190 likes | 552 Views
โรคไวรัสที่สำคัญในประเทศไทย. Rice Ragged Stunt. ที่มา : ธีระ สูตะบุตร. 2532. โรคไวรัสและโรคคล้ายไวรัสของพืชสำคัญในประเทศไทย. โรคใบหงิกหรือโรคจู๋ของข้าว ( Rice Ragged Stunt ) เชื้อสาเหตุ Rice ragged stunt virus รูปร่างกลมขนาด 50-70 nm ลักษณะอาการ
E N D
โรคไวรัสที่สำคัญในประเทศไทยโรคไวรัสที่สำคัญในประเทศไทย
Rice Ragged Stunt ที่มา : ธีระ สูตะบุตร. 2532. โรคไวรัสและโรคคล้ายไวรัสของพืชสำคัญในประเทศไทย
โรคใบหงิกหรือโรคจู๋ของข้าวโรคใบหงิกหรือโรคจู๋ของข้าว • (Rice Ragged Stunt) • เชื้อสาเหตุ Rice ragged stunt virus • รูปร่างกลมขนาด 50-70 nm • ลักษณะอาการ • 1. ต้นข้าวแสดงอาการแคระแกรน (Stunting) • 2. ขอบใบขาดเป็นริ้ว (Ragged leaf) • 3. ใบหงิกและบิดม้วน (Twisted leaf) • 4. ผิวใบธงด้านนอกเกิดเป็นตุ่มนูน (vein-swelling) • 5. ข้าวไม่ออกรวงหรือรวงออกไม่พ้นใบธง • การแพร่ระบาด 1. มีเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล (Nilaparvatalugen) เป็นพาหะ • 2. ไม่ถ่ายทอดทางเมล็ด • การควบคุมโรค • 1. ใช้พันธุ์ข้าวต้านทานแมลงกข 21 กข 23 (ยังไม่พบพันธุ์ต้านทานโรค) • 2. ควบคุมแมลงพาหะโดยการฉีดพ่นยาเมื่อนับแมลงได้เกินระดับความเสียหายทางเศรษฐกิจ • 3. ทำลายต้นเป็นโรค
Papaya Ringspot Disease ที่มา : ธีระ สูตะบุตร. 2532. โรคไวรัสและโรคคล้ายไวรัสของพืชสำคัญในประเทศไทย
โรคใบด่างหรือใบจุดวงแหวนของมะละกอโรคใบด่างหรือใบจุดวงแหวนของมะละกอ • (Papaya ringspot disease) • เชื้อสาเหตุ Papaya ringspot virus • อนุภาคแบบflexuous rod ขนาด 12x760-800 nm. • ลักษณะอาการ 1. ใบมะละกอแสดงอาการด่างเขียวเข้มสลับเขียวอ่อน • 2. ใบมีขนาดเล็กลงบิดเบี้ยวและรูปร่างผิดปกติผิวใบเป็นคลื่น • 3. บางครั้งเนื้อใบขาดหายเหลือแต่เส้นใบ • 4. ที่ก้านใบและลำต้นเกิดแผลเป็นขีดสีเขียวฉ่ำน้ำ • 5. ผิวของผลเกิดแผลเป็นวงกลมซ้อนกัน • การแพร่ระบาดมีเพลี้ยอ่อนฝ้ายAphisgossypii Glov. และเพลี้ยอ่อนถั่ว • Aphiscraccivora Koch. เป็นพาหะ • การควบคุมโรค • 1. กำจัดต้นที่เป็นโรค • 2. ปลูกภูมิต้านทาน • 3. ควบคุมแมลงไม่ได้ผล
Citrus Tristeza ที่มา : รัตนา สดุดี . 2537. โรคโทรมของส้มจุก : เชื้อสาเหตุและปัจจัยส่งเสริมความรุนแรงของโรค
โรคทริสเตซาของส้ม • (Citrus tristeza) • เชื้อสาเหตุ Citrus tristeza virus • รูปร่างFlexuous rod 10-13x2000 nm • พืชอาศัยและลักษณะอาการ • มะนาว- อาการเส้นใบใส (vein clearing) • - ใบโค้งงอคล้ายรูปถ้วย (cup leaf) • - เนื้อไม้ใต้เปลือกเป็นรู (stem pitting) • ส้มเขียวหวาน- อาการโทรม (declining) • - อาการแห้งจากปลายยอด (die back) • - ใบเหลืองมีขนาดเล็กลง • ส้มโอ- แคระแกรน • - เส้นใบแข็งนูนขึ้นหรือเส้นใบแตก (corky vein) • การแพร่ระบาด • 1. CTV ถ่ายทอดได้โดยแมลงพาหะคือเพลี้ยอ่อนส้ม (ToxopteracitricidaและT.aurantii) • 2. ติดไปกับท่อนขยายพันธุ์ (กิ่งตอน, ตา) • การควบคุมโรค • 1. ใช้ท่อนพันธุ์ที่ปลอดเชื้อ (โดยผ่านการทดสอบแล้วปราศจากเชื้อทริสเตซา) • 2. ทำลายต้นส้มที่เป็นโรค • 3. ป้องกันและกำจัดแมลงพาหะ
Cymbidium Mosaic ที่มา : ธีระ สูตะบุตร. 2532. โรคไวรัสและโรคคล้ายไวรัสของพืชสำคัญในประเทศไทย
โรคยอดบิดหวายมาดาม (Cymbidium Mosaic) เชื้อสาเหตุ Cymbidium Mosaic Virus (CyMV) Flexuous rod ขนาด 11-13x480 nm. ลักษณะอาการ - กล้วยไม้หวายปอมปาดัวร์เกิดอาการchlorotic streak บนใบตามความยาวของใบผิวใบขรุขระ - ยอดของกล้วยไม้จะบิด - ช่อดอกสั้นลงและเกิดอาการดอกด่าง การแพร่ระบาด - CyMV ถ่ายทอดได้ง่ายโดยวิธีกลจึงอาจติดไปกับกรรไกรและมีfตัดแต่ง - ไม่ถ่ายทอดผ่านทางเมล็ด การควบคุมโรค 1. ไม่ขยายพันธุ์กล้วยไม้ที่เป็นโรค 2. เผาทำลายกล้วยไม้ที่เป็นโรคเพื่อลดแหล่งแพร่ระบาด 3. ทำความสะอาดกรรไกรและมีดด้วยสารละลายด่าง (Tri-sodium phosphate) 4. เลือกซื้อและคัดพันธุ์กล้วยไม้ที่ปราศจากไวรัสในการปลูก
Tomato Yellow Leaf Curl ที่มา : ธีระ สูตะบุตร. 2532. โรคไวรัสและโรคคล้ายไวรัสของพืชสำคัญในประเทศไทย
โรคใบหงิกเหลืองของมะเขือเทศโรคใบหงิกเหลืองของมะเขือเทศ • (Tomato yellow leaf curl) • เชื้อสาเหตุTomato yellow leaf curl virusรูปร่างกลมติดกันเป็นคู่ • ขนาด 18x30 nm. • ลักษณะอาการ • 1. ใบม้วนงอเนื้อใบหงิกเป็นคลื่นใบเหลืองจากขอบใบ • 2. ต้นแคระแกรน • การแพร่ระบาด • 1. ถ่ายทอดโดยแมลงหวี่ขาว (Bemisiatabaci Genn.) • การควบคุมโรค • 1. ทำลายต้นที่เป็นโรค • 2.รองก้นหลุมปลูกด้วยยาฆ่าแมลงประเภทดูดซึม • และฉีดยาสม่ำเสมอจนมะเขือเทศอายุ 60-75 วัน
Cowpea Aphid-borne Mosaic ที่มา : ธีระ สูตะบุตร. 2532. โรคไวรัสและโรคคล้ายไวรัสของพืชสำคัญในประเทศไทย
โรคถั่วที่เกิดจากไวรัสโรคถั่วที่เกิดจากไวรัส • โรคใบด่างเหลืองเชื้อสาเหตุCowpea-aphid borne mosaic virus (CAMV) • รูปร่างFlexuous ขนาด 12x750 nm. • ลักษณะอาการ - พบอาการด่างเหลืองบนเนื้อใบระหว่างเส้นใบหรือแสดงอาการด่างสีเขียวอ่อนสลับเขียวเข้มกระจายไปทั่วใบ • - มักพบอาการvein banding • - หากอาการรุนแรงมากใบจะเปลี่ยนเป็นสีเหลืองไม่มีสีเขียวเหลืออยู่ • - ใบบิดเบี้ยวและเล็กกว่าปกติโดยทั่วไปถั่วฝักยาวจะเจริญจนได้ฝัก • การแพร่ระบาด • - ถ่ายทอดทางเมล็ด • - มีเพลี้ยอ่อนเป็นพาหะ • การควบคุม • 1. ใช้เมล็ดจากต้นที่ไม่เป็นโรคเพราะCAMV ถ่ายทอดผ่านทางเมล็ด (13.3%) • 2. การควบคุมแมลง (เพลี้ยอ่อน) ไม่ให้แพร่ขยายพันธุ์ก่อนปลูก
Pepper Mosaic (CMV) ที่มา : ธีระ สูตะบุตร. 2532. โรคไวรัสและโรคคล้ายไวรัสของพืชสำคัญในประเทศไทย
1. โรคใบด่างพริกที่เกิดจากCucumber mosaic virus • รูปร่างกลมขนาด30 nm. • ลักษณะอาการ- ใบด่างสีเขียวเข้มสลับสีเขียวอ่อน • - ใบมีขนาดเล็กกว่าปกติ • - ใบเรียวเล็กบางครั้งเกิดอาการshoe string (คือเหลือเฉพาะเส้นใบ) • การแพร่ระบาด- ถ่ายทอดโดยการสัมผัส • - ถ่ายทอดทางเมล็ด • - มีเพลี้ยอ่อนเป็นพาหะ • การควบคุมโรค1. ไม่ควรปลูกพริกใกล้กับแตงหรือมะเขือเทศเพราะพืชเหล่านี้เป็นโรคได้ง่ายและถ่ายทอดได้ด้วยแมลง • 2. กำจัดวัชพืชซึ่งอาจเป็นแหล่งของเชื้อทั้งในและรอบๆแปลงปลูก
Pepper Mosaic (pepper Mottle) ที่มา : ธีระ สูตะบุตร. 2532. โรคไวรัสและโรคคล้ายไวรัสของพืชสำคัญในประเทศไทย
2.โรคใบด่างพริกเกิดจากเชื้อPepper mottle virus รูปร่างท่อนยาว (Flexuousrod) ขนาด12 x 77 nm ลักษณะอาการ- เส้นใบใสต่อมาแสดงอาการด่าง - ใบแก่แสดงอาการด่างสีเขียวเข้มตามแนวเส้นใบสลับกับสีเขียวอ่อนบริเวณเนื้อ ใบ (vein banding) - ต้นแคระแกรน การแพร่ระบาด- ถ่ายทอดได้ง่ายโดยวิธีสัมผัส การควบคุมโรค- เช่นเดียวกับโรคใบด่างพริกที่เกิดจากTMV
Pepper Mosaic (TMV) ที่มา : ธีระ สูตะบุตร. 2532. โรคไวรัสและโรคคล้ายไวรัสของพืชสำคัญในประเทศไทย
โรคใบด่างของพริก • 3. โรคใบด่างที่เกิดจากเชื้อTMV (Tobacco mosaic virus) • รูปร่างRigid rod ขนาด18 x 300 nm • ลักษณะอาการ- เกิดอาการใบด่างสีซีดระหว่างเส้นใบ (interveinal chlorosis) • - ใบหงิกงอ • - เส้นกลางใบคดไปมา • - ผลมีขนาดเล็ก • - ต้นแคระแกรน • การแพร่ระบาด- ถ่ายทอดได้ง่ายโดยการสัมผัส • - สามารถถ่ายทอดผ่านทางเมล็ดในพริกบางพันธุ์ • การควบคุมโรค- กำจัดวัชพืชก่อนปลูกเพราะอาจเป็นพืชอาศัยของTMV • - ทำลายต้นที่เป็นโรค • - ระวังการถ่ายทอดขณะทำการเขตกรรมเช่นการใส่ปุ๋ยการไถพรวน