บรักษายาไม่ถูกต้อง

  7. สาเหตุสำคัญของ Med error (JCAHO 2001) • ชื่อยาคล้ายคลึงกัน • ลักษณะการบรรจุคล้ายคลึงกัน • ยาที่ใช้ไม่คุ้นเคย • ยาที่ใช้ทั่วไปแต่ผู้ป่วยแพ้ เช่น antibiotics • ยาที่ต้องมีการทดสอบระดับของยาที่อาจก่อให้เกิดอันตรายได้ เช่น digoxinwarfarinthophylline

  8. ชื่อยาที่มีชื่อคล้ายกันชื่อยาที่มีชื่อคล้ายกัน • Ativan • Adrenaline • Aratac • Buscopan • Cardura • Cravit • Ceftriaxone • Methimazole • Paracetamol • Atarax • Adenosine • Atarax • Bisacodyl • Cordarone • Klacid • Ceftazidime • Metronidazole • prednisolone

  9. ยาที่มีลักษณะเสียงคล้ายยาที่มีลักษณะเสียงคล้าย

  10. 1. ยาเม็ดสีฟ้า Warfarin 3 mg บริษัท Orion Pharma Lorazepam 0.5 mg บริษัท LBS lab

  11. 2. ยาเม็ดสีเหลือง Vitamin B complex บริษัท องค์การเภสัชกรรม Amitriptyline 10 mg บริษัท องค์การเภสัชกรรม

  12. 3. ยาเม็ดสีขาว Furosemide 40 mg บริษัท องค์การเภสัชกรรม Diazepam 2 mg บริษัท องค์การเภสัชกรรม

  13. 4. ยาแผงที่มีลักษณะคล้ายกัน Methotrexate 2.5 mg บริษัทRemedica Ltd. Isordil 5 mg sublingual บริษัท Remedica Ltd.

  14. 5.ยาฉีดที่มีลักษณะรูปคล้าย เสียงคล้อง(Look Alike Sound Alike) • Phenytoin Na. 50 mg/ml x 5ml • Dilantin® inj. • บริษัท Pfizer Heparin Na 5,000iu/ml x 5ml Heparin Leo® inj. บริษัท Leo Pharma

  15. ยาฉีดที่มีลักษณะรูปคล้าย เสียงคล้อง(Look Alike Sound Alike)

  16. ยาฉีดที่มีลักษณะรูปคล้าย เสียงคล้อง(Look Alike Sound Alike)

  17. .ยาฉีดที่มีลักษณะรูปคล้าย เสียงคล้อง Streptomycin 1 g. inj. บริษัท General Drugs House Co. Penicillin G 1,000,000 units บริษัท General Drugs House

  18. 6. ยาหยอดตา Prednisolone acetate 1% Inf-Oph® Eye Drop บริษัท แสงไทย เมดิคอล Dexa0.1%+Neomycin 0.5% Dex-oph® Eye-ear Drop บริษัท แสงไทย เมดิคอล

  19. ลักษณะยาที่ดูเหมือน

  20. ปัจจัยที่ทำให้เกิดความคลาดเคลื่อนในการให้ยาปัจจัยที่ทำให้เกิดความคลาดเคลื่อนในการให้ยา • การขาดการสื่อสารผู้สั่งยา ผู้จ่ายยา ผู้ใช้ยา • การมีอัตรากำลังไม่เหมาะสมกับภาระงาน • การขาดการตรวจสอบซ้ำจากบุคคลอื่น • การขาดการฝึกปฏิบัติหรือเน้นให้เห็นความสำคัญของการปฏิบัติตามขั้นตอน

  21. การป้องกันการเกิดความคลาดเคลื่อนในการให้ยาการป้องกันการเกิดความคลาดเคลื่อนในการให้ยา • แพทย์เขียนใบสั่งยาครบถ้วนเพียงใด • เภสัชกรส่งยาให้พยาบาลถูกต้องครบถ้วนเพียงใด • พยาบาลมีมาตรการชัดเจนในการบริหารยาหรือไม่ • มีการสื่อสารที่ดีระหว่างวิชาชีพหรือไม่

  22. ปัจจัยสำคัญที่ช่วยให้พยาบาลบริหารยาได้อย่างปลอดภัยปัจจัยสำคัญที่ช่วยให้พยาบาลบริหารยาได้อย่างปลอดภัย 1.ข้อมูลผู้ป่วย • อายุ น้ำหนัก และส่วนสูง • การวินิจฉัยโรค • ภาวะการตั้งครรภ์และการให้นมบุตร • อาการแพ้ • ยาที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน

  23. ปัจจัยสำคัญที่ช่วยให้พยาบาลบริหารยาได้อย่างปลอดภัย (ต่อ) 2.การระบุตัวผู้ป่วย 3.การติดตามผู้ป่วย 4.การสื่อสารข้อมูลผู้ป่วยไปยังฝ่ายเภสัชกรรม 5.ยาและข้อมูลขนาดการใช้ยา

  24. 5.ยาและข้อมูลขนาดการใช้ยา5.ยาและข้อมูลขนาดการใช้ยา • การเข้ากันไม่ได้ของสารน้ำที่ใช้เจือจาง • ขนาดยาปกติที่ใช้ในเด็ก • ขนาดยาที่ถูกต้องของยาแก้ปวด • ยา IV push ที่ให้ทางหลอดเลือด • ยาเม็ดนั้นบดได้หรือไม่ • อัตราเร็วในการหยดยา

  25. สิ่งที่ควรคำนึงถึงเมื่อให้ยาแก่ผู้ป่วยสิ่งที่ควรคำนึงถึงเมื่อให้ยาแก่ผู้ป่วย • Dosing charts • No more than two in route • Change in dose with change in route • Doses expressed as a ratio or percentage • Adverse Drug Reactions (ADRs)

  26. ปัจจัยสำคัญที่ช่วยให้พยาบาลบริหารยาได้อย่างปลอดภัย (ต่อ) 6.การสื่อสารข้อมูลอย่างถูกต้อง 7.ฉลากยาและบรรจุภัณฑ์ 8.การจัดเก็บยาและมาตรฐานในการจัดเก็บ 9.สิ่งแวดล้อมและภาระงาน การถูกขัดจังหวะ( distractions) ภาระงาน ( workload)

  27. แนวทางปฏิบัติในการติดตามและประเมินผลแนวทางปฏิบัติในการติดตามและประเมินผล การรักษาสำหรับผู้ป่วย

  28. สาเหตุของความคลาดเคลื่อนในการติดตามและประเมินผลสาเหตุของความคลาดเคลื่อนในการติดตามและประเมินผล

  29. การติดตามผลของการใช้ยาการติดตามผลของการใช้ยา

  30. ข้อควรปฏิบัติในการเก็บยาที่หอผู้ป่วยข้อควรปฏิบัติในการเก็บยาที่หอผู้ป่วย • ยาที่ต้องควบคุมอุณหภูมิที่ระบุให้เก็บในตู้เย็น อุณหภูมิอยู่ในช่วง 2-8C ไม่ควรเก็บไว้ที่ฝาตู้เย็น • ยาประเภทที่กำหนดให้เก็บที่อุณหภูมิห้องที่ควบคุม (controlled room) • รายการยาที่ระบุให้เก็บในอุณหภูมิต่ำกว่า 25 C สามารถเก็บไว้ที่ฝาตู้เย็นได้ • รายการยาที่กำหนดให้เก็บพ้นแสง • ยาที่มีความเสี่ยงสูง ควรแยกออกจากยาอื่นๆ • ควรตรวจสอบวันหมดอายุของยาสม่ำเสมอ

  31. การกำหนดวันหมดอายุของยาหลังการเปิดใช้การกำหนดวันหมดอายุของยาหลังการเปิดใช้ • ยาเม็ดชนิดไม่บรรจุแผงเก็บไว้ไม่เกิน 6 เดือน • ยาเม็ดบรรจุแผงให้กำหนดตามที่ระบุไว้บนแผง • ยาน้ำเก็บไว้ไม่เกิน 1 เดือน • ยาฉีด single dose ให้ใช้ภายใน 24 ชั่วโมงหลังเปิด • ยาฉีด multiple dose กำหนดอายุหลังเปิดใช้ 1 เดือน • ยาหยอดตากำหนดอายุหลังเปิดใช้ 1 เดือน

  32. การกำหนดวันหมดอายุของยาและเวชภัณฑ์การกำหนดวันหมดอายุของยาและเวชภัณฑ์ • ยาทุกชนิดให้ดูวันที่ผลิตและวันหมดอายุจากกล่อง หากไม่ระบุวันผลิต ให้ดูจากจากเลข Lot Number โดยตัวเลข 2 หลักแรกคือปีที่ผลิตเช่น Vit K inj Lot Number 113223 หมายถึงผลิตปี 2011 • ยาฉีดหลังเปิดการใช้งาน • Haparinกำหนดอายุหลังเปิดการใช้งาน 14 วัน • Lidocainกำหนดอายุหลังเปิดการใช้งาน 1 เดือน • EKG Red Dot กำหนดอายุหลังวันแบ่งจ่าย 1 เดือน

  33. การเก็บยา Adrenalinในรถฉุกเฉิน • รถฉุกเฉินอยู่ในอุณหภูมิห้องที่ไม่เกิน 25 C อายุยาอยู่ได้ตามวันที่ระบุ • อยู่ห้องที่ไม่ได้ปรับอากาศ ยามีอายุเพียง 6 เดือนนับจากวันที่อยู่อุณหภูมิห้อง • การเก็บในส่วนที่นอกเหนือรถฉุกเฉินสามารถเก็บไว้ที่ฝาตู้เย็นได้ • หมายเหตุ วิธีการเสื่อมของยา ยาเปลี่ยนสีจากเหลืองอ่อนเป็นสีเหลืองเข้มและมีตะกอนเกิดขึ้น

  34. High Alert Drug (HAD) • คำจำกัดความ รายการยาที่มีความเสี่ยงสูง คือ รายการยาที่ทำให้เกิดอันตรายร้ายแรงหรือเสียชีวิตหากมีการใช้ผิดพลาด หรือยาที่มีดัชนีการรักษาแคบ(narrow therapeutic index)

  35. รายการยาที่มีความเสี่ยงสูงรายการยาที่มีความเสี่ยงสูง • Digoxin • Heparin Sodium • Insulin intravenous injection • Warfarin • Morphine sulphate intravenous injection • Potassium Chloride intravenous injection • Thrombolytic agents • Antineoplastic drug injection

  36. Digoxin

  37. อาการพิษจากยาDigoxin • คลื่นไส้ อาเจียน เบื่ออาหาร • ท้องเสีย มึนงง ฝันร้าย การมองเห็นผิดปกติ (เห็นแสงสีเหลือง) • หัวใจเต้นช้าผิดปกติ (Sinus bradycardia) • A-V block • Hypotension • Q-T interval prolongation

  38. การเฝ้าระวังDigoxin • จับชีพจรก่อนให้ยาและหลังให้ยาครบ 1 นาที • กรณีฉีดยา Digoxinทางหลอดเลือดดำให้บันทึกชีพจรทุก 15 นาทีติดต่อกัน 2 ครั้ง ต่อไปทุก 30 นาที ติดต่อกัน 3 ครั้งต่อไปทุก 1 ชั่วโมงจนครบ 5 ชั่วโมง และ monitor EKG • เฝ้าระวังระดับ Potassium ในเลือดไม่ให้ต่ำกว่า 4.0 mEq/L

  39. Heparin

  40. อาการพิษจากHeparin

  41. การแก้ไขอาการพิษ • ให้ยาต้านพิษคือ protamineขนาด 1 มก. ต่อ Heparin 100 unit • ให้หยุด Heparin ทันที หากเกิด throbocytopeniaขึ้นอย่างต่อเนื่อง

  42. การเฝ้าระวัง Heprin • ติดตามค่า PTT, plateletรายงานแพทย์เพื่อปรับขนาดของยา • วัดความดันโลหิตและชีพจรทุก 4 ชั่วโมง • สังเกตุอาการเลือดออกและอาการผิดปกติของสัญญาณชีพ • ถ้าเกิด heprin Induced Thrombocytopenia ให้หยุดยาและรายงานแพทย์

  43. Insulin

  44. การบริหารยา Insulin • กรณีฉีด IV ให้ใช้ regular insulin เท่านั้น • การให้ IVเจือจางใน NSSหรือ 5DWความเข้มข้นมาตรฐาน 100 units insulin/100mlNSS( 1unit/ml) • ก่อนให้ยา ให้ปล่อย Insulinที่เจือจางผ่านสาย IV set 20 ml แรกทิ้งไป เพื่ให้สายยางดูดซับยาไว้ก่อนบริหารยาให้ผู้ป่วย • ความคงตัวหลังผสมเก็บได้นาน 48 ชั่วโมง ทีอุณหภูมิห้องและ 96 ชั่วโมงในตู้เย็น

  45. การเฝ้าระวัง • ภาวะ Hypoglycemiaเช่น ตัวสั่น เหงื่อแตก วิตกกังวล เวียนศรีษะ หิว ใจเต้นเร็ว ตามัว อ่อนเพลีย ปวดศรีษะ หงุดหงิด

  46. Morphine

  47. อาการพิษจาก Morphine • Miosis(ม่านตาหด) หลับลึก • Hypotension • Bradycardia • Apnea • Pulmonary edema

  48. การแก้ไขอาการพิษMorphine • ให้ใช้ naloxone 0.4-2 mg IV(สำหรับเด็กใช้ 0.1 mg/kg) ทุก 2-3 นาที อาจให้ยาซ้ำได้ทุก 20-60 นาที ถ้าจำเป็น แต่ต้องไม่เกิน 10 mg • ให้ Respiratory support • ให้สารน้ำเพื่อ supportระบบหัวใจและ หลอดเลือด

More Related