420 likes | 548 Views
ทนทวน กระบวนการ จัดทำแผนน้ำจังหวัด. โครงการศูนย์วิจัยระบบการวางแผนจัดการทรัพยากรน้ำ เพื่อความมั่นคงระดับจังหวัด. โดย ดนัย จำปานิล. หน่วยปฏิบัติการวิจัยระบบการจัดการแหล่งน้ำ คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. การจัดทำแผนจัดการทรัพยากรน้ำจังหวัด
E N D
ทนทวนกระบวนการจัดทำแผนน้ำจังหวัดทนทวนกระบวนการจัดทำแผนน้ำจังหวัด โครงการศูนย์วิจัยระบบการวางแผนจัดการทรัพยากรน้ำเพื่อความมั่นคงระดับจังหวัด โดยดนัย จำปานิล หน่วยปฏิบัติการวิจัยระบบการจัดการแหล่งน้ำ คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
การจัดทำแผนจัดการทรัพยากรน้ำจังหวัด - การวางแผนจัดการทรัพยากรน้ำระยะยาว 4 ปี - การวางแผนจัดการทรัพยากรน้ำจังหวัดแผนปฏิบัติรายปี/แผน เฉพาะหน้า ในกระบวนการจัดทำแผนจัดการน้ำจังหวัดแบบบูรณาการประกอบด้วยประเด็นหลักอยู่ 5 ส่วน ได้แก่ • 1) ข้อมูลสนับสนุนการจัดทำแผนบริหารจัดการทรัพยากรน้ำของจังหวัด เชิงบูรณาการ • 2) เป้าประสงค์ของการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำเชิงบูรณาการตามวิสัยทัศน์ • ของจังหวัด • 3)กรอบเนื้อหาของแผนบริหารจัดการทรัพยากรน้ำของจังหวัดเชิงบูรณาการ • 4)ขั้นตอนการจัดทำแผนบริหารจัดการทรัพยากรน้ำของจังหวัดเชิงบูรณาการ • 5) ขั้นตอนการนำแผนบริหารแผนบริหารจัดการทรัพยากรน้ำของจังหวัด เชิงบูรณาการไปสู่การปฏิบัติ
กรอบเนื้อหาของแผนบริหารจัดการทรัพยากรน้ำของจังหวัดเชิงบูรณาการ
กระบวนการหาความต้องการน้ำในอนาคตกระบวนการหาความต้องการน้ำในอนาคต
กระบวนการกำหนดสถานการณ์น้ำและเหตุวิกฤติกระบวนการกำหนดสถานการณ์น้ำและเหตุวิกฤติ
การจัดทำแผนจัดการทรัพยากรน้ำชุมชน มีขั้นตอนการดำเนินการ ดังนี้ • 1) ข้อมูลสนับสนุนการจัดทำแผนบริหารจัดการน้ำชุมชน • 2) เป้าประสงค์ของการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำชุมชน • 3) กรอบเนื้อหาของแผนบริหารจัดการทรัพยากรน้ำชุมชน • 4) ขั้นตอนการจัดทำแผนจัดการทรัพยากรน้ำของชุมชนและนำสู่แผนจัดการทรัพยากรน้ำจังหวัด • 5) ขั้นตอนการนำแผนบริหารแผนบริหารจัดการทรัพยากรน้ำของชุมชน • ไปบูรณาการกับแผนจัดการทรัพยากรจังหวัด
ความสัมพันธ์ของกระบวนการจัดทำแผนจัดการทรัพยากรน้ำชุมชนและแผนจัดการทรัพยากรน้ำจังหวัดความสัมพันธ์ของกระบวนการจัดทำแผนจัดการทรัพยากรน้ำชุมชนและแผนจัดการทรัพยากรน้ำจังหวัด
การประมาณการความต้องการใช้น้ำจากทิศทางการพัฒนาของจังหวัดการประมาณการความต้องการใช้น้ำจากทิศทางการพัฒนาของจังหวัด ในการประมาณการความต้องการใช้น้ำ ทางคณะผู้วิจัยได้นำแนวทางต่างๆ มาใช้เป็นกรอบในการคิดคำนวณปริมาณความต้องการใช้น้ำเพื่อให้สอดคล้อง • กับความต้องการใช้น้ำที่แท้จริง ทั้งนี้ แนวทางที่นำมาใช้ในการประมาณการ • ความต้องการใช้น้ำ ประกอบด้วย 3แนวทางคือ แนวทางที่1 การนำแผนพัฒนา • จังหวัดหรือแผนพัฒนาที่เกี่ยวข้องมาใช้เป็นกรอบในการคิดคำนวณ แนวทางที่ 2 • การพยากรณ์ความต้องการใช้น้ำในอนาคตจากปริมาณการใช้น้ำจากอดีต • และปัจจุบัน แนวทางที่ 3 การพยากรณ์ความต้องการใช้น้ำในอนาคต จากผลสรุป • จากการประชุมเชิงปฎิบัติการครั้งที่ 1
แนวทางที่ 1 แผนพัฒนาจังหวัดหรือแผนพัฒนาที่เกี่ยวข้อง กรอบในการการประมาณการความต้องการใช้น้ำ(Water Demand) แนวทางที่ 2 แนวโน้มการใช้น้ำในอดีต แนวทางที่ 3 สรุปผลการประชุมเชิงปฎิบัติการครั้งที่ 1 กรอบแนวคิดในการประมาณการความต้องการใช้น้ำ
กรอบแนวคิดในการประมาณการความต้องการใช้น้ำกรอบแนวคิดในการประมาณการความต้องการใช้น้ำ
การจัดหาน้ำ/ การใช้น้ำ/ สถานการณ์น้ำปัจจุบันและอนาคต
ปริมาณการจัดหาน้ำในแต่ละตำบลของจังหวัดนครปฐมปริมาณการจัดหาน้ำในแต่ละตำบลของจังหวัดนครปฐม
ปริมาณการจัดหาน้ำในแต่ละตำบลของจังหวัดนครศรีธรรมราชปริมาณการจัดหาน้ำในแต่ละตำบลของจังหวัดนครศรีธรรมราช
ปริมาณการจัดหาน้ำในแต่ละตำบลของจังหวัดพัทลุงปริมาณการจัดหาน้ำในแต่ละตำบลของจังหวัดพัทลุง
ปริมาณการจัดหาน้ำในแต่ละตำบลของจังหวัดสมุทรสงครามปริมาณการจัดหาน้ำในแต่ละตำบลของจังหวัดสมุทรสงคราม
แนวโน้มการใช้น้ำอุปโภคบริโภคในช่วงปี พ.ศ. 2541 – 2550
แนวโน้มการใช้น้ำอุตสาหกรรมในช่วงปี พ.ศ. 2541 – 2550
ปริมาณการใช้น้ำเพื่อเกษตรกรรมในเขตชลประทานและนอกเขตชลประทานปริมาณการใช้น้ำเพื่อเกษตรกรรมในเขตชลประทานและนอกเขตชลประทาน
แนวโน้มการใช้น้ำเพื่อเกษตรกรรมช่วงปี พ.ศ. 2541 – 2550
ปริมาณการใช้น้ำด้านอุปโภคบริโภค เกษตรกรรม อุตสาหกรรม
ปริมาณการใช้น้ำในแต่ละตำบลของจังหวัดนครปฐมปริมาณการใช้น้ำในแต่ละตำบลของจังหวัดนครปฐม
ปริมาณการใช้น้ำในแต่ละตำบลของจังหวัดนครศรีธรรมราชปริมาณการใช้น้ำในแต่ละตำบลของจังหวัดนครศรีธรรมราช
ปริมาณการใช้น้ำในแต่ละตำบลของจังหวัดพัทลุงปริมาณการใช้น้ำในแต่ละตำบลของจังหวัดพัทลุง
ปริมาณการใช้น้ำในแต่ละตำบลของจังหวัดสมุทรสงครามปริมาณการใช้น้ำในแต่ละตำบลของจังหวัดสมุทรสงคราม
แผนป้องกันพื้นที่น้ำท่วม บริเวณที่ราบลุ่มฝั่งขวาแม่น้ำท่าจีน
พื้นที่เสี่ยงภัยแล้งในจังหวัดพัทลุงพื้นที่เสี่ยงภัยแล้งในจังหวัดพัทลุง
พื้นที่เสี่ยงภัยน้ำท่วม น้ำป่าไหลหลากในจังหวัดพัทลุง
พื้นที่เสี่ยงภัยน้ำท่วม น้ำป่าไหลหลากในจังหวัดพัทลุง
สัดส่วนภาระมลพิษจากน้ำเสียที่เกิดขึ้นในจังหวัดนครศรีธรรมราชสัดส่วนภาระมลพิษจากน้ำเสียที่เกิดขึ้นในจังหวัดนครศรีธรรมราช
สภาวะน้ำท่วมของพื้นที่จังหวัดสมุทรสงครามในฤดูฝนสภาวะน้ำท่วมของพื้นที่จังหวัดสมุทรสงครามในฤดูฝน
สภาวะน้ำท่วมของพื้นที่จังหวัดสมุทรสงครามในฤดูแล้งสภาวะน้ำท่วมของพื้นที่จังหวัดสมุทรสงครามในฤดูแล้ง
สภาพน้ำเสียของพื้นที่จังหวัดสมุทรสงครามสภาพน้ำเสียของพื้นที่จังหวัดสมุทรสงคราม
สภาพน้ำเค็มของพื้นที่จังหวัดสมุทรสงครามสภาพน้ำเค็มของพื้นที่จังหวัดสมุทรสงคราม
การกำหนดเป้าประสงค์ และกลยุทธ์ • - กระบวนการกำหนดวิสัยทัศน์ด้านน้ำของจังหวัด ประกอบด้วย 1) การประเมินและวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงของปัจจัยด้านการใช้น้ำจาก สภาวะแวดล้อมภายนอกและพื้นที่ที่จังหวัดกำลังหรือจะต้องเผชิญ 2) การประเมินและวิเคราะห์ บทบาท หน้าที่ ความสามารถที่หน่วยงาน ที่บริหารจัดการน้ำของจังหวัด มีอยู่ในปัจจุบัน 3) การพิจารณาทั้งปัจจัยภายนอกและภายในของแนวโน้มในอนาคตที่มีผล ต่อการบริหารจัดการน้ำของ Stakeholders ต่างๆ การกำหนดประเด็นยุทธศาสตร์ ประเด็นยุทธศาสตร์ คือ สิ่งที่ต้องได้รับ การพัฒนา สิ่งที่ต้องคำนึงถึง ประเด็นหลัก ประเด็นที่สำคัญที่จำเป็นต้องดำเนินการ พัฒนาเพื่อนำไปสู่วิสัยทัศน์
การกำหนดเป้าประสงค์ กระบวนการกำหนดเป้าประสงค์ และกลยุทธ์นั้นต้องอาศัยข้อมูลพื้นฐาน ใน 4 ส่วน ประกอบด้วย 1) กรอบยุทธศาสตร์การพัฒนากลุ่มจังหวัด และยุทธศาสตร์การพัฒนา จังหวัดทางด้านทรัพยากรน้ำ 2) การประเมินสถานการณ์น้ำเชิงพื้นที่ในปัจจุบันและสภาพปัญหาด้าน บริหารจัดการน้ำในปัจจุบันประกอบด้วยปัญหาน้ำแล้ง ปัญหาน้ำท่วม และปัญหา น้ำเสีย 3) การประเมินความต้องการใช้น้ำในอนาคต ภายใต้กรอบการยุทธศาสตร์ การพัฒนากลุ่มจังหวัด และยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด 4) การประเมินสถานการณ์น้ำในอนาคตและสภาพปัญหาที่อาจจะเกิดขึ้น
เป้าประสงค์การพัฒนาจังหวัดในมิติต่าง ๆ เป้าประสงค์การพัฒนาจังหวัดในมิติต่าง ๆ
การจัดทำร่างแผนจัดการทรัพยากรน้ำจังหวัดและชุมชน ประเด็นยุทธศาสตร์ที่เกี่ยวข้องทางด้านทรัพยากรน้ำ ประกอบด้วย 1) มุ่งเป็นฐานการผลิต และ ส่งออกสินค้าเกษตร เกษตรอุตสาหกรรม และอุตสาหกรรมด้วยระบบการผลิต ที่ปลอดภัย 2) ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ 3) ยกระดับคุณภาพชีวิต 4) พัฒนาระบบโครงสร้างพื้นฐานและสิ่งแวดล้อม จากกระบวนการวางแผนจัดการทรัพยากรน้ำ ซึ่งการได้มาของประเด็นยุทธศาสตร์ไปจนถึงโครงการและงบประมาณ ในข้างต้นต้องทำการจัดทำ 3 ขั้นตอน โดยประกอบด้วยการจัดสัมมนา 3 ครั้ง โดยมีวัตถุประสงค์ของแต่ละครั้งดังนี้
สัมมนาเชิงปฏิบัติการ ครั้งที่ 1 - เพื่อให้ทราบสถานการณ์ด้านสังคมและเศรษฐกิจในจังหวัด ทั้งในปัจจุบัน และแนวโน้มการพัฒนาจังหวัดในอนาคต - เพื่อให้มีข้อมูลสำหรับการพยากรณ์ความต้องการ (Demand) น้ำ ตลอดจน คาดการณ์ปัญหาด้านคุณภาพน้ำที่อาจจะเกิดขึ้นจากการอุปโภคบริโภคทาง สังคมและเศรษฐกิจ สัมมนาเชิงปฏิบัติการ ครั้งที่ 2 - เพื่อให้ทราบสถานการณ์ด้านจัดหาน้ำในปัจจุบัน ทั้งในด้านความเพียงพอ ต่อการอุปโภคบริโภค ด้านปัญหาคุณภาพน้ำ - เพื่อพยากรณ์สถานการณ์ด้านในอนาคต ทั้งในด้านความเพียงพอต่อการ อุปโภคบริโภค ด้านปัญหาคุณภาพน้ำ และด้านเหตุวิกฤติ - เพื่อให้ทราบถึงโครงการสำคัญที่หน่วยงานในพื้นที่มีแผนงานที่จะดำเนินการ และเปรียบเทียบกับความสอดคล้องสถานการณ์ ที่วิเคราะห์/คาดการณ์ - สรุปสถานการณ์ด้านจัดหาน้ำภาวะวิกฤติ (น้ำแล้ง/น้ำท่วม/น้ำเสีย)
สัมมนาเชิงปฏิบัติการ ครั้งที่ 3 - เพื่อกำหนดเป้าประสงค์การพัฒนาด้านทรัพยากรน้ำของจังหวัด - เพื่อวิเคราะห์ปัจจัยสู่ความสำเร็จ (KSF) ที่จำเป็นต่อการบรรลุ เป้าประสงค์การพัฒนาและตัวชี้วัด - เพื่อกำหนด/ทบทวนกลยุทธ์และโครงการที่จำเป็นต่อการบรรลุ เป้าประสงค์การพัฒนา
กิจกรรมสนับสนุนการวางแผนกิจกรรมสนับสนุนการวางแผน
คู่มือการจัดทำแผนจัดการทรัพยากรน้ำระดับจังหวัดและชุมชนคู่มือการจัดทำแผนจัดการทรัพยากรน้ำระดับจังหวัดและชุมชน