590 likes | 1.02k Views
ความสำคัญ. สังคมผู้สูงอายุ (60 ปีขึ้นไป) อายุขัยเฉลี่ยมากขึ้น มีโรคทางระบบแต่ดูสุขภาพดี ได้รับยาหลายชนิด การรักษาทางทันตกรรมซับซ้อนขึ้น การฟ้องร้องมากขึ้น. “The best management of medical emergencies is prevention.”. การป้องกันภาวะฉุกเฉิน. การซักประวัติ การตรวจ ร่างกายเบื้องต้น
E N D
ความสำคัญ • สังคมผู้สูงอายุ (60 ปีขึ้นไป) • อายุขัยเฉลี่ยมากขึ้น • มีโรคทางระบบแต่ดูสุขภาพดี • ได้รับยาหลายชนิด • การรักษาทางทันตกรรมซับซ้อนขึ้น • การฟ้องร้องมากขึ้น
“The best management of medical emergencies is prevention.”
การป้องกันภาวะฉุกเฉินการป้องกันภาวะฉุกเฉิน • การซักประวัติ • การตรวจร่างกายเบื้องต้น • การส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ • การส่งปรึกษาแพทย์ • การวางแผนการรักษาอย่างเหมาะสม • การลดความเครียดของผู้ป่วย • การเตรียมความพร้อมสำหรับภาวะฉุกเฉิน • การฝึกอบรม CPR • การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณ์(และยา) • การฝึกจำลองสถานการณ์ การเตรียมทีม • การเข้ารับการอบรมทบทวนอยู่เสมอ
อุปกรณ์ที่ใช้ในภาวะฉุกเฉินอุปกรณ์ที่ใช้ในภาวะฉุกเฉิน • AMBU (Air-Mask-Bag-Unit) • Stethoscope • Sphygmomanometer (digital, aneroid, mercury) • Oro-/nasopharyngeal airway • Endotracheal tube, laryngoscope, styletและอุปกรณ์เสริมอื่นๆ • ยาฉุกเฉิน
ประวัติทางการแพทย์ (Past medical history) • โรคทางระบบในอดีตและปัจจุบัน : เบาหวาน ความดันโลหิตสูง หัวใจ ไต ตับ ปอด • ยาที่ได้รับ • การนอนรักษาในโรงพยาบาล • ประวัติการแพ้ยาและสารต่าง ๆ • สมรรถภาพทางกาย • OPDCard
การตรวจร่างกาย • ลักษณะภายนอกทั่วไป (ซีด เหลือง อ่อนเพลีย) • สัญญาณชีพ (ความดันโลหิต, อัตราชีพจร, อัตราการหายใจ, อุณหภูมิ) • อาการแสดงที่สำคัญต่าง ๆ
ประเภทของภาวะฉุกเฉิน • การเปลี่ยนแปลงระดับของสติสัมปชัญญะ(Alteration of consciousness) • การหมดสติ (Unconsciousness) • ภาวะหายใจลำบาก(Dyspnea) • เจ็บหน้าอก(Chest pain) • ภาวะฉุกเฉินเนื่องจากยา(Drug emergency) • หัวใจหยุดเต้น/ภาวะหยุดหายใจ(Cardiopulmonary arrest)
การรักษาภาวะฉุกเฉินในคลินิกทันตกรรมการรักษาภาวะฉุกเฉินในคลินิกทันตกรรม หลักการทั่วไป 1. หยุดการรักษา นำเครื่องมือต่างๆออกจากปาก 2. ตรวจสอบความรู้สึกตัว (เรียก, เขย่าตัว) 3. ให้ผู้ช่วยตามแพทย์ พยาบาล หรือโทร. 1669 กรณีอยู่นอกโรงพยาบาล 4. จัดท่าผู้ป่วย (Position) 5. เปิดทางเดินหายใจ (Airway)และประเมินการหายใจ look, listen & feel 4. ช่วยหายใจ (Breathing) 6. ประเมินและช่วยการไหลเวียนโลหิต (Circulation)คลำชีพจร, chest compression 7. การรักษาเฉพาะโรค
Mouth to mouth Mouth to nose
CPR 2010 : American Heart Association • Recognize unconsciousness: shake and shout • Call for help: call 1669 • Position the victim: supine • Compression: chest compression ≥ 100/min • Airway: head tilt - chin lift (optional) • Breathing: mouth-to-mouth (optional) • 30 compressions : 2 breaths • 2 helper → change every 2 minutes • Defibrillator
การเปลี่ยนแปลงของสติสัมปชัญญะ/หมดสติ (Alteration of consciousness/unconsciousness) • Vasovagal syncopeเป็นลม • Postural hypotension • Hypoglycemiaน้ำตาลในเลือดต่ำ • Adrenal crisis • Thyroid storm • CVA • Tonic-clonic seizureลมชัก
Vasovagal syncopeเป็นลม ลักษณะ 1. รู้สึกร้อน อึดอัด เหงื่อออก 2. หน้าซีด คลื่นไส้ มือเท้าเย็น 3. หน้ามืดตาลาย เวียนศีรษะ 4. หมดสติ BP ต่ำ ชีพจรเบา การจัดการ 1. นอนราบยกขาสูง 2. ระบายอากาศ ดมแอมโมเนีย 3. คลายเสื้อผ้า ผ้าคลุม 4. ให้glucoseถ้าสงสัย hypoglycemia
Postural hypotension ลักษณะ 1. เวียนศีรษะ หน้ามืด หรือหมดสติ เมื่อเปลี่ยนท่าจากนอนเป็นยืนหรือนั่ง 2. ไม่มีอาการนำอื่น ๆ การจัดการ 1. นอนราบยกขาสูง 2. เมื่ออาการดีขึ้น ค่อย ๆ เปลี่ยนท่าช้า ๆ
Adrenal crisis ลักษณะ 1. มีประวัติกินยาชุด ลูกกลอน สมุนไพร 2. มี cushinoid appearance 3. มีโรคที่เคยได้รับ steroid 4. confusion,ปวดท้อง,หลัง,ขา 5. BPต่ำ , shock,หมดสติ การจัดการ 1. PABC, iv.fluid, hydrocortisone 100 mg iv.
น้ำตาลในเลือดต่ำHypoglycemia ลักษณะทางคลินิก • เป็น DM • หิว คลื่นไส้ ตัวเย็น วิงเวียน • เหงื่อออก กระสับกระส่าย มือสั่น • สับสน หมดสติ การจัดการ • ถ้าไม่หมดสติ ให้น้ำหวาน ลูกอม • ถ้าหมดสติ ให้ 50% glucose50ml. iv.
Thyroid storm ลักษณะทางคลินิก 1. เป็นโรคหรือมีลักษณะของ hyperthyroidism 2. มีอาการของ hyperthyroidismอย่างรุนแรง : กระสับกระส่าย มือสั่น ใจสั่น delirium, coma, PR>100, arrhythmia, fever, sweating, n/v 3. ในผู้สูงอายุ อาจมีอาการตรงข้าม คือ ซึม สับสน หมดสติ การจัดการ 1. PABC 2. ส่งฉุกเฉิน
CVA / Stroke ลักษณะทางคลินิก 1. มีปัจจัยเสี่ยง 2. แขนขาอ่อนแรงข้างเดียวเฉียบพลัน หรือปากเบี้ยว ชาครึ่งตัว 3. อาจหมดสติ การจัดการ • PABC
ลมชักTonic – clonic seizure ลักษณะ 1. อาจมี aura 2. เกร็งทั้งตัว ตามด้วยกระตุกทั้งตัว 3. ไม่รู้สติ น้ำลายฟูมปาก 4. หยุดเองใน 3-5 นาที จากนั้นอาจอ่อนเพลีย หมดสติ การจัดการ 1. เอาเครื่องมือออกจากปาก ห้ามนำสิ่งของให้กัดหรืองัดปาก อาจ suctionถ้าทำได้ 2. ให้นอนบน unit 3. ระวังตกหรือบาดเจ็บจากการกระแทกสิ่งของ 4. ถ้าไม่ดีขึ้นใน3-5 นาที ตามหน่วยฉุกเฉินเพื่อให้ diazepam iv.
ภาวะหายใจลำบาก Dyspnea • Hyperventilation syndrome • Asthma หอบหืด • COPD • Heart failure หัวใจวาย • Airway obstruction สิ่งแปลกปลอมอุดตันทางเดินหายใจ
Hyperventilation syndrome ลักษณะทางคลินิก 1. กลัว กระสับกระส่าย 2. หายใจเร็วแรง รู้สึกหายใจไม่ออก 3. มือเท้าชา มือจีบเกร็ง การจัดการ 1. หยุดการรักษา 2. ปลอบผู้ป่วย จัดท่าที่สบาย 3. ให้หายใจช้าลง 4. ถ้าผู้ป่วยทำไม่ได้ ให้หายใจในถุงกระดาษ หรืออุ้งมือที่ปิดปากและจมูก 5. ถ้าไม่ดีขึ้น อาจให้ diazepam 5-10 mg iv.
หอบหืดAsthma ลักษณะ 1. มีโรคอยู่เดิม มักอายุน้อย 2. หายใจลำบาก แน่นหน้าอก หายใจเร็วแรง 3. suprasternal retractionใช้ accessory m. 4. เสียง wheezeที่ปอด หรือเสียงหายใจเบาลงมาก การจัดการ 1. จัดท่านั่งเอน 2. ให้inhaled bronchodilator 3. ให้ออกซิเจน
COPD ลักษณะ 1. มีโรคอยู่เดิม อายุมาก สูบบุหรี่จัดมานาน 2. ไอเรื้อรัง เสมหะมาก 3. เหมือน Asthma การจัดการ 1. จัดท่านั่งเอน 2. ให้inhaled bronchodilator (ตอบสนองน้อยกว่าใน asthma) 3. ให้ออกซิเจนlow flow
หัวใจวายHeart failure • ลักษณะ • 1. มี CHF อยู่เดิม หรือมีโรคหัวใจและหลอดเลือดอยู่ก่อน • 2. แน่นหน้าอก หายใจลำบาก หายใจเร็วหอบ • 3. jugular v. โป่ง • 4. มี wheezimg ที่ปอด • การจัดการ • 1 . จัดท่านั่งเอน • 2. ให้ออกซิเจน
สิ่งแปลกปลอมอุดตันทางเดินหายใจAirway obstruction • Choking • Stridor • Dyspnea • Cyanosis, unconscious
สิ่งแปลกปลอมอุดตันทางเดินหายใจAirway obstruction • ให้ลุกนั่งให้ไอแรง ๆ ตบหลัง ถ้าไม่สำเร็จ • ไม่หมดสติ →Heimlich maneuver • หมดสติ → นอนราบ →abdominal trust • ถ้าไม่สำเร็จ → ให้ O2 → cricothyroidotomy (cricothyroid membrane puncture)
เจ็บหน้าอกChest pain • Cardiac chest pain :เจ็บแน่นกลางหน้าอก อาจร้าวไปแขน, ไหล่, หลัง, กรามซ้าย แน่นจนต้องหยุดพัก หายใจลำบาก เหงื่อออก หน้าซีด อาจหมดสติ • Non-cardiac chest pain
Cardiac chest pain การจัดการ 1. หยุดการรักษา 2. Nitroglycerineหรือ Isordilอมหรือพ่นใต้ลิ้น ให้ซ้ำได้ภายใน 5-10 นาที ถ้าอาการไม่ดีขึ้น 3. ให้ออกซิเจน 4. ถ้าอาการเจ็บหน้าอกรุนแรง และให้ยาซ้ำแล้วอาการไม่ดีขึ้น อาจเป็น MI ให้ส่งฉุกเฉิน
ภาวะฉุกเฉินจากยา Drug emergency • แพ้ยา (drug allergy) • ยาชาเกินขนาด (LA. overdosage)
การแพ้ยาแบบเฉียบพลันAnaphylaxisการแพ้ยาแบบเฉียบพลันAnaphylaxis ลักษณะ • ผื่นแดงคัน (urticaria) • หน้า, เปลือกตา, ปาก บวม (angioneurotic edema) • หายใจลำบาก หอบทางเดินหายใจอุดตัน เนื่องจาก larynx บวม, wheez • คลื่นไส้ อาเจียน ปวดท้อง diarrhea • hypotension/shock, cardiac arrest