1 / 28

โดย นางกรรณิการ์ บรรเทิงจิตร รองเลขาธิการคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ

การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนากระบวนการนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพแบบมีส่วน่วม ด้วยกระบวนการสมัชชาสุขภาพจังหวัด (PHA : Provincial Health Assembly) วันที่ ๑๖-๑๗ ก.ค. ๒๕๕๗ ณ โรงแรม ไมด้า ซิตี้ รีสอร์ท กทม. โดย นางกรรณิการ์ บรรเทิงจิตร รองเลขาธิการคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ.

Download Presentation

โดย นางกรรณิการ์ บรรเทิงจิตร รองเลขาธิการคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ

An Image/Link below is provided (as is) to download presentation Download Policy: Content on the Website is provided to you AS IS for your information and personal use and may not be sold / licensed / shared on other websites without getting consent from its author. Content is provided to you AS IS for your information and personal use only. Download presentation by click this link. While downloading, if for some reason you are not able to download a presentation, the publisher may have deleted the file from their server. During download, if you can't get a presentation, the file might be deleted by the publisher.

E N D

Presentation Transcript


  1. การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนากระบวนการนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพแบบมีส่วน่วม ด้วยกระบวนการสมัชชาสุขภาพจังหวัด (PHA : Provincial Health Assembly)วันที่ ๑๖-๑๗ ก.ค. ๒๕๕๗ ณ โรงแรมไมด้าซิตี้ รีสอร์ท กทม. โดย นางกรรณิการ์ บรรเทิงจิตร รองเลขาธิการคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ

  2. พัฒนาการของสมัชชาสุขภาพจังหวัดในภาคกลาง ตั้งแต่ 2544-ปัจจุบัน แบ่งเป็น 2 ยุค ยุคที่1 2544-2549 (AHA ). ก่อน พรบ เป็นแบบธรรมชาติ มุ่งผลักดัน พรบ สุขภาพแห่งชาติ 2550 จัดสมัชชาสุขภาพแบบไร้รูปแบบ สมัชชาสุขภาพแห่งชาติ 6 ครั้งยุคที่ 2 หลัง  มี  พรบ สุขภาพแห่งชาติ          2.1. 2551-2554 สมัชชาสุขภาพจังหวัด เริ่มต้นจริงจังพัฒนากลไกจังหวัด โดยยังไม่มีแนวทางที่ชัดเจน          2.2. 2554-ปัจจุบัน เน้นการจัดสมัชชาสุขภาพจังหวัด เรียกว่า PHA มีแนวทางการทำงาน เป็นระบบมากขึ้น  เป้าหมาย เน้นการพัฒนาและขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพของพื้นที่ ด้วยเครืองมือตาม พรบ สุขภาพแห่งชาติ ทั้งสมัชชาสุขภาพธรรมนูญสุขภาพ HIA.

  3. สิ่งที่เกิดขึ้นระหว่างทางจาก สช 1.การพัฒนาศักยภาพของแกนนำPHA. เรียกว่า นนส2.โครงการ 500 ตำบลความร่วมมือกับภาคีเครือข่ายยุทธศาสตร์ สปสช. พอช. สสส.สปสช.เขต ๖ จ. ระยอง โดยกองทุนสุขภาพตำบลของเขต จัดทำธรรมนูญสุขภาพ 120 แห่ง

  4. พัฒนาการสมัชชาสุขภาพแห่งชาติพัฒนาการสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ ก่อน พรบ จัดสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ  มา6 ครั้ง การทดลองสาธิต สมัชชาสุขภาพแห่งชาติ เน้นการขับเคลื่อนสังคมหลัง พรบสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ (NHA ). เริ่ม 2551  มี มีกลไกสำคัญ คจ.สช. มีหลักเกณฑ์และวิธีการจัดสมัชชาสุขภาพแห่งชาติชัดเจน แข็งตัวขึ้น เน้นการพัฒนานโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ  และการมีส่วนร่วมจากกลุ่มเครือข่าย เริ่มจาก 160, 180 กลุ่มเครือข่าย ทบทวนกลุ่มเครือข่ายจนได้มา 234 กลุ่มเครือข่าย มติได้มา 59 มติ  2554 เริ่มมี คณะกรรมการขับเคลื่อนและติดตามมติ (คมส) เริ่มมีความชัดเจนมากขึ้น

  5. คจ.สช.คณะกรรมการจัดสมัชชาสุขภาพแห่งชาติคจ.สช.คณะกรรมการจัดสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ • ประธาน  คนที่1 2551-2552 นพ สุวิทย์ วิบุลผลประเสริฐ  ภาคราชการประธาน  คนที2 2553-2554 รศ  ดร ชื่นฤทัย กาญจนจิตรา ภาควิชาการประธาน. คนที3 2555-2556  ดร  ศิรินา ปวโรราฬวิทยา ภาคธุรกิจประธาน  คนที4 2557-          นายเจษฏา มิ่งสมร ภาคประชาสังคมคมสประธานคนที่ 1 นายสุพัฒน์ ฉะเชิงเทราประธานคนที่2 นพ ณรงศักดิ์

  6. ปี2556 ยกระดับการจัดสมัชชาชาติ ทั้งขาขึ้นและขาเคลื่อนไปพร้อมๆกัน2557 ปรับกระบวนการพัฒนาประเด็นนโยบายสาธารณะฯ เน้นการมีส่วนร่วมอย่างจริงจัง (ผัง)การเชื่อมโยงระหว่างสมัชชาสุขภาพจังหวัดกับสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ-เสนอประเด็นเป็นร่างระเบียบวาระการประชุม (นโยบายสาธารณะ)ในสมัชชาสุขภาพแห่งชาติได้-ให้ความเห็นต่อเอกสารร่างระเบียบวาระ-เป็นผู้แทนกลุ่มเครือข่ายพื้นที่ ไป ลปรร ให้ความเห็นแบบฉันทมติ ในช่วงการประชุมNHA. อย่างมีคุณภาพ-กลับมาขับเคลื่อนมติสมัชชาสุขภาพแห่งชาติในพื้นที่ ที่สอดคล้องกับมติ-การสื่อสารสังคมกับพื้นที่ตลอดกระบวนการ

  7. (ร่าง) แนวทางการจัดสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ ครั้งที่ ๗ (ปรับปรุงเมื่อ ๒๗ กพ.๕๗) พัฒนาข้อเสนอเชิงนโยบาย มติ NHA กำหนด ร่างระเบียบวาระ NHA (คจสช.) รับฟังความเห็น เครือข่าย ก่อน NHA (สช.) พิจารณาความพร้อมของเอกสารและกลไกที่เกี่ยวข้อง (คจสช.) การประชุม คณะทำงานวิชาการเฉพาะประเด็นพัฒนาเอกสารรายงานและร่างมติ การรับประเด็น เวทีรับฟัง ความเห็น เฉพาะประเด็น พร้อม หาฉันทามติ ใน NHA 1.เชิงรับ 1.1ประเด็นที่เสนอจากองค์กร หน่วย งาน และภาคีเครือข่ายต่าง ๆ รายงานผลการดำเนินงานตามมติสมัชชาสุขภาพแห่งชาติที่ผ่านมา (อนุฯ วิชาการ)/อนุฯเฉพาะกิจ) คสช. ไม่พร้อม สนับสนุนการพัฒนาต่อเนื่อง สนับสนุนการพัฒนา PHPP โดยใช้ IHA และรูปแบบอื่น ๆ (สช.) คมส. 1.2ประเด็นปัญหาสุขภาพที่สำคัญที่เสนอจาก คสช. และคณะกรรมการที่แต่งตั้งโดย คสช. กลั่นกรอง ข้อเสนอประเด็น นโยบายฯ (อนุฯ วิชาการ) กิจกรรมอื่นๆ ภาคี/เครือข่ายนำมติไปขับเคลื่อน 1.3 ประเด็นที่เกิดจากการทบทวนมติสมัชชาสุขภาพ แห่งชาติที่ผ่านมา ควรขอความเห็น จาก คมส. (เฉพาะ 1.3) ขับเคลื่อนมติ IHA ไปสู่การปฏิบัติ 3 8 9 6 7 4 2 1 5 ประชุมวิชาการ/พัฒนาศักยภาพ ประสาน หนุนเสริม ติดตาม ขับเคลื่อน ผลักดัน ผ่านช่องทางต่าง ๆ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ รูปธรรมของประเด็น ระดับพื้นที่ 2. เชิงรุก (ชักชวน กระตุ้น หนุนเสริม) การพัฒนาวิชาการ สนับสนุนการขับเคลื่อนมติสมัชชาสุขภาพแห่งชาติที่ผ่านมา บทเรียนการพัฒนา PHPP ระดับต่างๆ การจัดการเครือข่าย/ การสื่อสารทางสังคม / งานต่างประเทศ/การบริหารจัดการ รางวัลสมัชชา นำเสนอรูปธรรม/ความคืบหน้าการขับเคลื่อนมติ

  8. การผลักใสให้อยู่ชายขอบการผลักใสให้อยู่ชายขอบ • กลุ่มชนดั่งเดิม • การกดขี่ • การค้าและตลาด • การไหลของทุน • วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี • สิทธิบัตร ความขัดแย้ง การกีดกันทางสังคม ความรุนแรง ความยากจน ผู้สูงอายุ โลกาภิวัตน์ พัฒนาเด็กปฐมวัย เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร วิถีชีวิต กายภาพ/ชีวภาพ บรรยากาศทางการเมือง แอลกอฮอล์ ปัจเจกบุคคล พฤติกรรม เศรษฐกิจ/การเมือง สิ่งแวดล้อม ยาสูบ ความเชื่อ วัฒนธรรม/ศาสนา พันธุกรรม ภัยธรรมชาติ ยาเสพติด ประชากร จิตวิญญาณ การศึกษา สุขภาพ เพศสภาพ ภาวะโลกร้อน ความมั่งคงปลอดภัย สตรี การขนส่ง ทุนทางสังคม การศึกษาทางวิชาชีพ เมือง/ชนบท ระบบบริการสุขภาพ สิทธิมนุษยชน คุณภาพและประสิทธิภาพ ความเท่าเทียม/ความครอบคลุม/ ชนิดและระดับการบริการ การแพทย์ทางเลือกและการแพทย์พื้นบ้าน อาหาร ปัจจัยกำหนดสุขภาพ บริการสาธารณะ/บริการเอกชน การจ้างงาน การเงินการคลังด้านสุขภาพ การสาธารณสุขมูลฐาน สุขภาวะทางกายและจิตใจ สุขภาวะทางจิตวิญญาณ

  9. ระบบสุขภาพ ระบบสุขภาพ ระบบสาธารณสุข ระบบบริการ ทางการแพทย์ ระบบความสัมพันธ์ทั้งมวลที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพ

  10. ระบบสุขภาพใหม่ • สร้างนำซ่อม • สุขภาวะเป็นเรื่องของทุกคน + ทุกภาคส่วน ระบบสุขภาวะของสังคม

  11. คสช. ส่งเสริมสิทธิหน้าที่ด้านสุขภาพ • นายกรัฐมนตรี: ประธาน ธรรมนูญว่าด้วยระบบสุขภาพแห่งชาติ ภาควิชาการ สมัชชาสุขภาพ พหุภาคี • เฉพาะพื้นที่ • เฉพาะประเด็น • แห่งชาติ การประเมินผลกระทบด้านสุขภาพ ภาคประชาชน ภาครัฐ การขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ “เมืองไทยหัวใจมนุษย์” สช. • หน่วยงานของรัฐในกำกับนายกรัฐมนตรี กลไกและงานสำคัญภายใต้ พ.ร.บ.สุขภาพ คบ.

  12. นโยบายสาธารณะ (Public Policy)คืออะไร นโยบาย นโยบายสาธารณะ สาธารณะ แนวทางที่มีลักษณะเป็นคำพูด ลายลักษณ์อักษร หรือเป็นนัยที่กำหนดไว้เพื่อบ่งชี้ทิศทาง และเงื่อนไข หรือข้อจำกัดของการกระทำด้านการบริหารจัดการที่จะช่วยนำไปสู่การบรรลุผลตามที่ต้องการ ทิศทางหรือแนวทางที่สังคมโดยรวมเห็นว่าหรือเชื่อว่าควรจะดำเนินการไปในทิศทางนั้น ประเด็น กิจการ หรือกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการดำรงอยู่ร่วมกัน และมีความเกี่ยวพัน กับคนจำนวนมาก หรือมหาชน . +

  13. นโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ (Healthy Public Policy) • แสดงความห่วงใยอย่างชัดเจนในเรื่องสุขภาพ • พร้อมที่จะรับผิดชอบต่อผลกระทบทางสุขภาพที่อาจเกิดขึ้นจากนโยบายนั้น ขณะเดียวกันก็เป็นนโยบายที่ • มุ่งสร้างเสริมสิ่งแวดล้อมทั้งทางสังคมและกายภาพที่เอื้อต่อการมีชีวิตที่มีสุขภาพดี • มุ่งให้ประชาชนมีทางเลือกและสามารถเข้าถึงทางเลือกที่ก่อให้เกิดสุขภาพดีได้

  14. ตำแหน่งแห่งที่ของการพัฒนานโยบายสาธารณะในระบอบประชาธิปไตยตำแหน่งแห่งที่ของการพัฒนานโยบายสาธารณะในระบอบประชาธิปไตย ประชาธิปไตย แบบตัวแทน ประชาธิปไตย แบบมีส่วนร่วม ประชาธิปไตย ทางตรง

  15. ห้ายุทธศาสตร์เพื่อสร้างสุขภาพห้ายุทธศาสตร์เพื่อสร้างสุขภาพ • การพัฒนาและขับเคลื่อน นโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพ(ที่เน้นการมีส่วนร่วมด้วยเครื่องมือและกลไกต่างๆ) • การพัฒนาสิ่งแวดล้อม/สภาพแวดล้อมให้เอื้อต่อสุขภาพ • การสนับสนุนการสร้างความเข้มแข็งของชุมชนท้องถิ่น • การปรับเปลี่ยนระบบบริการสุขภาพให้เชื่อมต่อการสร้างสุขภาพ • การพัฒนาทักษะด้านสุขภาพส่วนบุคคลและครอบครัว

  16. การอภิบาล๓รูปแบบ(3 Types of Governances) รัฐ ผู้ประกอบการ โดยเครือข่าย โดยรัฐ โดยตลาด ประชาชน ผู้บริโภค Edit ๗ มีนาคม ๒๕๕๗

  17. KM-PC-57001

  18. สี่ยุทธศาสตร์การทำงานตาม พรบ.สุขภาพแห่งชาติ • พัฒนาขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพแบบมีส่วนร่วม - พัฒนาระบบ กลไก และเครื่องมือ PHPP - พัฒนาศักยภาพองค์กร / คน 2. พัฒนาวิชาการ - สร้างความรู้ใหม่ - จัดการความรู้ 3. สื่อสารทางสังคม 4. บริหารจัดการ “นนส.” “นักสานพลัง ขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพแบบมีส่วนร่วม และการพัฒนาสังคมสุขภาวะ”

  19. การอภิบาลโดยเครือข่าย Governance by Networking Actor (ผู้เกี่ยวข้อง) Multiple (หลากหลาย) A Broad Spectrum of Interest (ความสนใจกว้างขวางหลากหลาย Broad (กว้างขวาง) b 1.ค่านิยมร่วม(Value) 2.หลักการร่วม (Principle) 3. เป้าหมายร่วม (Goal) 4.กติการ่วม (Rule) 5.ทรัพยากรร่วม (Resources) Common(การร่วม) c Deliberate (ถกแถลง)/ Participation (มีส่วนร่วม) Deliberate (การถกแถลง) d Engagement (ความสัมพันธ์) Horizontal (แนวนอน) e

  20. ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคกลาง การสนับสนุนการพัฒนากระบวนการนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพแบบมีส่วนร่วมในระดับพื้นที่ภาคกลาง โดย สำนักสนับสนุนปฏิบัติการพื้นที่ (สปพ.) ภาคใต้

  21. พัฒนา กลไก PHA เชียงราย พัฒนา กลไก PHA อุดรธานี พัฒนา กลไก PHA ปัตตานี พัฒนา กลไก PHA ลพบุรี นครปฐม

  22. สนับสนุนงบประมาณแล้ว ลงพื้นที่แล้วและอยู่ระหว่างพัฒนาแผนงาน/โครงการ อยู่ระหว่างการเชื่อมประสาน

  23. การดำเนินงานพัฒนานโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพแบบมีส่วนร่วมในระดับตำบล (โครงการ 500 ตำบล) ปี 2556-2557 ภาคกลาง 3 จังหวัด ฉะเชิงเทรา จันทบุรีและนครปฐม จำนวน 60 ตำบล

  24. การสนับสนุนการพัฒนาธรรมนูญสุขภาพพื้นที่การสนับสนุนการพัฒนาธรรมนูญสุขภาพพื้นที่ จ.สระแก้ว (๗ พื้นที่ : บ้านคลองอาราง,ต.ทับพริก,ต.บ้านแก้ง, ต.วังทอง ต.วังสมบูรณ์ ต.วังใหม่, ต.ห้วยโจษ) จ.ฉะเชิงเทรา (๑๕ พื้นที่ : ต.บางพระ, ต.ดงน้อย, ต.บางคา, ต.เมืองใหม่, ต.บางกรูด, ต.สิงห์โตทอง, ต.หนองยาว, ต.หนองแหน, อ.ราชสาส์น, ท่าข้าม, ดอนทราย, ฉิมพลี, บางสวน,หนองไม้แก่น,ก้อนแก้ว) จ.ตราด (๑ พื้นที่ : ห้วยแล้ง) จ.ชลบุรี (๓ พื้นที่ : บ้านปึก,หนองเสือ,อ่าวอุดม) จ.จันทบุรี (๒ พื้นที่ : ขุนซ่อง,บางสะเก้า) จ.ระยอง (๑ พื้นที่ : ซากบก) จ.สมุทรปราการ (๑๕ พื้นที่ : บางพึ่ง,บางน้ำผึ้ง,สำโรงกลาง,ปากคลอง,นาเกลือ,บางบ่อ,คลองสวน,คลองด่าน,เทพารักษ์,บางปูใหม่,บางโปรง,บางแก้ว,บางเสาธง,หนองปรือ,บางพลีน้อย) สพป.เขต ๒ราชบุรีร่วมกับสช. พัฒนากระบวนการจัดทำธรรมนูญสุขภาพพื้นที่ ๖๐ พื้นที่ จ.ปราจีนบุรี (๓ พื้นที่ : ต.เขาไม้แก้ว,ต.นนทรี,ต.ดงขี้เหล็ก) องค์กรภาคี สปสช.เขต ๖ ระยอง ร่วมกับ สช. พัฒนากระบวนการจัดทำธรรมนูญสุขภาพพื้นที่ร่วมกับจำนวน ๘ จังหวัด ๑๒๐ ตำบล พัฒนาแหล่งเรียนรู้ธรรมนูญสุขภาพ ๔ แห่งได้แก่ ๑)ธรรมนูญสุขภาพต.บ้านแก้ง จ.สระแก้ว ๒) ธรรมนูญสุขภาพ ต.หนองยาว ๓)ต.หนองแหน และ ๔) ต.เมืองใหม่ จ.ฉะเชิงเทรา อยู่ระหว่างการพัฒนาขับเคลื่อนธรรมนูญสุขภาพอำเภอได้แก่ อ.วังสมบูรณ์ จ.สระแก้ว อ.นิคมพัฒนาและ อ.เขาชะเมา จ.ระยอง

  25. สนับสนุนการพัฒนากระบวนการประเมินผลกระทบด้านสุขภาพ (HIA) • พื้นที่คาดการณ์ในอนาคต • ท่าเรือน้ำลึกแหลมฉบัง เฟส ๑ บ้านอ่าวอุดม อ.ศรีราชา จ.ชลบุรี • ท่าเรือบ้านโพธิ์ อ.บ้านโพธิ์ จ.ฉะเชิงเทรา • โรงไฟฟ้าถ่านหิน ต.เขาหินซ้อน อ.พนมสารคาม จ.ฉะเชิงเทรา “อาหาร-ถ่านหิน : จุดตัดการพัฒนาบนพื้นที่เกษตรกรรมพนมสารคาม-สนามชัยเขต” • การปนเปื้อนขยะอุตสาหกรรม ที่หนองแหน อ.พนมสารคาม จ.ฉะเชิงเทรา (CHIA)

  26. พัฒนาโปรแกรมนักสานพลังขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะพัฒนาโปรแกรมนักสานพลังขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะ เพื่อสุขภาพแบบมีส่วนร่วม (HPP Program) ปี 2555-2557 “นักสานพลัง” รุ่นปี 2555 จำนวน 12 คน เสียชีวิต 1 คน 1. กรุงเทพมหานคร : น.ส.ชนากานต์ อาทรประชาชิต, นายพีธากร ศรีบุตรวงศ์, ภญ.สรีรโรจน์ สุกมลสันต์สันต์,นายอนนต์ อันติมานนท์ 2. นครปฐม : ผศ.ดร.เกศินี จุฑาวิจิตร, อ.ภัธทรา โต๊ะบุรินทร์ 3. ปทุมธานี :นายประกาศ เปล่งพานิช 4. นนทบุรี : นางโชติรส โสมนรินทร์ 5. สมุทรปราการ : นางทิพาภรณ์สังขพันธ์ 6. อ่างทอง : นางสาวนาฎธิชา ชั้วทอง (เสียชีวิตแล้ว) 7. ฉะเชิงเทรา : นายเจษฎา มิ่งสมร, ผศ.ดร. กุลวดี โรจน์ไพศาลกิจ “นักสานพลัง” รุ่นปี 2556 จำนวน 12 คน เสียชีวิต 1 คน 1. สระบุรี : นายวัชรพล ในอรุณ, นายวันพิพัฒน์ คมภักดี, ผศ.บุญช่วย จินดาประพันธ์(เสียชีวิตแล้ว), นายสุขสวัสดิ์ วงศ์เตชะ 2. ลพบุรี : นางสาวสุนีย์ ใบชา, ดร.วิทยา จันทร์แดง, น.ส.ภรธิดา เวียงสงค์ 3. ระยอง :ดร.ปุณิกา ศรีติมงคล, นายสุทธิธรรม เลขวิวัฒน์, น.ส.สมใจ เขียวชอุ่ม 4. สระแก้ว :นายวิจิตต์ สีมา, นายวิชิต คำไกร “นักสานพลัง” รุ่นปี 2557 จำนวน 9 คน 1. ชัยนาท (พรทิพย์ ขุนวิเศษ,วรพล แย้มเลี้ยง) 2. กาญจนบุรี (เอมอร บุตรแสงดี/สุนทร สุริโย) 3. ปราจีนบุรี (สมิทธิ์ สาสะเดาะห์ ,ระตะนะ ศรีวรกุล ,สมบัติ ขอมดำดิน) 4.สุพรรณบุรี (เชลศ ธำรงฐิติกุล) 5. สมุทรสงคราม (สนอง คล้ำฉิม)

  27. นักสานพลังรุ่นปี 2557

  28. เป้าหมาย “สังคมสุขภาวะ”

More Related